The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2020-09-02 05:50:37

คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน ประจำปี 2563



ค ำน ำ


หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้อาศัยอานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พทธศักราช 2557 ออกค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ที่ 10/2559 ลงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2559 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ในภูมิภาค และค าสั่งที่ 11/2559 ลงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2559 เรื่อง การบริหารราชการของ

กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค โดยมีเจตนารมณ์ส าคัญที่ต้องการให้มีการบูรณาการงานระดับพนที่ ลดสายงาน
ื้
ิ่
การบังคับบัญชาที่กว้างเกินไป เพมความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการศึกษา และให้เกิดความคล่องตัว
ื่
ในการบริหารงานบุคคล เพอส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ลดความ
เหลื่อมล้ าสร้างโอกาส คุณภาพทางการศึกษา และตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 มาตรา 39 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

ิ่
พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ได้ก าหนดให้มีการแบ่ง
ื้
เขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ื้
ื้
ก าหนดให้มีส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาจ านวน 183 เขต และส านักงานเขตพนที่มัธยมศึกษา
จ านวน 42 เขต และได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบางส่วนราชการภายในส านักงานเขตพนที่
ื้
การศึกษาประถมศึกษา โดยบางส่วนราชการภายในส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษา ออกเป็น 8 กลุ่ม
ื้
ื้
และออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการแบ่งส่วนราชการภายในส านักงานเขตพนที่มัธยมศึกษา ออกเป็น
7 กลุ่ม ต่อมาปี 2560 ได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2560 เรื่องการแบ่งส่วนราชการภายในส านักงาน
ื้
เขตพนที่การศึกษา (ข้อ 6) ให้มีจ านวน 9 กลุ่ม ปี 2561 มีจ านวน 10 กลุ่ม ตามล าดับ ดังนั้น เพอให้การ
ื่
ื้
ปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 มีระบบการ

ื้
ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ พฒนา และยกระดับคุณภาพมาตรฐานการปฏิบัติงาน ในรับดับส านักงานเขตพนที่
การศึกษาและระดับสถานศึกษา จึงได้จัดท าคู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้
คู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ประกอบด้วยเนื้อหาและรายละเอยดของภาระงานหลักที่ส าคัญ

5 งาน คือ 1. งานระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการศึกษา 2. งานจัดท านโยบายและแผนพัฒนา

การศึกษา 3. งานวิเคราะห์/จัดตั้งงบประมาณ 4. งานติดตาม ประเมินและรายงานผล 5. งานธุรการและ

งานอนที่ร่วมสนับสนุนการปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ผู้จัดท ามีความมุ่งหวังในความร่วมมือกัน
ื่
ื้
ของบุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ในการ
ปฏิบัติงานให้ประสบผลส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนด เพอให้งานในความรับผิดชอบของกลุ่มนโยบายและแผน
ื่
ส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 เป็นผลงานที่มีคุณภาพ (Quality Product) เป็นส่วน
ื้
หนึ่งที่จะช่วยขับเคลื่อนและผลักดันให้กลุ่มนโยบายและแผนเป็นกลุ่มที่มีประสิทธิภาพสูง (High Productivity

Organization : HPO) ต่อไป


ผู้จัดท า ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาทรงคุณวุฒิเป็นอย่างสูงที่ให้ค าปรึกษา แนะน า ข้อเสนอแนะ

ขอขอบคุณผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนส านักงานเขต

ื้
พนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งที่ให้ความร่วมมือและด าเนินการ
จัดท าคู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงด้วย ทั้งนี้ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน

ื้
ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อส านักงานเขตพนที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดส านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน


กลุ่มนโยบายและแผน
ส านักงานเขตพื้นที่การศกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1


มีนาคม 2563



สำรบัญ





หน้ำ


ส่วนที่ 1 บทน า 1

ส่วนที่ 2 ทฤษฏี ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติ 7
ส่วนที่ 3 ขอบข่ายและภาระงาน 15

ส่วนที่ 4 กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน 16


ภำคผนวก

-ค าสั่ง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกษาล าปาง เขต 1เรื่อง การมอบหมายหน้าที่

ความรับผิดชอบงานให้ข้าราชการและบุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1

-มาตรฐานก าหนดต าแหน่ง
-บรรณานุกรม

ส่วนที่ 1

1
ส่วนที่ 1


บริบทและสภำพกำรจัดกำรศึกษำ


1. ที่ตั้ง

ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 ถนนล าปาง - งาว
ต าบลพิชัย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง รหัสไปรษณีย์ 52000 Website:www.lpg1.obec.go.th

2. พื้นที่รับผิดชอบและสภำพภูมิประเทศ
จัดส่งเสริม สนับสนุนจัดการศกษาภาคบังคับ เขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 อ าเภอ ดังนี้

อ าเภอเมืองล าปาง มีพื้นที่ติดต่อกับ อ าเภอเมืองปาน แจ้ห่ม แม่เมาะ ห้างฉัตร เกาะคา

และแม่ทะ

อ าเภอห้างฉัตร มีพื้นที่ติดต่อกับอ าเภอ เมืองล าปาง เกาะคา เสริมงาม และจังหวัดล าพูน
อ าเภองาว มีพื้นที่ติดต่อกับอ าเภอแม่เมาะ แจ้ห่ม วังเหนือ และจังหวัดพะเยา

อ าเภอแม่เมาะ มีพื้นที่ติดต่อกับอ าเภอเมืองล าปาง แม่ทะ แจ้ห่ม งาว และจังหวัดแพร่



สภาพภูมิประเทศ อาเภอเมืองล าปาง อาเภอห้างฉัตร เป็นที่ราบ และที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ า
สภาพความเป็นอยู่แตกต่างกันมีลักษณะเป็นชุมชนใหญ่ คนเมือง ชุมชนขนาดกลาง เป็นหมู่บ้าน หย่อมบ้าน
ขนาดใหญ่บ้าง เล็กบ้าง การคมนาคมสะดวก เป็นแหล่งเกษตรกรรมและอตสาหกรรมส าคัญของจังหวัดล าปาง


เกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด กระเทียม สับปะรด เป็นต้น อตสาหกรรมเซรามิคมีขนาดใหญ่ ขนาดย่อม
และครัวเรือน สินค้าเซรามิค มีคุณภาพดี เป็นที่ยอมรับมากที่สุดในประเทศไทยมีแหล่งผลิตไม้สัก และผลิตภัณฑ์

จากไม้สักซึ่งสร้างรายได้และอาชีพ ให้ประชากรใน จังหวัดล าปาง


อาเภองาว เป็นที่ราบสูง ภูเขาสูงและเป็นป่าค่อนข้างทึบ มีความอดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
หลากหลาย นานาชนิด สภาพความเป็นอยู่มีลักษณะเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง มีหมู่บ้านชนเผ่าบนพื้นที่
สูง รวมถึงคนต่างด้าวอาศัยปะปน ฐานะค่อนข้างยากจน สภาพถนนและการคมนาคมในบางพนที่ไม่สะดวก
ื้

ห่างไกล ทุรกันดาร ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมปลูก พืชสวน พชไร่ พืชผักสวนครัวมีแหล่งท่องเที่ยว
ที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดล าปาง คือถ้ าผาไท และเจ้าพ่อประตูผา
อาเภอแม่เมาะมีสภาพพนที่เป็นแองคล้ายก้นกระทะ บางส่วนเป็นทุ่งหญ้า และป่าไม้โปร่ง
ื้



มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติด้านแร่ธาตุ เช่น ลิกไนต์ หินปูน ดินขาว สภาพอากาศร้อนอบอาวเกือบตลอดปี
ื้
ประชาชนมีความเป็นอยู่แตกต่างกันบางพนที่เป็นชุมชนขนาดใหญ่ บางพนที่เป็นชุมชนขนาดเล็ก มีฐานะดี
ื้
ื้
มีอาชีพมั่นคงบางพนที่มีลักษณะเป็นหย่อมบ้านหรือเป็นชนเผ่าบนพนที่สูง ฐานะค่อนข้างยากจน การคมนาคม
ื้
บางพื้นที่สะดวกบางพื้นที่ยากล าบาก ห่างไกล มีอาชีพเกษตรกรรมปลูก พืชสวน พืชไร่ พืชผักสวนครัว

2
แผนที่แสดงเขตพื้นที่รับผิดชอบ







อ ำเภองาว
อ าเภอเมืองล าปาง


อ าเภอหางฉัตร อ าเภอแม่เมาะ









อ ำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยระเบียบบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร

(ประกำศ ณ วนที่ 22 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2560 และ 28 สิงหำคม 2561 นำยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์

รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร )


ื้
ส านักงานเขตพนที่การศึกษามีอานาจหน้าที่ด าเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าที่ของ

ส านักงานเขตพนที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอานาจ
ื้

หน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) จัดท า นโยบาย แผนพฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพนที่การศึกษาให้สอดคล้อง
ื้

กับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่น
(2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นที่

การศึกษาและแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งก ากับตรวจสอบ ติดตาม
การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว

(3) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(4) ก ากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและในเขตพื้นที่การศึกษา
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพอส่งเสริม สนับสนุน
ื่
การจัดและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศกษา
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ื่
ท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอนที่จัด
การศึกษารูปแบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา

ื้

(9) ด าเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพฒนาการศึกษาในเขตพนที่
การศึกษา

3
(10) ประสาน ส่งเสริม การด าเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะท างาน

ด้านการศึกษา

(11) ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ื่
(12) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ

(1) กลุ่มอ านวยการ
(2) กลุ่มนโยบายและแผน

(3) กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

(4) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์
(5) กลุ่มบริหารงานบุคคล

(6) กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
(7) กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

(8) กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

(9) หน่วยตรวจสอบภายใน
(10) กลุ่มกฎหมายและคดี

ส่วนรำชกำรภำยในส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมีอ ำนำจหน้ำที่ดังต่อไปนี้

(1) กลุ่มอ านวยการ มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

(ก) ปฏิบัติงานสารบรรณส านักงานเขตพื้นที่การศกษา
(ข) ด าเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอ านวยการ
(ค) ด าเนินการเกี่ยวกับอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และยานพาหนะ

(ง) จัดระบบบริหารงาน การควบคุมภายใน และพัฒนาองค์กร

(จ) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่กิจการ ผลงาน และบริการข้อมูลข่าวสาร
ื้
(ฉ) ประสานการด าเนินงานระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกเขตพนที่
การศึกษา
(ช) ด าเนินการเลือกตั้งและสรรหากรรมการและอนุกรรมการ

(ซ) ประสาน ส่งเสริมการจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพ

ื่
ื้
(ฌ) ปฏิบัติหน้าที่อนที่เกี่ยวข้องกับกิจการภายในของส านักงานเขตพนที่การศึกษา
ที่มิใช่งานของส่วนราชการใดโดยเฉพาะ
ื่
(ญ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้อง
หรือที่ได้รับมอบหมาย

4
(2) กลุ่มนโยบายและแผน มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

(ก) จัดท านโยบายและแผนพฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐาน

การศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่น

(ข) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและแจ้งการ
จัดสรรงบประมาณ

(ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณและผลการ
ปฏิบัติตามนโยบายและแผน

(ง) ด าเนินการวิเคราะห์ และจัดท าข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ื่
(จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

(3) กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีอานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
(ก) ศึกษา วิเคราะห์ ด าเนินการ และส่งเสริมการจัดการศึกษาทางไกล

ื่
(ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพอการบริหารและ

การจัดการศึกษา
(ค) ด าเนินงานสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา

(ง) ด าเนินการวิเคราะห์ และปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร
(จ) ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้อง
ื่
หรือที่ได้รับมอบหมาย

(4) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

(ก) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารการเงิน
(ข) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารงานบัญชี

(ค) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารงานพัสดุ
(ง) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารสินทรัพย์

(จ) ให้ค าปรึกษาสถานศึกษาเกี่ยวกับการด าเนินงานบริหารการเงิน งานบัญชี

งานพัสดุ และงานบริหารสินทรัพย์
(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้อง
ื่
หรือที่ได้รับมอบหมาย


(5) กลุ่มบริหารงานบุคคล มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(ก) วางแผนอัตราก าลังและก าหนดต าแหน่ง

(ข) ส่งเสริม สนับสนุนการมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ

5

(ค) วิเคราะห์และจัดท าข้อมูลเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง ย้าย โอน และ


การลาออกจากราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกษา
(ง) ศึกษา วิเคราะห์ และด า เนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเลื่อนเงินเดือนการมอบหมายหน้าที่ให้ปฏิบัติของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

(จ) จัดท าข้อมูลเกี่ยวกับบ าเหน็จความชอบและทะเบียนประวัติ

(ฉ) จัดท าข้อมูลระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจ า
(ช) ปฏิบัติการบริการและอานวยความสะดวกในเรื่องการออกหนังสือรับรอง

ต่าง ๆ การออกบัตรประจ าตัว และการขออนุญาตต่าง ๆ
ื่
(ซ) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดท าข้อมูลเพอด าเนินงานวินัย อทธรณ์ ร้องทุกข์ และ

การด าเนินคดีของรัฐ

(ฌ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนที่เกี่ยวข้อง
ื่
หรือที่ได้รับมอบหมาย

(6) กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(ก) ด าเนินงานฝึกอบรมการพฒนาก่อนแต่งตั้ง

(ข) ด าเนินงานฝึกอบรมพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงาน

(ค) ด าเนินงานพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไป
ตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ

(ง) ปฏิบัติงานส่งเสริม สนับสนุน และยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา
(จ) ด าเนินการเกี่ยวกับการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัยภายในประเทศ

หรือต่างประเทศ

(ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสริมสร้างระบบเครือข่ายการพฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา

(ช) ปฏิบัติงานร่วมกบหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกยวข้อง หรือ

ี่
ที่ได้รับมอบหมาย

(7) กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกษา มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

(ก) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน หลักสูตร
ื้

การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา และหลักสูตรการศึกษาพิเศษ
ื่

(ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพอพฒนาหลักสูตรการสอนและกระบวนการเรียนรู้
ของผู้เรียน

(ค) วิจัย พฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินเกี่ยวกับการวัด และ
การประเมินผลการศึกษา
(ง) วิจัย พฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ

การศึกษา รวมทั้งประเมิน ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

(จ) นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

6
(ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาสื่อนวัตกรรมการนิเทศทางการศึกษา

(ช) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ

การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
ี่
(ซ) ปฏิบัติงานร่วมกบหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกยวข้อง หรือ

ที่ได้รับมอบหมาย


(8) กลุ่มส่งเสริมการจัดการศกษา มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(ก) ศึกษา วิเคราะห์ ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินงานเกี่ยวกับศาสตร์พระราชา

(ข) ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพนฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษา
ื้
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

(ค) ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินการเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลการจัดการศึกษา

ขั้นพนฐานของบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
ื้
สังคมอื่น

(ง) ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษา
สอดคล้องกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา


(จ) ส่งเสริมการจัดการศึกษาส าหรับผู้พการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถ
พิเศษ
(ฉ) ส่งเสริมงานการแนะแนว สุขภาพ อนามัย กีฬา และนันทนาการ ลูกเสือ


ยุวกาชาด เนตรนารี ผู้บ าเพญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพทักษ์สิทธิเด็ก

และเยาวชน และงานกิจการนักเรียนอื่น
(ช) ส่งเสริม สนับสนุนการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา




(ซ) ประสานการป้องกนและแกไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมป้องกนแกไข

และคุ้มครองความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา รวมทั้งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
(ฌ) ด าเนินงานวิเทศสัมพันธ์
(ญ) ประสาน ส่งเสริมการศึกษากับการศาสนาและการวัฒนธรรม
(ฎ) ส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมทางการศึกษา และภูมิปัญญาท้องถิ่น

(ฏ) ประสานและส่งเสริมสถานศึกษาให้มีบทบาทในการสร้างความเข้มแขงของชุมชน

(ฐ) ปฏิบัติงานร่วมกบหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ

ที่ได้รับมอบหมาย

(9) หน่วยตรวจสอบภายใน ให้ปฏิบัติงานขึ้นตรงกับหัวหน้าส่วนราชการ และมีอานาจหน้าที่

ดังต่อไปนี้

(ก) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการเงิน การบัญชี และตรวจสอบระบบ

การดูแลทรัพย์สิน
(ข) ด าเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการด าเนินงานหรือกระบวนการ

ปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับผลผลิตหรือเป้าหมายที่ก าหนด

(ค) ด าเนินงานเกี่ยวกับการประเมินการบริหารความเสี่ยง

7
(ง) ด ำเนินกำรอื่นเกี่ยวกับกำรตรวจสอบภำยในตำมที่กฎหมำยก ำหนด

(จ) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ

ที่ได้รับมอบหมำย
ื้

(10) กลุ่มกฎหมำยและคดี ให้ปฏิบัติงำนขึ้นตรงกับผู้อำนวยกำรส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำ
และมีอ ำนำจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้

(ก) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนำกำรมีวินัยและรักษำวินัย
(ข) ด ำเนินกำรสืบสวนเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน

(ค) ด ำเนินกำรสอบสวนเกี่ยวกับวินัยและกำรตรวจพิจำรณำวินัย
(ง) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับกำรอุทธรณ์และกำรพิจำรณำอุทธรณ์

(จ) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับกำรร้องทุกข์และกำรพิจำรณำร้องทุกข์

(ฉ) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่
(ช) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับงำนคดีปกครอง คดีแพ่ง คดีอำญำ และคดีอื่น ๆ ของรัฐ

(ซ) ด ำเนินกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ
ื่

(ฌ) ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย จัดท ำข้อมูลและติดตำมประเมินผลเพอพฒนำงำน
กฎหมำยและงำนคดีของรัฐ

(ญ) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ
ที่ได้รับมอบหมำย


3. ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา (ข้อมล 29 กุมภาพันธ์ 2563)
4.1.ข้อมูลจ ำนวนบุคลำกรในส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำกำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1


จ านวนบุคลากรในส านักงาน
ต าแหน่ง
เขตพื้นที่การศึกษา

ผู้อ ำนวยกำร สพป.ล ำปำง เขต 1 0
รองผู้อ ำนวยกำร สพป.ล ำปำง เขต 1 3

ศึกษำนิเทศก์ 14

บุคลำกร 38(ค) 39
ลูกจ้ำงประจ ำ 12

พนักงำนรำชกำร 2

อัตรำจ้ำง 7
รวมทั้งสิ้น 77

ที่มำ : กลุ่มบริหำรงำนบุคคล

8
ื้
ส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 มีบุคลำกรในสังกัดทั้งหมด จ ำนวน

ื้
77 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยกำรส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 จ ำนวน 0 คน

รองผู้อำนวยกำรส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 จ ำนวน 3 คน บุคลำกร 38 ค จ ำนวน
ื้

39 คน ศึกษำนิเทศก์ จ ำนวน 14 คน พนักงำนรำชกำร 2 คน ลูกจ้ำงประจ ำ จ ำนวน 12 คน อตรำจ้ำง 7 คน
รวม 77 คน

4.2 จ ำนวนโรงเรียนในสังกัด

เรียนรวมทุกชั้นเรียน ร.ร.ในระบบ
ร.ร.ในระบบ จัดการเรียน คิดเป็น
ที่ อ าเภอ DMC ไม่ม ี
DMC การสอน ร้อยละ ทุกชั้นเรียน บางชั้นเรียน
นักเรียน

1 เมือง 49 37 75.51 11 - 9

2 แม่เมำะ 19 18 94.73 1 - 1
3 งำว 27 22 81.48 5 - 2

4 ห้ำงฉัตร 20 15 75.00 5 1 3

รวม 115 93 80.86 22 1 15

ื้
จ ำนวนโรงเรียนในสังกัดส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 มีทั้งหมด
115 โรงเรียน แยกเป็นอำเภอเมือง 49 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 37 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 75.51

มีโรงเรียนขนำดเล็กไปเรียนรวม 11 โรงเรียน และไม่มีนักเรียน (นักเรียนศูนย์คน) จ ำนวน 9 โรงเรียน ซึ่งใน
9 โรงเรียนนี้ รวมอยู่ในโรงเรียนที่ไปเรียนรวม 11 โรงเรียนแล้ว อำเภอแม่เมำะ 19 โรงเรียน จัดกำรเรียน

กำรสอน 18 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 94.73 มีโรงเรียน ขนำดเล็กไปเรียนรวม 1 โรงเรียน และไม่มีนักเรียน
(นักเรียนศูนย์คน) จ ำนวน 1 โรงเรียน ซึ่งใน 1 โรงเรียนนี้ รวมอยู่ในโรงเรียนที่ไปเรียนรวม 1 โรงเรียนแล้ว

อำเภองำว 27 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 22 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 81.48 มีโรงเรียนขนำดเล็กไปเรียน

รวม 5 โรงเรียน และไม่มีนักเรียน (นักเรียนศูนย์คน) จ ำนวน 2 โรงเรียน ซึ่งใน 2 โรงเรียนนี้ รวมอยู่ในโรงเรียนที่

ไปเรียนรวม 5 โรงเรียนแล้ว อำเภอห้ำงฉัตร 20 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 15 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ
75.00 มีโรงเรียนขนำดเล็กไปเรียนรวมทุกชั้นเรียน 5 โรงเรียน เรียนรวมบำง ชั้นเรียน 1 โรงเรียน และไม่มี

นักเรียน (นักเรียนศูนย์คน) จ ำนวน 3 โรงเรียน ซึ่งใน 3 โรงเรียนนี้ รวมอยู่ในโรงเรียนที่ไปเรียนรวม 5 โรงเรียน
แล้ว


4.3 จ ำนวนโรงเรียนตำมโปรแกรม DMC แยกตำมขนำด

จ านวนโรงเรียนแยกตามขนาด
ที่ อ าเภอ รวม
เล็ก(0-120คน) กลาง(121-600คน) ใหญ่(601-1500คน) ใหญ่(1500 คนขึ้นไป)
1 เมือง 41 6 0 2 49

2 แม่เมำะ 12 6 1 - 19

3 งำว 20 7 0 - 27
4 ห้ำงฉัตร 15 4 1 - 20

รวม 88 23 2 2 115

9
จ ำนวนโรงเรียนในสังกัดส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 ตำมโปรแกรม


DMC แยกตำมขนำดดังนี้ อำเภอเมือง โรงเรียนขนำดเล็ก (0-120 คน) 41 โรงเรียน โรงเรียนขนำดกลำง
(121-600 คน) 6 โรงเรียน โรงเรียนขนำดใหญ่ (601-1500 คน) ไม่มี ( ศูนย์โรงเรียน) โรงเรียนขนำดใหญ่

(1500 คนขึ้นไป) 2 โรงเรียนรวมทั้งสิ้น 49 โรงเรียน อำเภอแม่เมำะ โรงเรียนขนำดเล็ก (0-120 คน)
12 โรงเรียน โรงเรียนขนำดกลำง (121-600 คน) 6 โรงเรียน โรงเรียนขนำดใหญ่(601-1500 คน) 1 โรงเรียน


โรงเรียนขนำดใหญ่ (1500 คนขึ้นไป) ไม่มี (ศูนย์โรงเรียน) รวมทั้งสิ้น 19 โรงเรียน อำเภองำว โรงเรียนขนำด
เล็ก (0-120 คน) 20 โรงเรียน โรงเรียนขนำดกลำง (121-600 คน) 7 โรงเรียน โรงเรียนขนำดใหญ่ (601-1500

คน) ไม่มี (ศูนย์โรงเรียน) โรงเรียนขนำดใหญ่(1500 คนขึ้นไป) ไม่มี (ศูนย์โรงเรียน) รวมทั้งสิ้น 27 โรงเรียน

อำเภอห้ำงฉัตร โรงเรียนขนำดเล็ก (0-120 คน) 15 โรงเรียน โรงเรียนขนำดกลำง (121-600 คน) 4 โรงเรียน
โรงเรียนขนำดใหญ่ (601-1500 คน) 1 โรงเรียน โรงเรียนขนำดใหญ่ (1500 คนขึ้นไป) ไม่มี (ศูนย์โรงเรียน)

รวมทั้งสิ้น 20 โรงเรียน
4.4 จ ำนวนโรงเรียนขนำดเล็ก (นักเรียน 0-120 คน)

ที่ อ าเภอ จ านวน ร.ร.ขนาดเล็กในระบบ DMC จัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ

1 เมือง 41 30 73.17

2 แม่เมำะ 12 11 91.66
3 งำว 20 15 75.00

4 ห้ำงฉัตร 15 9 60.00

รวม 88 65 73.86

ื้
จ ำนวนโรงเรียนขนำดเล็ก (นักเรียน 0-120 คน) ในสังกัดส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำ
ประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 รวมทั้งสิ้น 88 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 65 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 73.86



แยกรำยละเอยด ดังนี้ โรงเรียนขนำดเล็กสังกัดอำเภอเมือง 41 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 30 โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ 73.17 โรงเรียนขนำดเล็กสังกัดอำเภอแม่เมำะ 12 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 11 โรงเรียน


คิดเป็นร้อยละ 91.66 โรงเรียนขนำดเล็กสังกัดอำเภองำว 20 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 15 โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ 75.00 โรงเรียนขนำดเล็กสังกดอำเภอห้ำงฉัตร 15 โรงเรียน จัดกำรเรียนกำรสอน 9 โรงเรียนคิด


เป็นร้อยละ 60.00

10
4.4 แสดงจ ำนวนนักเรียนและห้องเรียน


ระดับการศึกษา ชั้น จ านวนนักเรียน จ านวนห้องเรียน


อนุบำล 1 594 29

ก่อนประถมศึกษา อนุบำล 2 1,501 106

อนุบำล 3 1,498 107

รวมก่อนประถม 3,593 242

ประถมศึกษำปีที่ 1 2,048 120

ประถมศึกษำปีที่ 2 1,992 123

ประถมศึกษำปีที่ 3 1,977 122
ประถมศึกษา
ประถมศึกษำปีที่ 4 1,918 124

ประถมศึกษำปีที่ 5 1,864 120


ประถมศึกษำปีที่ 6 1,965 120

รวมประถมศึกษา 11764 729

มัธยมศึกษำปีที่ 1 368 24

มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษำปีที่ 2 369 24

มัธยมศึกษำปีที่ 3 389 25

รวมมัธยมศึกษาตอนต้น 1,126 73

รวมทั้งสิ้น 16,483 1,044


ื้
โรงเรียนในสังกัดส ำนักงำนเขตพนที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำง เขต 1 มีชื่อในระบบ
ตำมโปรแกรม DMC (Data Management Center) จ ำนวน 11 5 โรงเรียน (112 โรงเรียน 3 สำขำ)
จัดกำรเรียนกำรสอนจริงจ ำนวน 93 โรงเรียน (90 โรงเรียน 3 สำขำ) ขนำดเล็กไปเรียนรวมทุกชั้น จ ำนวน

22 โรงเรียน และเรียนรวมบำงชั้น 1 โรงเรียน

11
ส่วนที่ 2

ทฤษฏี แนวคิด ระเบียบ กฎหมำย แนวปฏิบัติ


เพื่อให้การพัฒนาระบบและการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

ถูกต้องรวดเร็ว บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่า โปร่งใส
เป็นธรรม ทันสมัย รับผิดชอบตรวจสอบได้ ส่งผลให้ผู้รับบริการทุกกลุ่มรวมถึงประชาชน ยอมรับ เชื่อมั่น

มีความพงพอใจต่อการบริการและการปฏิบัติงาน จึงต้องอาศัยทฤษฏี แนวคิด ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติมา

เป็นองค์ประกอบสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดังนี้

ก.หลักกำรบริหำรจัดกำร
1. กำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม 5 ร

12
ร ที่ 1 : ร่วมศึกษำ



บุคลำกรในแต่ละกลุ่มวิเครำะห์สภำพ

ทีมบริหำร ร่วมกันวิเครำะหสภำพ ปัจจุบันและปัญหำตำมกรอบภำรกิจ
ปัจจุบันและปัญหำในภำพรวมของ
ของงำนภำยในกลุ่มของตนเอง และ
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ในภำพรวมของเขตพื้นที่






- อะไรที่เป็นจุดอ่อน จุดแข็ง
- อะไรบ้ำงที่เป็นปัญหำ
- มีตัวชี้วัด มำตรฐำนใดบ้ำงที่ยังไม่ประสบควำมส ำเร็จ หรือ ไม่เป็นไปตำมนโยบำยแห่งรัฐ

กระทรวงศึกษำธิกำร และ สพฐ.






สำเหตุของปัญหำเกิดจำกอะไร
ร ที่ 2 : ร่วมวำงแผน

13

ร ที่ 2 : ร่วมวำงแผน



บุคลำกรในแต่ละกลุ่มวำงแผน

ทีมบริหำร ร่วมกันวำงแผน กำรท ำงำนที่คำดว่ำจะประสบ

ขับเคลื่อนกำรท ำงำน เช่น ควำมส ำเร็จ ตำมโครงกำร/
งำนโครงกำร/กิจกรรมต่ำง ๆ กิจกรรมต่ำง ๆ







ออกแบบวิธีกำร/นวัตกรรม ก ำหนดตัวชี้วดควำมส ำเร็จ



- เรียงล ำดับปัญหำ




- เลือกปัญหำ





- ออกแบบวิธีกำร/นวัตกรรมแก้ปัญหำ

14
ร ที่ 3 : ร่วมปฏิบัติ




ทีมบริหำร บุคลำกรในแต่ละกลุ่ม







- ลงมอปฏิบัติงำนตำมที่ได้วำงแผนออกแบบไว ้
- ประเมินผล และสะท้อนผลกำรปฏิบัติงำนเป็นระยะ






โครงกำร/กิจกรรมต่ำง ๆ ของเขตพื้นที่กำรศึกษำ

15

ร ที่ 4 : ร่วมสรุป




ทีมบริหำร และบุคลำกรกลุ่มต่ำง ๆ
บุคลำกรในแต่ละกลุ่มสรุป
ร่วมกันสรุปผลกำรด ำเนินงำน
โครงกำร/กิจกรรมต่ำง ๆ ของเขตพื้นที่ ผลกำรปฏิบัติงำนร่วมกัน








สะท้อนผลกำรท ำงำน



- เป็นไปตำมวัตถุประสงค์หรือไม ่




- บรรลุตัวชี้วัดควำมส ำเร็จที่ตั้งไว้หรือไม ่




- มีข้อเสนอแนะ : ในส่วนที่ต้องปรับปรุง/พัฒนำ/แก้ไข




- แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ





ถ้ำไม่ส ำเร็จก็วำงแผนและออกแบบวิธีกำร/นวัตกรรมใหม ่

16

ร ที่ 5 : ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้




ตัวแทนในแต่ละกลุ่มน ำเสนอ
มอบเกียรติบัตรผลกำรปฏิบัติงำนที่ดี
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลกำรปฏิบัติงำน
และเป็นแบบอย่ำงในภำพรวมของกลุ่ม
ในภำพรวมของกลุ่มและตำมกรอบ
ภำรกิจงำนที่ประสบควำมส ำเร็จ และบุคคล








ทีมบริหำร และบุคลำกรแต่ละกลุ่ม
ร่วมแลกเปลี่ยนรู้ชื่นชมควำมส ำเร็จ

17
2. วงจรกำรบริหำรงำนคุณภำพ PDCA

ิ่
ดร.เดมมง ได้น าวงจรของ Walter A. Shewhart มาปรับปรุงและอธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรม
ซึ่ง Walter A. Shewhart เขียนเกี่ยวกับ Shewhart Cycle ไว้ในหนังสือของเขาในปี ค.ศ.1939 โดยที่เดมมิ่ง
เรียกวงจรนี้ว่า Walter A. Shewhart หรือ PDSA Cycle ส่วนในประเทศญี่ปุ่นได้น าหลักการดังกล่าวไปปรับ

และรู้จักกันในนาม Deming Cycle และคนทั่วไปนิยมเรียกว่า PDCA Cycle ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้

ื่
1. P = Plan หมายถึง การวางแผนเพอปรับปรุงคุณภาพ
2. D = Do หมายถึง การลงมือปฏิบัติตามแผน

ื่
3. C = Checkหมายถึง การตรวจสอบประเมินผลย้อนกลับเพื่อยืนยันแผน หรือเพอปรับแผน
4. A = Act หมายถึง ท าเป็นแผนถาวร หรือศึกษาเพื่อปรับปรุงแผน

ดังนั้น เพอให้กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนมีคุณภาพ
ื่
มีผลผลิตที่เป็นผลงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้น าหลักการวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA
เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลักดังนี้

P = Planการวางแผนหมายถึงการศึกษา วิเคราะห์ภาระงาน ศึกษาระเบียบกฎหมาย
แนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การก าหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย

การจัดท าปฏิทิน/แผนการปฏิบัติงานตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการท างานการรวมถึงวางแผนแนวทาง

แก้ปัญหา อุปสรรคอันอาจจะเกิดขึ้นจากการประสานงานและระหว่างการปฏิบัติงาน
D = Do การปฏิบัติตามแผน หมายถึงการด าเนินงาน ตามกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติ

ที่ได้วางแผนงานหรือปฏิทินที่ก าหนดไว้ ในระดับกลุ่มในสังกัดเขตพนที่ ระดับสถานศึกษา และหรือระหว่าง
ื้
ื่
หน่วยงานอนที่เกี่ยวข้อง ด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ก าหนด รวมถึงการให้ค าแนะน า

ปรึกษาการแก้ไขปัญหาอปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามสภาพและบริบทของภาระงาน
และพื้นที่ที่ด าเนินการ
C = Checkตรวจสอบประเมินผลหมายถึง การก ากับ ติดตาม ตรวจสอบ รายงาน

ความก้าวหน้า รายงานผลการด าเนินงาน

A = Actionการปรับปรุงการด าเนินงานหมายถึง เป็นการด าเนินงานภายหลังที่กระบวนการ
3 ขั้นตอน P D C ตามวงจรได้ด าเนินการเสร็จแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการนาเอาผลจากขั้นตอน (C) มาวิเคราะห์

สังเคราะห์ รวมรวมและสรุปผลการด าเนินงาน อาจรวมถึงการปรับปรุงการด าเนินงานให้เหมาะสมและได้แนว
ทางการด าเนินงานที่ดีเพื่อจะได้น าไปปฏิบัติในครั้งต่อไปหรือสามารถน าไปเป็นตัวอย่าง แบบอย่างที่ดีต่อไป

การน าวงจรคุณภาพการบริหารงาน PDCA มาควบคุมกระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาดว่าจะเกิดผลลัพธ์และประโยชน์ ดังนี้
1. การวางแผนและเตรียมงานก่อนการปฏิบัติงานจริงจะท าให้เกิดความพร้อมและสามารถ

แก้ปัญหาได้เมื่อปฏิบัติงานจริง

2. การปฏิบัติตามแผนงาน ท าให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้า
หรือทราบอปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนั้น การปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียบร้อย บรรลุตาม

วัตถุประสงค์น าไปสู่เป้าหมายที่ได้ก าหนดไว้

18

3. การตรวจสอบ ส่งผลให้การปฏิบัติงานถูกต้อง เชื่อถือได้ ได้รับการยอมรับ และท าให้การ

ปฏิบัติงานขั้นต่อไปก็ด าเนินงานต่อไปได้

4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม เมื่อมีการปรับปรุง
แก้ไขคุณภาพก็จะเกิดขึ้น



วงจรกำรบริหำรงำนคุณภำพ (PDCA)

19
3. หลักธรรมำภิบำล

ธรรมำภิบำล ( Good Governance) คือ การปกครองที่เป็นธรรม การบริหาร การจัดการ

การควบคุมดูแล กิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถ
น าไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มี


ความหมายเพยงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบ


ธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพงมีและพงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการ
แทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น
ธรรมาภิบาลเป็นหลักการที่น ามาใช้บริหารงานในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุเพราะช่วย
สร้างสรรค์และส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ อาทิ พนักงานต่างท างานอย่างซื่อสัตย์สุจริตและ


ขยันหมั่นเพยร ท าให้ผลประกอบการขององค์กรธุรกิจนั้นขยายตัว นอกจากนี้แล้วยังท าให้บุคคลภายนอกที่
เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อมั่นในองค์กรนั้น ๆ อนจะท าให้เกิดการพฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส



ย่อมได้รับความไว้วางใจในการร่วมท าธุรกิจ รัฐบาลที่โปร่งใสตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แกนักลงทุน
และประชาชน ตลอดจนส่งผลดีต่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เป็นต้น
ส านักงาน ก.พ. ได้ก าหนดไว้โดยได้เสนอเป็นระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลัก

ธรรมาภิบาลประกอบด้วย 6 หลักการ คือ

1. หลักนิติธรรม
2. หลักคุณธรรม

3. หลักความโปร่งใส

4. หลักความมีส่วนร่วม
5. หลักความรับผิดชอบ

6. หลักความคุ้มค่า
ื่
ดังนั้น เพอให้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานเขต
พนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 สามารถปฏิบัติงานเกิดผลงานเชิงประจักษ์ มีประสิทธิภาพ
ื้
ประสิทธิผล ประโยชน์สูง โดยหยัดคุ้มค่ากับการลงทุน บุคลากรของกลุ่มนโยบายและแผนได้รับการยอมรับและ
เชื่อมั่นในการปฏิบัติงาน จึงได้น าหลักธรรมาภิบาลมาควบคุมและประยุกต์ใช้เพอการบริหารจัดการและ
ื่
การปฏิบัติงานโดยการสร้างความตระหนัก รณรงค์ให้บุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผน ยึดมั่นและ
พึงปฏิบัติ ดังนี้

1. หลักนิติธรรม คือ ยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม ปฏิบัติตน ปฏิบัติงานและเป็นแบบอย่าง

ในการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวินัย กฎ กติกา แนวปฏิบัติ ยึดถือในความซื่อสัตย์ มีความอดทน

ขยันหมั่นเพยร ทุ่มเทและเสียสละแก่งานราชการ และผลประโยชน์ของส่วนร่วมและหน่วยงานเป็นหลัก
ไม่กระท าตามอาเภอใจหรือเออประโยชน์แก่บุคคลกลุ่มงาน สถานศึกษา หรือหน่วยงานใด ปฏิบัติร่วมกนอย่าง


ื้
เสมอภาคและเป็นธรรม เช่นปฏิบัติงานด้านบริหารงบประมาณให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหาร
งบประมาณฯ หรือจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามข้อมูลที่เป็นจริงตามความจ าเป็นขาดแคลน ทุ่มเทเสียสละ

ปฏิบัติงานราชการให้แล้วเสร็จตรงตามก าหนดเวลา ไม่ค านึงถึงวันหยุดราชการหรือหยุดปฏิบัติงานหลัง

16.00 น. ทั้งนี้เพื่อสถานศึกษา และเพื่อส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ื้

20
2. หลักคุณธรรม คือ ครองตน ครองคน ครองงานความซื่อสัตย์สุจริตความเสียสละ

ื้

ความอดทน ขยันหมั่นเพยรพอเพยง เช่น ติดตามตรวจสอบรายงานข้อมูลพนฐานทางการศึกษาตามความจริง

ื่
ิ่
ื่

ื้
ไม่ปรับเปลี่ยนหรือเพมเติมข้อมูลอนเป็นเท็จเพอให้ได้มาซึ่งวัสดุ ครุภัณฑ์หรือแฝงด้วยผลประโยชน์อน ไม่เออ

ประโยชน์ต่อสถานศึกษาใดสถานศึกษาหนึ่ง อดทนอดกลั้นต่อค าวิพากษ วิจารณ์หรือค าต าหนิของผู้บังคับบัญชา


ื่
หรือผู้มาติดต่องาน มีความขยันหมั่นเพยรเข้ารับการฝึกอบรมเพอพฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพอความ
ื่
เจริญก้าวหน้าในอาชีพ เช่นพฒนาสมรรถนะตนเองตามต าแหน่งที่รับผิดชอบ พฒนาอบรมฝีกพดอานเขียน






ภาษาองกฤษ ภาษาจีนให้พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียน มีความพอเพยงไม่ฟงเฟอตามกระแสสังคม

ุ้
หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้น
3. หลักความโปร่งใส คือ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา มีเอกสารหลักฐาน
ประกอบการปฏิบัติงานพร้อมที่จะสามารถสอบถาม ตรวจสอบได้ ไม่มีการทุจริตคอรัปชั่น
4. หลักความมีส่วนร่วม คือ บริหารงานและปฏิบัติงานโดยองค์คณะบุคคล ภายใต้กระบวนการ
มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน องค์คณะบุคคลประกอบด้วย คณะกรรมการ กพท. ก.ต.ป.น. อกคศ. เครือข่าย
สถานศึกษา 13 เครือข่าย เครือข่ายศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 3 ศูนย์ และเครือข่ายระหว่าง

หน่วยงานสถานศึกษาระดับอาเภอ ระดับจังหวัด เช่นการจัดท าแผนพฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติ จัดท าในรูป

คณะกรรมการจากทุกภาคส่วน รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา บุคลากรทุกคนในส านักงานเขตพนที่
ื้

การศึกษามีส่วนร่วมในการก าหนดวิสัยทัศน์ พนธกิจ ค่านิยม เอกลักษณ์ อตลักษณ์ การตั้งและจัดสรร

งบประมาณให้สถานศึกษา มีกระบวนการและด าเนินการในรูปแบบคณะกรรมการฯ สร้างเครือขายจัดท าข้อมูล

พื้นฐานทางการศึกษา มีกระบวนการติดตามประเมินผลจากคณะบุคคลทั้งภายในและภายนอกส านักงาน
1. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน
ยึดมั่น ในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมด าเนินการ ร่วมรับผิดชอบ พร้อมที่จะแก้ปัญหาและอปสรรค

เพื่อผลส าเร็จของงานและขององค์กร
2. หลักความคุ้มค่าการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน ทรัพยากรด้าน

ื่

งบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกอนที่สนับสนุนมีค่อนข้างจ ากัด ดังนั้น จ าเป็นจะต้องยึด
หลักความประหยัดและความคุ้มค่า ภายใต้หลักการ ประโยชน์สูงประหยัดสุด เช่น มีการลดขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน บูรณาการการประชุมอบรมสัมมนา กรณีผู้เข้าร่วมประชุมอบรมสัมมนากลุ่มเป้าหมายเดียวกัน

หรือใช้กระดาษพิมพ์งานสองหน้าเปลี่ยนจากการใช้โทรศัพท์เป็นส่ง e-mail Line Facebook เป็นต้น

หลักธรรมำภิบำล ( Good Governance)

21
4. ระบบกำรบริหำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management - RBM)

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545

ื่
มาตรา 3/1 “ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพอประโยชน์สุขของ
ุ้
ประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคมค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอน
การปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จ าเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น

การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้


โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ค านึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล
การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ”

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร


ราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 ที่กล่าวมาแล้ว ณ ะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่
11 พฤษภาคม 2542 เห็นชอบต่อแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐซึ่งก าหนดให้มีการปฏิรูปราชการด้วยแผนงาน

หลัก 5 แผน คือ
1. แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานภาครัฐ

2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงินและการพัสดุ

3. แผนการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารบุคคล
4. แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย

5. แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม

ด้วยความมุ่งหวังที่จะให้เกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง มีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม ค่านิยม
วีธีการปฏิบัติงาน จึงได้น าหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่ยึดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือกลุ่มผู้รับบริการหลัก

ื้
ซึ่งประกอบไปด้วยบุคลากรทุกคนในส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ผู้บริหาร
สถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษา เป็นเป้าหมายหลักในการท างาน ค านึงถึงผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์


ของงานภายในกลุ่มเป็นส าคัญ รวมถึงให้ความส าคัญกับการก าหนดวิสัยทัศน์ พนธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
ที่ชัดเจน และการก าหนดผลผลิต ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกัน มีการก าหนดตัวชี้วัดผลการด าเนินงานที่ชัดเจน
ในการวัดความก้าวหน้าการปฏิบัติงานเพื่อให้การท างานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความรับผิดชอบผู้มีส่วนได้

ส่วนเสียหรือผู้รับบริการ รวมถึงเกิดความคุ้มค่าสูงสุด
ุ่
กำรบริหำรมงผลสัมฤทธิ์ คือ วิธีการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรมเพอให้บรรลุ
ื่
วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ก าหนดไว้ มีการรายงานความก้าวหน้าของการด าเนินงานให้สอดคล้องตามค ารับรอง
การปฏิบัติราชการ (กพร.) คือรายงานผลการด าเนินงานและความก้าวหน้า รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือนและรอบ

12 เดือน ภายใต้เงื่อนไขความส าเร็จ

ความประหยัด (Economy) บริหารและและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า เหมาะสม
ประโยชน์สูง ประหยัดสุด

ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานให้ได้ชิ้นงานหรือผลงานในระดับ

ที่สูงกว่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้

22

ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และ

เป้าหมายที่ก าหนดไว้


ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes)


















ผลผลิต (Outputs) หมายถึง งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เจ้าหน้าที่กลุ่มนโยบายและแผน

ื้
ด าเนินงานเสร็จสมบูรณ์พร้อมส่งมอบให้บุคลากรภายในส านักงานเขตพนที่การศึกษา เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
ผู้บริหารโรงเรียน ครู หรือสถานศึกษา
ผลลัพธ์ (Outcomes) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นตามมา ผลกระทบ หรือเงื่อนไขที่เกิดจากผลผลิต

ผลลัพธ์มีความสัมพันธ์โดยตรงกับสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ คือ งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เกิดจากการท างานได้ผลผลิต (Outputs)
ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (Outcomes) ตรงตามวัตถุประสงค์ กล่าวคือ ผลผลิตสามารถน าไปใช้ประโยชน์

ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พึงพอใจ เช่น สร้างอาคารเรียน 1 หลัง (Outputs) อาคารเรียนถูกต้องการคุณลักษณะ


ที่ สพฐ.ก าหนด ใช้วัสดุอปกรณ์ที่มีคุณภาพดี มีความมั่นคง แขงแรง เหมาะกับการใช้ประกอบกิจกรรมการเรียน

การสอน จัดกิจกรรมพฒนาผู้เรียน (Outcomes) หรือ ปรับปรุงซ่อมแซมถนนภายในโรงเรียน 1 กิโลเมตร
เป็น ผลผลิต (Outputs) ถนนที่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมท าให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ประชาชน

ได้รับความสะดวกในการใช้รถเพอเดินทาง ไป-กลับ หรือรับ-ส่ง บุตรหลานที่เรียนอยู่ในโรงเรียนอย่างปลอดภัย
ื่
เป็นผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของกำรบริหำรมุ่งผลสัมฤทธิ์

ื่
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีวัตถุประสงค์เพอปรับปรุงการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน
ช่วยให้การบริหารการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างเหมาะสม มีทิศทางในการปฏิบัติงาน มีระบบการประเมินผล
การปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่ก าหนด ท าให้ทราบผลการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับแผนหรือเป้าหมาย สามารถ

รายงานความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงานต่อผู้บริหาร และท าให้แก้ปัญหาได้ทันท่วงที หากผลการปฏิบัติงาน

ไม่น่าพึงพอใจ ผอ.สพป รองผอ.สปพ. หรือผู้อ านวยการกลุ่มมีโอกาสปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ได้ทันที

23
กำรบริหำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนกำรของกำรบริหำร(PDCA) ได้แก ่

Plan มีวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายที่ชัดเจน (ต้องการทราบว่าผลสัมฤทธิ์คืออะไร)

Do มีการปฏิบัติงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่
Check มีการตรวจสอบว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่


Act ปรับปรุงแกไขให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้
ข.ระเบียบ กฎหมำย แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง


หมายถึง ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ แนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ คู่มือที่ใช้อางองประกอบการ
ปฏิบัติงาน การด าเนินงานตามกรอบภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผน ดังนี้
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ .ศ. 2560

2. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 และแก้ไขเพิ่มเติม

3. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม

5. พระราชบัญญัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกษา พ.ศ.2547 และแก้ไขเพิ่มเติม

6. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539

7. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540

8. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพวเตอร์ พ.ศ 2550, (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2560

9. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

10.ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2560
11.ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552

12.ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ
พ.ศ. 2529


13.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพนธ์และการให้ข่าวราชการ พ.ศ. 2548
14.ระเบียบนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติม
15.ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2549


16.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแผนพฒนาการศึกษาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
พ.ศ. 2552

17.แนวทางการด าเนินงานการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการศึกษา ของส านักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน
18.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งรวมเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550

19.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา

พ.ศ. 2554
20.ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

21.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

24

22.กฎกระทรวง ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550

23.พระราโชบายด้านการศึกษาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร
24.แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580)

25.แผนการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

26.แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2
27.แผนและนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของส านักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน
28.แผนและนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

29.แผนปฏิบัติราชการของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

34.ยุทธศาสตร์พัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด
30.แผนพัฒนาจังหวัดล าปาง

31แผนพัฒนาการศึกษา ของศึกษาธิการภาค 15 และ ศึกษาธิการจังหวัดล าปาง
32.แผนปฏิบัติการประจ าปีของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ื้
33.นโยบายกระทรวงศึกษาธิการนโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน
นโยบายและกลยุทธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
34.ประกาศสพฐ. เรื่องการกระจายอานาจการบริหารและจัดการศึกษาของเลขาธิการ กพฐ.

ไปยังคณะกรรมการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด สพฐ. ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2550

35.มาตรฐานส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
36.มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจ าปี

37.แผนการเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินงานประจ าปี
38.แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

39.เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

(Interity & Transparency Assessment)
40.คู่มือการปฏิบัติงานขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค

41.รายงานผลการด าเนินงานการจัดการศึกษาของส านักงานเขตพื้นที่การศกษา

42.รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

43.เอกสารประกอบการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย

44.เอกสารการจัดท าค าของบประมาณของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐานและ
ื้
ของส านักงบประมาณ

45.ระเบียบการกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพสดุภาครัฐ

พ.ศ. 2560
46.กฎกระทรวงก าหนดให้หน่วยงานอนเป็นหน่วยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อ
ื่
จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

25
ิ่
ั้
47.คู่มือการจัดท าแผนการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP ส าหรับหน่วยงานภาครัฐ (ขนตอนเพม
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง – ประกาศแผนการจัดซื้อจัดจ้างขึ้นเว็บไซค์)

48.คู่มือใช้งานระบบ e-GP กรณีจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ส าหรับหน่วยงานภาครัฐ
49.คู่มือใช้งานระบบ e-GP กรณีจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคัดเลือก ส าหรับหน่วยงานภาครัฐ

50.ระเบียบส านักงานพระพทธศาสนาแห่งชาติว่าด้วยอตราค่าธรรมเนียมและเงินบ ารุง


ศาสนสมบัติ พ.ศ. 2556
51.คุณลักษณะมาตรฐานและราคากลางวัสดุอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี

52.กรอบการติดตามประเมินผลและรายงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
53.หนังสือราชการหรือแนวปฏิบัติจากหน่วยต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

54.ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2544

55.คู่มือการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของกระทรวงศึกษาธิการ
56.ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559

ส่วนที่ 3

26
ส่วนที่ 3

กำรบริหำรจัดกำรและขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน


1.กำรบริหำรจัดกำร

โครงสร้ำงกำรบริหำรงำน



ผู้อ ำนวยกำร
ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำงเขต 1








รองผู้อ ำนวยกำร

ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำล ำปำงเขต 1

(ที่ก ำกับดูแล กลุ่มนโยบำยและแผน)






ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำยและแผน

(นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนช ำนำญกำรพิเศษ)








นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน นักวชำกำรคอมพิวเตอร์


ช ำนำญกำรพิเศษ (1 ต ำแหน่ง) ช ำนำญกำร(1 ต ำแหน่ง) ช ำนำญกำร






เจ้ำพนักงำนธุรกำร พนักงำนบันทึกข้อมูล


ช ำนำญงำน (1 ต ำแหน่ง) (1 ต ำแหน่ง)

27
บุคลำกรกลุ่มนโยบำยและแผน





















นำงชีวพร สุริยศ
ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำยและแผน

















นำงสมศรี ต้นโนนเชียง นำงพวงสร้อย ณรงค์ธุวพันธ์ นำยธนพัฒน์ ชุนณวงษ์

นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์
ช ำนำญกำรพิเศษ ช ำนำญกำร ช ำนำญกำร

















นำงจรรยำ ค ำโพธิ์ นำงสำวสุดำกำนต์ ไชยรุ่งเรือง นำงสุภำณี ฟังอำรมณ์

เจ้ำพนักงำนธุรกำร นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน เจ้ำพนักงำนบันทึกข้อมูล
ช ำนำญงำน ช ำนำญกำร

28

2.กรอบภำระงำน

1. งำนธุรกำร

1.1 งานสารบรรณ (รับ-ส่งงานหนังสือราชการ) กลุ่มนโยบายและแผน
1.2 งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน

1.3 งานประสานงาน งานบริการ และงานประชาสัมพันธ์

1.4 งานระดมทรัพยากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.5 งานจัดเก็บ รวบรวมและสรุปผลงานด้านธุรการ

1.6 งานรับรองข้อมูลโรงเรียน
2. งำนนโยบำยและแผน

2.1 งานศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนานโยบายทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.2 งานจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.3 งานจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี

2.4 งานจัดท าแผนยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด
2.5 งานจัดตั้ง ยุบ รวม เลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.6 งานจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาสถานศกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร

2.7 งานเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก
3. งำนวิเครำะห์งบประมำณ

3.1 งานวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจ าปี (MTEF) (ระยะสั้น) รายจ่าย 4 ปี (ระยะยาว)

3.2 งานจัดตั้งและเสนอของบประมาณ
3.3 งานจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปี

3.4 งานเปลี่ยนแปลงโอนงบประมาณและการขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจ าปี
4. งำนข้อมูลสำรสนเทศ

4.1 งานจัดท าข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม DMC

4.2 งานจัดท าข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม M-OBEC
4.3 งานจัดท าข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม B-OBEC

4.4 งานจัดท าข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม EMIS
4.5 งานประชุม VDO Conference

4.6 งานระบบเครือข่าย Internet ของสถานศกษา

4.7 งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพอการศึกษา
ื่
5. งำนติดตำม ประเมิน และรำยงำนผล

5.1 งานติดตามและรายงานผลการด าเนินงานการติดตามและประเมินผลการบริหาร

จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประจ าปีของผู้ตรวจราชการ สพฐ. ศธภ. ศธจ.
5.2 งานติดตามและรายงานผลการด าเนินงานแผนปฏิบัติการประจ าปี

5.3 การจัดท ารายงานผลการจัดการศึกษาประจ าปี

29

Flow Chart กระบวนกำรขั้นตอนปฏิบัติงำน




ศึกษำ วิเครำะห์ ข้อบังคับ ภำระงำน

ศึกษำระเบียบ กฎหมำย แนวปฏิบัติ

หลักเกณฑ์ นโยบำย


ร่วมศึกษำ

P
วิเครำะห์ สังเครำะห์ สรุปข้อมูลสำรสนเทศ
วิเครำะห์ สังเครำะห์ สรุป สภำพปัญหำ ควำมจ ำเป็น






ก ำหนดวัตถุประสงค์ เป้ำหมำย
ร่วมวำงแผน วำงแผนและก ำหนดปฏิทินกำรด ำเนินงำน






ด ำเนินงำนตำมแผนและ/หรือปฏิทินปฏิบัติงำน D

ร่วมปฏิบัติ ระดับเขตพื้นที่ ระดับสถำนศึกษำ
และ/หรือหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง





ทบทวน ติดตำม ตรวจสอบ

ร่วมสรุป รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนตำมระยะเวลำ/ปฏิทินก ำหนด

C




ร่วมแลกเปลี่ยน รำยงำนผล ปรับปรุง แก้ไข

เรียนรู้ ปรับปรุง แก้ไข



ถูกต้อง



สรุป รำยงำนผลกำรด ำเนินงำน A





กำรบริหำรที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ หลักธรรมมำภิบำล ระเบียบกฎหมำย ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 4

งำนธุรกำร

30
งำนธุรกำร



1. ชื่องำน
งานสารบรรณ



2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ระบบการปฏิบัติงานต่อหนังสือราชการมีประสิทธิภาพรวดเร็วถูกต้อง

2.2 เพื่อให้การ รับ – ส่ง หนังสือราชการเป็นมีประสิทธิภาพ


3. ขอบเขตของงำน

3.1 การรับ – ส่ง หนังสือราชการ
3.2 การจัดเก็บหนังสือราชการ


4. ค ำจ ำกัดควำม

งานระบบสารบรรณ คือ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดท า การรับ

การส่ง การเก็บรักษา การยืม และการท าลาย


5. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน

5.1 กำรรับหนังสือรำชกำร
5.1.1 รับหนังสือราชการจากสารบรรณกลาง รับหนังสือ จากการสืบค้นหนังสือราชการ

ทาง Website สพฐ. และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

5.1.2 ลงทะเบียนรับทางระบบ e-Filing และพิมพลงบนทะเบียนคุม (ทะเบียนรับ)
5.1.3 เสนอผู้อ านวยการกลุ่มทราบและพิจารณามอบหมายให้ผู้รับชอบปฏิบัติ


- ผู้อานวยการกลุ่มพจารณาแล้วไม่ใช่ภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผน

ให้น าส่งคืนสารบรรณกลาง


- ผู้อานวยการกลุ่มพจารณาแล้ว เป็นภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผน
ให้ด าเนินการตามข้อ 5.1.4 ต่อไป
5.1.4 ส่งมอบหนังสือราชการให้ผู้รับผิดชอบน าไปปฏิบัติ พร้อมลงนามรับหนังสือ

5.1.5 สรุปจ านวนหนังสือรับและสรุปผลการด าเนินงาน
5.2 กำรส่งหนังสือรำชกำร

5.2.1 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งาน จากผู้รับผิดชอบ

5.2.2 ตรวจสอบ ความถูกต้อง เรียบร้อย ความครบถ้วนของเอกสารจากแฟมหนังสือ

ราชการ-งาน




5.2.3 เสนอแฟมหนังสือราชการ-งาน ต่อผู้อานวยการกลุ่ม รองผู้อานวยการฯ ที่ก ากับ
ดูแล ผู้อ านวยการ สพป.ลป. 1 ลงนามตามล าดับ

31


5.2.4 รับแฟมหนังสือราชการ-งานจากงานเลขานุการ ผู้อานวยการ สพป.ลป. 1
พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เรียบร้อยอีกครั้งหนึ่ง

5.2.5 ลงทะเบียนส่งหนังสือบนระบบ e-Filing
ื่
5.2.6 จัดส่งหนังราชการ-งานราชการ ให้สารบรรณกลาง เพอส่งไปยังหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง


6.เอกสำร/หลักฐำนอ้ำงอิง

6.1 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
6.2 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540

6.3 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2560

6.4 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552
6.5 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ

พ.ศ. 2529,(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533

6.6 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพนธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525,
(ฉบับที่2) พ.ศ.2527

32
Flow Chart กำรปฏิบัติงำน รับหนังสือรำชกำร





รับหนังสือ


จำกสำรบัญกลำง





ลงทะเบียนรับ (e – filing)



เสนอ ผอ.กลุ่มทรำบ


ถูกต้อง ส่งคืน

ผอ.กลุ่มพิจำรณำ สำรบรรณกลำง

มอบหมำยงำน







ส่งมอบหนังสือรำชกำร

ให้ผู้รับผิดชอบ





สรุปจ ำนวนหนังสือรับ
และสรุปรำยงำนผล

33

Flow Chart กำรปฏิบัติงำน ส่งหนังสือรำชกำร



จนท.จัดท ำหนังสือรำชกำร




ไม่ถูกต้อง

ส่งคืนปรับแก้ไข
ผอ.กลุ่มตรวจสอบ





ไม่ถูกต้อง

ผู้มีอ ำนำจพิจำรณำ ส่งคืนปรับแก้ไข

ลงนำม

ถูกต้อง



ส่ง หนังสือรำชกำร





สรุปหนังสือส่ง
และสรุปรำยงำนผล

34


ชื่องาน (กระบวนการ) งานสารบรรณ กลุ่มนโยบายและแผน สพป.ล าปาง เขต 1

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ระบบการปฏิบัติงานต่อหนังสือราชการมีประสิทธิภาพรวดเร็วถูกต้อง
2. เพื่อให้การ รับ – ส่ง หนังสือราชการเป็นมีประสิทธิภาพ

ล าดับที่ ผังขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียดงาน เวลาด าเนินการ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
1. การรับหนังสือราชการ ตลอดปีงบประมาณ - งานถูกต้อง รวดเร็ว นางจรรยา ค าโพธิ์


1.1 รับหนงสือราชการจากสารบรรณกลาง รับหนงสือ จากการสืบคน (ต.ค. – ก.ย.) - ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติด้วย

หนังสือราชการทาง Website สพฐ. และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความถูกต้องตามระเบียบ
1.2 ลงทะเบียนรับทางระบบ e-Filing และพิมพ์ลงบนทะเบียนคุม (ทะเบียน แนวปฏิบัติภายใต้
รับ)
ระยะเวลาที่ก าหนด
1.3 เสนอผู้อ านวยการกลุ่มทราบและพิจารณามอบหมายให้ผู้รับชอบปฏิบัติ - ผู้บริการพึงพอใจ

1. - ผู้อ านวยการกลุ่มพิจารณาแล้วไม่ใช่ภาระงานของกลุ่มนโยบายและ
แผนให้น าส่งคืนสารบรรณกลาง
- ผู้อ านวยการกลุ่มพิจารณาแล้ว เป็นภาระงานของกลุ่มนโยบายและ
แผนให้ด าเนินการตามข้อ 1.4 ต่อไป

1.4 ส่งมอบหนงสือราชการให้ผู้รับผิดชอบนาไปปฏิบัติ พร้อมลงนามรับ

หนังสือ
1.5 สรุปจ านวนหนังสือรับและสรุปผลการด าเนินงาน
2. การส่งหนังสือราชการ
2.1 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งาน จากผู้รับผิดชอบ

2.2 ตรวจสอบ ความถูกต้อง เรียบร้อย ของแฟ้มหนังสือราชการ - งาน
2.3 เสนอแฟ้มหนังราชการ-งาน ผู้อ านวยการกลุ่ม รองผู้อ านวยการฯ
ที่ก ากับดูแล ผู้อ านวยการ สพป.ลป. 1 ลงนามตามล าดับ

2. 2.4 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งานจากงานเลขานุการ ผู้อ านวยการ สพป.ลป. 1
พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เรียบร้อย
2.5 ลงทะเบียนส่งหนังสือบนระบบ e-Filing

2.6 จัดส่งหนังราชการ-งานราชการ ให้สารบรรณกลาง เพื่อส่งไปยังหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง

34


ชื่องาน (กระบวนการ) งานสารบรรณ กลุ่มนโยบายและแผน สพป.ล าปาง เขต 1

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ระบบการปฏิบัติงานต่อหนังสือราชการมีประสิทธิภาพรวดเร็วถูกต้อง
2. เพื่อให้การ รับ – ส่ง หนังสือราชการเป็นมีประสิทธิภาพ

ล าดับที่ ผังขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียดงาน เวลาด าเนินการ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
1. การรับหนังสือราชการ ตลอดปีงบประมาณ - งานถูกต้อง รวดเร็ว นางจรรยา ค าโพธิ์


1.1 รับหนงสือราชการจากสารบรรณกลาง รับหนงสือ จากการสืบคน (ต.ค. – ก.ย.) - ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติด้วย

หนังสือราชการทาง Website สพฐ. และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความถูกต้องตามระเบียบ
1.2 ลงทะเบียนรับทางระบบ e-Filing และพิมพ์ลงบนทะเบียนคุม (ทะเบียน แนวปฏิบัติภายใต้
รับ)
ระยะเวลาที่ก าหนด
1.3 เสนอผู้อ านวยการกลุ่มทราบและพิจารณามอบหมายให้ผู้รับชอบปฏิบัติ - ผู้บริการพึงพอใจ

1. - ผู้อ านวยการกลุ่มพิจารณาแล้วไม่ใช่ภาระงานของกลุ่มนโยบายและ
แผนให้น าส่งคืนสารบรรณกลาง
- ผู้อ านวยการกลุ่มพิจารณาแล้ว เป็นภาระงานของกลุ่มนโยบายและ
แผนให้ด าเนินการตามข้อ 1.4 ต่อไป

1.4 ส่งมอบหนงสือราชการให้ผู้รับผิดชอบนาไปปฏิบัติ พร้อมลงนามรับ

หนังสือ
1.5 สรุปจ านวนหนังสือรับและสรุปผลการด าเนินงาน
2. การส่งหนังสือราชการ
2.1 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งาน จากผู้รับผิดชอบ

2.2 ตรวจสอบ ความถูกต้อง เรียบร้อย ของแฟ้มหนังสือราชการ - งาน
2.3 เสนอแฟ้มหนังราชการ-งาน ผู้อ านวยการกลุ่ม รองผู้อ านวยการฯ
ที่ก ากับดูแล ผู้อ านวยการ สพป.ลป. 1 ลงนามตามล าดับ

2. 2.4 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งานจากงานเลขานุการ ผู้อ านวยการ สพป.ลป. 1
พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เรียบร้อย
2.5 ลงทะเบียนส่งหนังสือบนระบบ e-Filing

2.6 จัดส่งหนังราชการ-งานราชการ ให้สารบรรณกลาง เพื่อส่งไปยังหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง

35
งำนประสำนงำน งำนบริกำรและงำนประชำสัมพันธ์



1. ชองำน
ื่
งานประสานงาน งานบริการและงานประชาสัมพันธ์



2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อการให้บริการ อ านวยการสะดวกและสร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วน

เกี่ยวข้อง
ื่

2.2 เพอให้การอานวยความสะดวก ประสานงาน การด าเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน
ระหว่างกลุ่ม และของส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 เป็นไปด้วยความสะดวก
ื้
เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้
2.3 เพื่อเผยแพร่ผลการด าเนินงาน ผลงานและภาพลักษณ์ที่ดีของกลุ่มนโยบายและแผน


3. ขอบเขตของงำน

3.1 งานประสานงาน

3.2 งานให้บริการ
3.3 งานประชาสัมพันธ์



4. ค ำจ ำกัดควำม

การประสานงานหมายถึงการจัดให้คนในองค์กรท างานสัมพนธ์สอดคล้องกันโดยจะต้อง
ตระหนักถึงความรับผิดชอบวัตถุประสงค์เป้าหมายและมาตรฐานการปฏิบัติขององค์กรเป็นหลักต้องมีการจัด
ระเบียบวิธีการท างานอกทั้งความร่วมมือในการปฏิบัติงานเป็นเอกภาคเพอให้เกิดความคิดความเข้าใจตรงกัน

ื่
ในการร่วมมือปฏิบัติงานให้สอดคล้องทั้งเวลาและกิจกรรมที่ต้องกระท าให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยไม่ท าให้เกิด

ื่
ความสับสนขัดแย้งหรือเลื่อมล้ ากันทั้งนี้เพอให้งานด าเนินไปอย่างราบรื่นท าให้ได้มาซึ่งงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล

การให้บริการหมายถึงการให้ความช่วยเหลือหรือการด าเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นเป็นการ
อานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่มงาน / กลุ่มที่เกี่ยวข้อง / ผู้รับบริการทั่วไปโดยเน้น

ความพึงพอใจของผู้รับบริการ


ื่
งานประชาสัมพนธ์ หมายถึง การสื่อสารในเรื่องที่ได้ก าหนดไว้ เพอเสริมสร้างความเข้าใจ
ให้ถูกต้องตรงกันในการประสานงาน การให้ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ระหว่างกลุ่ม ระหว่างบุคคล รวมถง

ก่อให้เกิดทัศนคติที่ดี ภาพพจน์ที่ดี อนจะน าไปสู่สัมพนธภาพที่ดีระหว่างหน่วยงาน ระหว่างบุคคล


และสาธารณชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้การด าเนินงานของกลุ่มบรรลุเป้าหมาย

36

5. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน

ื่
5.1 ประสานงานกับกลุ่มอนในส านักงานและงานภายในกลุ่มนโยบายและแผนหน่วยงานและ
สถานศึกษาในงานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกลุ่ม
ื่
5.2 ช่วยอานวยความสะดวกงานบริการอนๆ ที่จะท าให้งานของกลุ่มนโยบายและแผนบรรลุ

วัตถุประสงค์ ถูกต้อง รวดเร็ว รวมถึง การสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจกันดี กลุ่มอื่นและภายในกลุ่มนโยบาย

และแผน

5.3 ประสานการด าเนินงานประชาสัมพนธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานของกลุ่ม
นโยบายและแผนให้ครู บุคลกรทางการศึกษาสถานศึกษา / หน่วยงานทางการศึกษาอน / หน่วยงานภาครัฐ /
ื่
เอกชน และประชาชนทั่วไปทราบ

5.4 สรุปและรายงานผลการด าเนินงานในการประสานงานการให้บริการ และการ

ประชาสัมพันธ์


6. เอกสำร/หลักฐำนอ้ำงอิง
6.1 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

6.2 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540

6.3 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2560
6.4 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552

6.5 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ

พ.ศ. 2529, (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533
6.6 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพนธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525,

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527
6.7 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560

37

Flow Chart กำรปฏิบัติงำน



ประสำนงำนกับกลุ่มอื่น
และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง





ช่วยอ ำนวยควำมสะดวก
และบริกำร




ประสำนกำรด ำเนินงำน
ประชำสัมพันธ์




สรุปและรำยงำนผลกำร

ด ำเนินงำน

38

ชื่องาน (กระบวนการ) งานประสานงาน งานบริการ และงานประชาสัมพันธ ์ กลุ่มนโยบายและแผน สพป.ล าปาง เขต 1
วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อการให้บริการ อ านวยการสะดวกและสร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
2.2 เพื่อให้การอ านวยความสะดวก ประสานงาน การด าเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน ระหว่างกลุ่ม และของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 เป็นไปด้วย

ความสะดวก เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้
2.3 เพื่อเผยแพร่ผลการด าเนินงาน ผลงานและภาพลักษณ์ที่ดีของกลุ่มนโยบายและแผน

ล าดับที่ ผังขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียดงาน เวลาด าเนินการ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
1. ประสานงานกับกลุ่มอื่นในส านักงานและงานภายใน ตลอด - ผู้ปฏิบัติงาน นางจรรยา ค าโพธิ์
กลุ่มนโยบายและแผนหน่วยงานและสถานศึกษาในงาน ปีงบประมาณ ปฏิบัติงานถูกต้อง
1.
ธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกลุ่ม (ต.ค. – ก.ย.) รวดเร็ว ประสานงาน

สร้างความเข้าใจที่ดี
2. ช่วยอ านวยความสะดวกงานบริการอื่นๆ ที่จะท าให้ ภายในระยะเวลาที่
งานของกลุ่มนโยบายและแผนบรรลุวัตถุประสงค์ ถูกต้อง ก าหนด
2. รวดเร็ว รวมถึง การสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจกัน - ผู้รับบริการพึงพอใจ

ดี กลุ่มอื่นและภายในกลุ่มนโยบาย และแผน

3. ประสานการด าเนินงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่

ข้อมูลข่าวสารและผลงานของกลุ่มนโยบายและแผนให้
ครู บุคลกรทางการศึกษาสถานศึกษา / หน่วยงาน
3.
ทางการศึกษาอื่น / หน่วยงานภาครัฐ /เอกชน และ

ประชาชนทั่วไปทราบ

4. สรุปและรายงานผลการด าเนินงานในการ

4. ประสานงานการให้บริการ และการประชาสัมพันธ ์

38

ชื่องาน (กระบวนการ) งานประสานงาน งานบริการ และงานประชาสัมพันธ ์ กลุ่มนโยบายและแผน สพป.ล าปาง เขต 1
วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อการให้บริการ อ านวยการสะดวกและสร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
2.2 เพื่อให้การอ านวยความสะดวก ประสานงาน การด าเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน ระหว่างกลุ่ม และของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 เป็นไปด้วย

ความสะดวก เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้
2.3 เพื่อเผยแพร่ผลการด าเนินงาน ผลงานและภาพลักษณ์ที่ดีของกลุ่มนโยบายและแผน

ล าดับที่ ผังขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียดงาน เวลาด าเนินการ มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
1. ประสานงานกับกลุ่มอื่นในส านักงานและงานภายใน ตลอด - ผู้ปฏิบัติงาน นางจรรยา ค าโพธิ์
กลุ่มนโยบายและแผนหน่วยงานและสถานศึกษาในงาน ปีงบประมาณ ปฏิบัติงานถูกต้อง
1.
ธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกลุ่ม (ต.ค. – ก.ย.) รวดเร็ว ประสานงาน

สร้างความเข้าใจที่ดี
2. ช่วยอ านวยความสะดวกงานบริการอื่นๆ ที่จะท าให้ ภายในระยะเวลาที่
งานของกลุ่มนโยบายและแผนบรรลุวัตถุประสงค์ ถูกต้อง ก าหนด
2. รวดเร็ว รวมถึง การสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจกัน - ผู้รับบริการพึงพอใจ

ดี กลุ่มอื่นและภายในกลุ่มนโยบาย และแผน

3. ประสานการด าเนินงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่

ข้อมูลข่าวสารและผลงานของกลุ่มนโยบายและแผนให้
ครู บุคลกรทางการศึกษาสถานศึกษา / หน่วยงาน
3.
ทางการศึกษาอื่น / หน่วยงานภาครัฐ /เอกชน และ

ประชาชนทั่วไปทราบ

4. สรุปและรายงานผลการด าเนินงานในการ

4. ประสานงานการให้บริการ และการประชาสัมพันธ ์

39
งำนประชุมของกลุ่มนโยบำยและแผน

1. ชื่องำน

งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน


2. วัตถุประสงค์

ื่
2.1 เพอให้การจัดการประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผน บรรลุตามวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายที่ก าหนด

ื่
2.2 เพอให้การอ านวยความสะดวก ประสานงาน การด าเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน
ระหว่างกลุ่ม และของส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 เป็นไปด้วยความสะดวก
ื้
เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้


3. ขอบเขตของงำน

งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน


4. ค ำจ ำกัดควำม

งานประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผน หมายถึง การจัดประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผน
เพอมอบนโยบาย แจ้งข้อราชการ ชี้แจงแนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือแนวทางด้านต่าง ๆ รวมหมายถึงการประชุม
ื่
เพอเตรียมความพร้อมการด าเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ของกลุ่มนโยบายและและส านักงานเขตพนที่การศึกษา
ื่
ื้
เป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล


5. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน

5.1 เสนอบันทึกข้อความแจ้งบุคลากรภายในกลุ่มนโยบายและแผน ลงนามรับทราบ

5.2 จัดท าร่างระเบียบวาระการประชุมเสนอ ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและตรวจสอบแก้ไข
- ตรวจสอบแล้วปรับแก้ไข

- ตรวจสอบแล้วถูกต้อง ให้ด าเนินการต่อตามข้อ 5.3
5.3 จัดท าระเบียบวาระการประชุม จัดเตรียมสถานที่ และรวบรวมข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

5.4 จัดท าประชุมตามวันเวลา และสถานที่ตามที่แจ้งไว้

5.5 สรุปและจัด ท ารายงานผลการประชุม แจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบ


6. เอกสำร/หลักฐำนอ้ำงอิง

1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540

3. ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2560

4. ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552

40
5. ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ

พ.ศ. 2529

6. ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2533

7. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ พ.ศ. 2548


8. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพวเตอร์ พ.ศ. 2550, (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2560


Flow Chart กระบวนกำรขั้นตอนปฏิบัติงำน งำนจัดท ำรำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำประจ ำปี




เสนอบันทึกข้อควำมแจ้งบุคลำกร

ภำยในกลุ่มนโยบำยและแผน

ลงนำมรับทรำบ





ปรับปรุง แก้ไข



จัดท ำร่ำงระเบียบวำระกำรประชุม
เสนอ ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำย



เห็นชอบ


จัดท ำระเบียบวำระกำรประชุม จัดเตรียมสถำนที่

และรวบรวมข้อมลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง




จัดท ำประชุมตำมวันเวลำ และสถำนที่ตำมที่แจ้งไว ้




สรุปและจัด ท ำรำยงำนผลกำรประชุม



แก้ไข

เสนอ ผอ.กลุ่มพิจำรณำ



ถูกต้อง


แจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทรำบ


Click to View FlipBook Version