The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนําร่อง รุ่นที่ 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2021-11-07 23:19:06

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนําร่อง รุ่นที่ 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนําร่อง รุ่นที่ 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1



คํานาํ

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School
as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนาร่องรุ่นท่ี 1
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะ
พลเมืองรุ่นใหม่ ท่ีมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต ที่นาไปสู่การเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ
2) เพื่อให้ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโครงการ
ส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3) เพ่ือนิเทศติดตามการดาเนินงานโรงเรียนนาร่องที่เข้า
ร่วมโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ 4) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 พัฒนางานวิจัยรปู แบบการส่งเสรมิ โรงเรยี นต้นแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) มีรูปแบบการนเิ ทศ ติดตามการดาเนนิ งานของโรงเรยี น
ท่ีเข้าร่วม เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ซ่ึง
สานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดาเนินการในโรงเรียนนาร่องโครงการ
จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านโป่งขวาก อาเภอห้างฉตั ร และโรงเรยี นบา้ นอ้อน อาเภองาว

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดาเนินการรายงานผลโครงการการส่งเสริม
โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะ
พลเมอื งรุ่นใหม่ โรงเรียนนาร่องรุ่นที่ 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในคร้ังน้ี จะเป็นประโยชน์
ต่อหน่วยงาน และบุคลากรที่มีความสนใจในการนาไปขับเคล่ือน เพ่ือให้ผู้บริหารโรงเรียน และครู
มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการขับเคล่ือนโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ และ
สรา้ งวัฒนธรรมใหมใ่ นการเรียนรูร้ ่วมกันอยา่ งต่อเน่อื ง เพอื่ สนบั สนุนการพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่น
ใหม่ ตอ่ ไป

กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1



สารบัญ

เรื่อง หน้า

คาํ นํา ก

สารบัญ ข

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

(School as Learning Community : SLC) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมือง

รนุ่ ใหม่ โรงเรียนนํารอ่ ง รนุ่ ที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1............................................... 1

โครงการการส่งเสรมิ โรงเรยี นเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ School as Learning Community :

SLC) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ โรงเรยี นนาร่อง รนุ่ ที่ 1 ประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564.......................................................................................................................... 1

ความสาคญั ของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีนาเสนอ.............................................................................. 1

จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนนิ งาน................................................................................... 2

วตั ถุประสงค์....................................................................................................................... 2

เป้าหมายการดาเนินงาน..................................................................................................... 2

กระบวนการหรอื ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน........................................................................................... 3

ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธ/์ิ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั ............................................................................... 7

ปัจจยั ความสาเร็จ.............................................................................................................................. 7

บทเรียนทีไ่ ดร้ ับ.................................................................................................................................. 8

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการการส่งเสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

(School as Learning Community : SLC) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมือง

รนุ่ ใหม่ โรงเรียนนํารอ่ ง รุ่นที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โรงเรียนบา้ นโปง่ ขวาก

อําเภอหา้ งฉัตร กลุ่มเครือข่ายเมืองยาว-แม่สัน สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา

ลาํ ปาง เขต 1..................................................................................................................... 9

รายงานผลการปฏิบัตงิ านโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้

(School as Learning Community : SLC) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมือง

รุ่นใหม่ โรงเรยี นนํารอ่ ง ร่นุ ท่ี 1 ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นบ้านออ้ น

อาํ เภองาว กลมุ่ เครือขา่ ยขุนงาว สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา

ลาํ ปาง เขต 1..................................................................................................................... 19

ภาคผนวก......................................................................................................................................... 31

คณะทางาน (Area Team)............................................................................................................... 46



สารบัญภาพ หน้า

ภาพท่ี

1 การนิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโดยใชร้ ปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี
(APICE Model)................................................................................................................. 3

2 กรอบแนวคิดการนิเทศเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาโดยใช้รูปแบบการนเิ ทศ
เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)............................................................................................ 4

1

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน
โครงการการส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC ) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่
โรงเรยี นนาํ ร่องร่นุ ท่ี 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ 2564
สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1
********************************************************

1. โครงการ การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning
Community : SLC) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่

2. ความสาํ คญั ของผลงานหรือนวตั กรรมทน่ี าํ เสนอ
การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ได้นั้น การจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริม

สนับสนุนผู้เรียนให้มีความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลในการทางาน ส่ังสมความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการ
ทางาน รู้จักการแสวงหาโอกาสและช่องทางในการทางาน สารวจและก้าวเข้าสู่โลกแห่งการทางาน
ซ่ึงผู้เรียนจะต้องผ่านการเรียนรู้ มีประสบการณ์ที่จะตัดสินใจเรียนรู้และเข้าสู่อาชีพในอนาคต โดย
โรงเรียนจะต้องมีความเข้าใจในการออกแบบหลักสูตรและการเรยี นการสอน รวมถึงวธิ กี ารจดั กิจกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2554) ซึ่งปัจจัยสาคัญที่สุดคือ
ความเป็นผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนและสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ของครู สอดคล้องกับ
องคป์ ระกอบของระบบการศึกษาของประเทศท่ีประสบความสาเร็จ ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพมี
8 ประการคือ การมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นาท่ีเข้มแข็ง การตั้งมาตรฐานระดับสูง มีความมุ่งม่ัน ต้ังใจ
ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา การได้มาและคงไว้ซ่ึงครูและผู้บริหารโรงเรียนที่มีคุณภาพ
ความร่วมมือในการทางานของทุกภาคส่วนท่ีสอดคล้องกัน การบริหารและการจัดการท่ีดีมีความ
รับผิดชอบ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนแก่นักเรียน และการม่งุ เน้นพัฒนาเพ่ืออนาคตในระดับโลก
(ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์, 2558) นอกจากนั้น ผลงานวจิ ัยการพัฒนาโรงเรยี นที่ประสบผลสาเร็จ
ของประเทศญีป่ ุ่น ท่สี ามารถสรา้ งวฒั นธรรมการเรียนรู้ใหม่ตามวิสยั ทศั น์ร่วมของผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครู
และผู้เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ที่ได้ให้นักเรียน
ทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกัน ครูได้เรียนรู้ร่วมกันเพ่ือพัฒนาวิชาชีพ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและ
ผเู้ กย่ี วข้องในพนื้ ท่ีเขา้ ร่วมปฏิรูปโรงเรียน (เออิสุเกะ ไซโตะ และคณะ. 2015) ซ่ึงประเทศญ่ีปุ่นได้นา
วิสยั ทัศน์ ปรัชญา และระบบกิจกรรมของชุมชนแห่งการเรียนรไู้ ปส่งเสริมในหลายประเทศและประสบ
ความสาเร็จ เช่น ประเทศเวียดนาม อินโดนีเซีย โดยมีทีมผู้ชี้แนะและเป็นพ่ีเลี้ยงเข้าไปหนุนเสริม
การเรยี นรู้ในโรงเรียน

กรอบแนวคิดการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมือง
รุ่นใหม่ เป็นการระดมสรรพกาลังของครูและบคุ ลากรในพื้นที่เพื่อร่วมพัฒนาผู้เรียนให้เห็นคุณค่าของ
การเรียนรู้และมีทักษะการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง (Collaborative Learning) ซ่ึงโรงเรียนจะมี
การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหา และทิศทางการพัฒนาโรงเรียนให้สอดคล้องกบั ความต้องการของ

2

พื้นที่เพ่ือจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพหรือ School Improvement Plan และวางระบบการพัฒนา
บทเรยี นร่วมกันเพื่อชุมชนแหง่ การเรียนรู้ หรือ Lesson Study for Learning Community (LSLC)

ในปีการศึกษา 2563 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้เข้า
ร่วมกบั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน นาโรงเรียนในสงั กัดเข้าร่วมโครงการการส่งเสริม
โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ
พลเมืองรนุ่ ใหม่ จานวน 2 โรงเรียน เพื่อเปน็ ผู้นาการเปล่ียนแปลง หรอื เป็น Node ด้วยการสรา้ งทีม
ชี้แนะ และเป็นพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) การจัดระบบการหนุนเสริมการพัฒนาคุณภาพ
ณ หอ้ งเรยี น และโรงเรยี น ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล นาไปสคู่ วามสาเร็จการจัดการศึกษาต่อไป

3. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย ของการดําเนนิ งาน
3.1 วตั ถปุ ระสงค์
3.1.1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ที่มีความจาเป็นต่อ

การดารงชีวติ ที่นาไปสูก่ ารพลเมอื งที่ดขี องประเทศชาติ
3.1.2 เพื่อให้ผ้บู ริหารโรงเรยี น ครู นักเรยี น ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน

โครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)
เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่

3.1.3 เพอ่ื นิเทศติดตามการดาเนนิ งานโรงเรยี นนาร่องท่ีเขา้ รว่ มโครงการการส่งเสรมิ โรงเรยี น
เป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่

3.1.4 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พัฒนางานวิจัยรูปแบบ
การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

3.2 เปา้ หมายการดาํ เนนิ งาน
3.2.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
1) โรงเรียนนารอ่ งทเี่ ขา้ รว่ มโครงการการสง่ เสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้

(School as Learning Community : SLC) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ มีแนวทางและ
รปู แบบในการพัฒนาโรงเรียนจานวน 2 โรงเรยี น

2) ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และศึกษานิเทศก์ ได้ร่วมประชุม
และลงพ้ืนทดี่ าเนินกจิ กรรม จานวน 2 ครั้ง

3) โรงเรียนนาร่องที่เข้าร่วมโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ได้รับการนิเทศ
ติดตาม การเยยี่ มชนั้ เรียนอย่างนอ้ ย 4 ครง้ั ตอ่ 1 ภาคเรียน

4) โรงเรียนนาร่องที่เขา้ ร่วมโครงการ มีการจัดทาแผนการสอนอยา่ งน้อย 2 แผน จดั ทา
สอื่ นวตั กรรม เพื่อใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

3.2.2 เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
1) ร้อยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องท่เี ขา้ ร่วมโครงการการสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชน

แหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) มีแนวทางและรปู แบบในการพัฒนา
โรงเรยี น

3

2) รอ้ ยละ 100 ของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน และศึกษานเิ ทศก์
ได้รว่ มประชุมแนวทางการขบั เคลือ่ นโครงการและลงพืน้ ทท่ี ากจิ กรรม

3) ร้อยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชน
แห่ง การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) ได้รับการนิเทศติดตาม การเยี่ยม
ช้ันเรยี น และนาผลการนเิ ทศ การเยย่ี มช้ันเรยี นปรับปรุงพัฒนาช้นั เรียน

4) ร้อยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการ มีการจัดทาแผนการสอน สื่อ
นวตั กรรม เพอ่ื ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

4. กระบวนการหรือขั้นตอนการดําเนนิ งาน
การนเิ ทศติดตาม โรงเรียนนาร่องโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School

as Learning Community : SLC) โดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
(เอกฐสทิ ธิ์ กอบกา, 2560, 78,104) โดยมีข้ันตอน ดงั นี้

แผนภาพที่ 1 การนิเทศ เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
โดยใชร้ ูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

ศกึ ษาสภาพ และความต้องการ
(Assessing Needs : A)

การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P)

การใหค้ วามรกู้ ่อนการนิเทศ
(Informing : I)

การนิเทศแบบโค้ช
(Coaching : C)

การประเมินผลการนิเทศ
(Evaluating : E)

4

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การนิเทศ เพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา
โดยใชร้ ปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

กรอบแนวคิดการนิเทศ เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา โดยใช้รปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

ศกึ ษาสภาพ และความตอ้ งการ ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปญั หา และความต้องการ
(Assessing Needs : A)

การวางแผนการนเิ ทศ 1. กาหนดตวั ชี้วดั ความสาเร็จ (KPI)
(Planning : P) 2. สรา้ งส่ือ/นวตั กรรม คูม่ อื การนเิ ทศ แผนการนิเทศ และ

เครอื่ งมือการนิเทศ
3. กาหนดกจิ กรรมและปฏิทินการนิเทศ

การให้ความรู้ก่อนการนเิ ทศ ส่งเสรมิ /พฒั นาความรูท้ เ่ี กย่ี วขอ้ งโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (SLC)
(Informing : I)
การนเิ ทศแบบโค้ช ปฏิบัติการนิเทศ Coaching เพื่อกระตุ้นให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครผู ู้สอน
(Coaching : C) และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/
กาหนดแนวทางการแก้ปัญหา/ วางแผน/ ดาเนินการแก้ปัญหา/ วเิ คราะห์
การประเมินผลการนเิ ทศ
(Evaluating : E) และสรุปผล/ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ /ชน่ื ชมความสาเร็จ

รวบรวม วเิ คราะห์ และสังเคราะหผ์ ลการนเิ ทศ

ไมม่ ีคุณภาพ

ตรวจสอบ และประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ
การนเิ ทศ /พฒั นา

มคี ุณภาพ

สรปุ และจดั ทารายงานผลการนเิ ทศ

นาเสนอและเผยแพรผ่ ลการนเิ ทศ (จัดนทิ รรศการ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้/ยกย่องเชิดชูเกียรต/ิ Website ฯลฯ)

5

ขัน้ ตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพ และความตอ้ งการ (Assessing Needs : A)
ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา การบริหารงานด้านวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสอบถามความต้องการของผู้บริหารสถานศึกษา
และครูผู้สอน โรงเรียนนาร่องโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as
Learning Community : SLC) สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

ข้นั ตอนท่ี 2 การวางแผนการนเิ ทศ (Planning : P)
ดาเนินการวางแผนการนิเทศ ตดิ ตาม รว่ มกันระหว่างศกึ ษานิเทศก์ ผบู้ ริหารสถานศึกษา

ครูผู้สอน และบุคลากรที่เก่ียวข้อง โดยคานึงถึงความเหมาะสมกับบริบทของเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
สถานศกึ ษา ดาเนนิ การ ดงั นี้

2.1 กาหนดตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ
2.1.1 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องที่เข้ารว่ มโครงการการส่งเสรมิ โรงเรยี นเป็น

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมือง
ร่นุ ใหม่ มแี นวทางและรูปแบบในการพัฒนาโรงเรยี น

2.1.2 ร้อยละ 100 ของผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และ
ศกึ ษานิเทศก์ ได้รว่ มประชมุ แนวทางการขับเคลื่อนโครงการและลงพน้ื ท่ที ากิจกรรม

2.1.3 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการการส่งเสริมโรงเรียน
เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมือง
รุ่นใหม่ ได้รับการนิเทศ ติดตาม การเย่ียมช้ันเรียน และนาผลการนิเทศ การเย่ียมช้ันเรียนปรับปรุง
พัฒนาชัน้ เรียน

2.1.4 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการ มีการจัดทาแผนการสอน
(Lesson Study : LS) ส่อื นวัตกรรม เพอื่ ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

2.1.5 จัดทาเคร่ืองมือการนิเทศ การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่

2.1.6 กาหนดกิจกรรมและปฏทิ ินการนิเทศ
2.2 จัดทาสอ่ื และเครื่องมือการนเิ ทศ ติดตาม

2.2.1 จัดทา/จัดหา เอกสารเสริมความรู้ คลิปวิดีโอ เช่น ความรู้เกี่ยวกับการ
ส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) การจัด
กิจกรรมตามกระบวนการ Plan Do See รปู แบบการสอนแบบ 5 STEPs

2.2.2 จัดทาเครื่องมือนิเทศ ติดตาม การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(PLC) การจัดกิจกรรมตามกระบวนการ Plan Do See การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
5 STEPs และรูปแบบอื่น ๆ

2.3 จดั ทาปฏทิ นิ การนิเทศ ติดตามการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้

6

ขน้ั ตอนที่ 3 การใหค้ วามรกู้ ่อนการนิเทศ (Informing : I)
ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกบั โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as

Learning Community : SLC) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้
3.1 การสง่ เสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC)
3.2 การจัดกิจกรรมตามกระบวนการ Plan Do See
3.3 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ 5 STEPs และรปู แบบอื่น ๆ

ขนั้ ตอนที่ 4 การนิเทศแบบโคช้ (Coaching : C)
ดาเนิ น ก ารนิ เท ศ โรงเรียน เป็ น ชุมชน แห่ งก ารเรียน รู้ (School as Learning

Community : SLC) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่แบบโค้ช ท้ังนี้ศึกษานิเทศก์ ได้ดาเนินการ
ร่วมกับ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ เพ่ือกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ
บุคลากรทางการศึกษาในการจดั กจิ กรรมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ อยา่ งเป็นระบบ ดังนี้

4.1 สารวจปัญหาต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ พร้อมกับ
วเิ คราะห์สาเหตุ

4.2 เลอื กแนวทางในการแก้ปญั หา
4.3 กาหนดเป้าหมายความสาเรจ็
4.4 วางแผนการแกป้ ญั หา
4.5 ดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนทวี่ างไว้ ในแต่ละกจิ กรรมทไ่ี ด้กาหนดไว้
4.6 วเิ คราะห์ และสรปุ ผลการดาเนินงาน
4.7 แลกเปล่ียนเรียนรู้ ชน่ื ชมความสาเรจ็ และข้อเสนอแนะในการดาเนนิ งาน

ขน้ั ตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating : E)
การประเมนิ ผลการนิเทศ ดาเนนิ การ ดงั น้ี
5.1 รวบรวม วเิ คราะห์ สังเคราะห์ผลการนิเทศกิจกรรมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้
5.2 ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนิเทศกจิ กรรมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้
5.3 สรุปและจัดทารายงานผลการนิเทศกิจกรรมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

ของโรงเรยี นนาร่องรนุ่ ท่ี 1
5.4 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนรู้ และช่ืนชมความสาเร็จในการจัดกิจกรรมโรงเรียน

เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ ของโรงเรียนนารอ่ งโครงการรุ่นที่ 1
5.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติครูผู้สอนท่ีมีการจัดกิจกรรมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

ของโรงเรียนนาร่องโครงการรนุ่ ท่ี 1 ทเี่ ปน็ แบบอย่างทด่ี ี
5.6 เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาท่ีมีการจัดกิจกรรมโรงเรียนเป็นชุมชน

แห่งการเรียนรู้ ของโรงเรียนนาร่องโครงการรุ่นที่ 1 สู่สาธารณชน ผ่าน Website ระบบ ICT และ
สารสนเทศของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

7

5. ผลการดาํ เนนิ การ/ผลสัมฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ี่ได้รับ
5.1 ระบุผลสําเร็จของการดําเนินงานที่เกดิ จากกระบวนการหรือขั้นตอนการดาํ เนนิ งานทีส่ ่งผล

ต่อการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
5.1.1 ดา้ นโรงเรยี น
โรงเรยี น มีขอ้ มลู สารสนเทศท่บี ่งบอกถงึ จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย ของการพัฒนางานโรงเรียน

เป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) สร้างวฒั นธรรมใหมใ่ นการ
เรียนรู้ร่วมกนั อย่างต่อเนอื่ งเพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่

5.1.2 ดา้ นผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
ผู้บรหิ ารโรงเรยี น มขี ้อมูลสารสนเทศในการบรหิ ารจดั การ

5.1.3 ด้านครผู สู้ อน
1) ครูผู้สอนทุกคนมีแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Study : LS) ท่ีเหมาะสมกับ

ระดบั ชน้ั เรียน มีวิธีการจัดการเรียนการสอน สือ่ การเรยี นรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานและ
ตัวช้ีวดั ของแต่ละรายวิชา/ชน้ั

2) ครูผู้สอนมีความม่ันใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก มีความกระตือรือร้นใน
การทางาน มีการช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั เกิดเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้

5.1.4 ด้านผเู้ รียน
ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ มีทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะการ

ส่ือสาร ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก ที่จะนาไปสู่การพลเมืองท่ีดีของ
ประเทศชาติ มที ักษะของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21

5.2 ระบุประโยชนท์ ่ีได้รับจากการดําเนินงาน/นวัตกรรม
5.2.1 นักเรียนไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ มีทักษะการทางานกลุม่ ทักษะ

การสื่อสาร ทกั ษะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ทจี่ ะนาไปสกู่ ารพลเมอื งท่ีดีของประเทศชาติ
5.2.2 ผ้บู ริหารโรงเรียน ครู นกั เรยี น ผู้ปกครองและชมุ ชน มีส่วนรว่ มในการขับเคลอ่ื น

โครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ สรา้ งวฒั นธรรมใหม่ในการเรยี นรูร้ ่วมกนั อย่าง
ตอ่ เน่ืองเพื่อสนับสนนุ การพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่

5.2.3 ทาใหโ้ รงเรียนมรี ูปแบบการพัฒนางาน การจัดทาสอื่ มีสอ่ื การเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย
นกั เรียนมีความกระตอื รือรน้ ในการเรยี น

6. ปจั จัยความสาํ เรจ็
6.1 สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มกี ารทางานเปน็ ทีม มกี ารช่วยเหลือ

ดูแลในการนเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน การนิเทศอย่างต่อเนอื่ ง การจดั หา
งบประมาณในการบริหารและจดั ทาสื่อนวตั กรรม

6.2 ผบู้ ริหารมีความเปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ใหก้ ารดแู ล
ช่วยเหลืออยา่ งเป็นกลั ยาณมติ ร

6.3 บรรยากาศในการทางานอยูใ่ นรูปแบบของประชาธปิ ไตย มคี วามเปน็ ผู้นา ผตู้ าม ยอมรับ
ความรู้ ความสามารถซงึ่ กันและกนั ในเรือ่ งการเตมิ เต็มและการสะท้อนในการทางาน

8

6.4 ครูผูส้ อนเกิดความตระหนัก เห็นความสาคัญของการทางานเปน็ ทมี มีความคดิ สร้างสรรคค์ มี
ความกระตือรอื รน้ ในการทางาน และยอมรับความสามารถของเพือ่ นรว่ มงาน

6.5 ผู้ปกครองเปิดใจยอมรบั การเปลย่ี นแปลงในรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนในแนวทางการ
ปฏริ ปู การเรียนการสอน

6.6 ผปู้ กครองเห็นความสาคญั ของการจดั การศกึ ษาของบตุ รหลาน ทาให้ชุมชนเกิดความมัน่ ใจใน
การจัดการศกึ ษา

6.7 นกั เรยี นมีความกระตือรือร้น มคี วามรับผิดชอบในการทางานเพมิ่ มากข้ึน มกี ารชว่ ยเหลอื ซึ่ง
กนั และกนั และการทางานเปน็ ทีม
7. บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ (Lesson Learned)

7.1 ผู้บริหาร ไดม้ ีแนวทางในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา และส่งเสรมิ ให้ครไู ด้เกดิ กระบวนการ
ทางานเปน็ ทีม

7.2 ครู เกิดการเรยี นรู้ เกิดความเข้าใจในกระบวนการจดั การเรียนการสอน มีการเปิดใจยอมรับ
ซ่ึงกนั และกนั

7.3 ผู้เรยี น มีทักษะในการทางานเป็นกล่มุ มที กั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
7.4 โรงเรียน มีข้อมูลสารสนเทศ และมนี วตั กรรมการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน
7.5 ผู้ปกครอง ชมุ ชน เกิดความเชื่อมั่น ศรทั ธา และยอมรบั ในรปู แบบการจัดการเรียนการสอน
ของโรงเรียน

กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1

9

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่

โรงเรยี นนาํ รอ่ งรุน่ ท่ี 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบ้านโป่งขวาก อาํ เภอหา้ งฉัตร กลุ่มเครือข่ายเมืองยาว – แมส่ นั

สํานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1
********************************************************

1. โครงการ/กิจกรรม
การส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)

2. ความสาํ คัญของผลงานหรอื นวัตกรรมทีน่ ําเสนอ
ตามท่ีโรงเรียนบ้านโป่งขวาก ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ข้นั พืน้ ฐาน ใหเ้ ข้าร่วมโครงการ การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning
Community : SLC) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในปีการศึกษา 2563 ซึ่งเป็นแนวคิดทาง
การศึกษาของประเทศญ่ีปุ่นมากว่า 20 ปี ที่ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปโรงเรียนในประเทศญ่ีปุ่นต้ังแต่
ระดับฐานราก ก่อนที่จะได้รับความสนใจและขยายเครือข่ายออกไปในประเทศอื่นทางภาคพื้นเอเชีย
ตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนถึงนอกทวีปอย่างประเทศเม็กซิโก จนในที่สุดได้เกิดเป็น
เครือข่ายในระดับนานาชาติ ภายใต้ชื่อว่า “The International Network for School as Learning
Community”ใหเ้ ป็นโรงเรยี นของศตวรรษท่ี 21 ทม่ี ุ่งทั้งคณุ ภาพและความเทา่ เทยี มกนั ของการศึกษา
เกิดข้ึนได้ด้วยกระบวน School as Learning Community และวสิ ยั ทศั น์ของโรงเรียนบ้านโป่งขวาก
ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ 4 ปี พ.ศ.2563 – 2566 ได้กาหนดไว้ว่า โรงเรียนบ้านโปง่ ขวาก
จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและจาก
รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
มีข้อเสนอแนะใหผ้ เู้ รียนควรไดร้ ับการปรับปรุงและพัฒนาในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และฝึกด้านวินัย เพ่ือการพัฒนาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างท่ีดีด้านการจัด
ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสาคัญและดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั

จากความสาคัญดังกล่าวโรงเรียนบ้านโป่งขวาก ได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ เด็กและผู้เรียนเป็นสาคญั เพื่อให้กา้ วทันตอ่ เหตกุ ารณ์และการ
เปลยี่ นแปลงท่ีเกี่ยวข้องกับวิทยาการใหม่ๆ สู่การเป็นพลเมืองรุ่นใหมท่ ่ีมีสมรรถนะ ดงั น้ันโรงเรียนจึง
ไดจ้ ัดทาโครงการนี้ขึน้

3. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ของการดาํ เนินงาน
3.1 วตั ถปุ ระสงค์
3.1.1 เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหารจดั การโรงเรียนเป็น

ชุมชนแห่งการเรียนรู้

10

3.1.2 เพ่ือให้ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ มีหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีมี
กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้นั (5 steps)

3.1.3 เพอ่ื ให้ครผู ู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีทักษะตามศตวรรษที่
21 และสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมพลัง (Collaborative
Learning)

3.1.4 เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนมีทักษะตามศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่
3.1.5 เพือ่ ให้ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนรแู้ ละมีความพึงพอใจตอ่ โรงเรียน
3.1.6 เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรอู้ ย่างแท้จรงิ และเป็นแบบอยา่ งที่ดแี ก่โรงเรียน
อนื่ ๆ
3.2 เปา้ หมายการดาํ เนินงาน
3.2.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ

3.2.1.1 ครโู รงเรยี นบา้ นโป่งขวาก จานวน 10 คน รว่ มจดั กจิ กรรม Open Class
3.2.1.2 ชมุ ชนและคณะครูจากโรงเรยี นในกลุ่มเครือขา่ ยเมืองยาวแม่สัน ร่วมกจิ กรรม
Open Class
3.2.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
3.2.2.1 ร้อยละ 100 ของผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหาร
จัดการโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.2.2.2 ร้อยละ 80 ของครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ มีหน่วยการเรียนรู้ แผนการ
จัดการเรยี นรู้ ที่มกี ระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ (5 steps)
3.2.2.3 ร้อยละ 80 ของครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มี
ทกั ษะตามศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมพลัง
(Collaborative Learning)
3.2.2.4 ร้อยละ 80 ของผ้เู รยี นมที กั ษะตามศตวรรษท่ี 21 และสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่
3.2.2.5 ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนรู้และมีความพงึ พอใจต่อโรงเรยี น ในระดับ
ดมี าก
3.2.6 โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนอ่ืนใน
ปีการศกึ ษานเี้ ปน็ ตน้ ไป

11

4. กระบวนการหรอื ข้ันตอนการดําเนินงาน
กระบวนการหรอื ข้ันตอนการดาเนินงาน ใช้กระบวนการ APICE และการนเิ ทศในรูปแบบ 5ร

รปู แบบการนเิ ทศเอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 5 ขัน้ ตอน
ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพและความตอ้ งการ
(Assessing Needs : A)
ข้นั ตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P)
ขัน้ ตอนท่ี 3 การให้ความรกู้ อ่ นการนเิ ทศ
(Informing : I)
ข้ันตอนท่ี 4 การนิเทศแบบโคช้
(Coaching : C)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนเิ ทศ
(Evaluating : E)

รปู แบบการบรหิ ารจัดการแบบมสี ่วนร่วม 5 ร
ร่วมศึกษา

นาทมี บรหิ ารและบคุ ลากร ศกึ ษาปัญหา/ความต้องการ
ร่วมวางแผน

วางแผน/ออกแบบ วธิ กี าร/สอื่ /นวัตกรรม/เคร่ืองมอื เพื่อนามาพัฒนา/แก้ปญั หาขององค์กร
ร่วมปฏบิ ตั ิ

นาทีมบรหิ ารและบุคลากร ปฏิบัติตามนโยบาย ผา่ นโครงการ/กิจกรรมของกลมุ่ ตา่ งๆ
ร่วมสรุป

วิเคราะห/์ สังเคราะห/์ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ร่วมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

แลกเปลย่ี น/ช่ืนชม/ยกยอ่ ง/เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานทด่ี ี

12

4.1 ศกึ ษาทบทวนทาความเขา้ ใจ “โรงเรียนเป็นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้” และนวัตกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง
4.2 วางแผนกาหนดปฏิทนิ การดาเนินงานและแผนการเบิกจ่ายงบประมาณร่วมกบั สพท.
4.3 แต่งตงั้ คณะกรรมการการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนท่ีเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
สมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหมร่ ะดบั โรงเรยี น
4.4 Model Teacher ออกแบบแผนการสอน 2 แผน พรอ้ มกาหนด วนั เวลา ทจี่ ะดาเนินการสอน
และนาเสนอแผนการสอนทอี่ อกแบบกับ Buddy Teacher เพ่อื ขอคาแนะนาและนาไปปรบั ปรุง
4.5 Model Teacher ทบทวนแผนการสอนและผลิตสอ่ื นวตั กรรม เพอื่ ใชใ้ นการสอน
4.6 โรงเรียนดาเนินการจัดสื่อวสั ดตุ ามความตอ้ งการของ Model Teacher
4.7 Model Teacher จัดการเรียนการสอนในแผนการสอนที่ออกแบบ โดยเปิดชั้นเรียนให้
Buddy Teacher ทีมหนุนเสริมของทีมโรงเรียน ทีมหนุนเสริมของ สพท. ร่วมสังเกตการณ์การสอน
และรว่ มสะท้อนผล
4.8 โรงเรียนจดั กจิ กรรมเปิดชั้นเรยี น ใหช้ มุ ชนเขา้ ร่วมสังเกตการณก์ ารสอนในชัน้ เรยี น
4.9 นาเสนอผลงานวิจัยในหัวขอ้ รูปแบบการสง่ เสริมโรงเรียน SLC เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมือง
รุน่ ใหมร่ ะดบั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 1

5. ผลการดาํ เนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั
5.1 ระบผุ ลสาํ เร็จของการดําเนนิ งานทีเ่ กิดจากกระบวนการหรือขัน้ ตอนการดําเนินงานทสี่ ่งผล

ตอ่ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
5.1.1 ผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและบรหิ ารจัดการโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการ

เรยี นรู้ มีรูปแบบการบริหารจดั การทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น
5.1.2 ครูผ้สู อนมคี วามรู้ ความเข้าใจ มีหน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ีมีกระบวนการ

เรียนรู้ 5 ข้ัน (5 steps) และครูผสู้ อนทุกทา่ นมแี ผนการจัดการเรียนรู้ท่เี มาะสมกับระดับชัน้ เรยี น มสี ื่อ
การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย ท่สี อดคล้องกบั มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัดของแต่ละวชิ า/แต่ละระดับชัน้

5.1.3 ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะตามศตวรรษที่ 21 และ
สมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่

5.1.4 ผเู้ รียนมที กั ษะตามศตวรรษท่ี 21 และสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่
5.2 ระบุประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการดาํ เนินงาน/นวัตกรรม

5.2.1 ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนร้แู ละมีความพงึ พอใจต่อโรงเรียน
5.2.2 โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรอู้ ยา่ งแท้จริงและเป็นแบบอย่างทด่ี แี ก่โรงเรยี นอื่นๆ

6. ปัจจัยความสาํ เร็จ
การขับเคล่ือนโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community :

SLC) อาศัยปัจจัยในการขับเคลื่อนสู่ความสาเร็จ กล่าวคือ ประการแรก การสนับสนุนของผู้บริหาร
สถานศึกษาเป็นผู้นาทางด้านวิชาการ มีรูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน
ให้การสนับสนุน และให้โอกาสครูได้ออกแบบทดลองการเรียนรู้ และในทุกข้ันตอนของการพัฒนา
บทเรียนร่วมกัน อาทิการสนับสนุนด้านงบประมาณในการดาเนินงาน การจัดสิ่งอานวยความสะดวก

13

การกาหนดนโยบายให้ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพเป็นวัฒนธรรมการทางานของโรงเรียน แต่งตั้ง
คณะทางานในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับโรงเรียนเพื่อติดตามการดาเนินงานชุมชนการ
เรียนรู้วิชาชีพ ตลอดจนการร่วมสังเกตการเรียนรู้ตามสภาพจริงอย่างเข้าใจ และให้กาลังใจอย่าง
กัลยาณมิตร ประการต่อตาม Teamwork ครูทางานร่วมกันภายตามแนวคิด PLC (Professional
Learning Community : PLC) โดยการพัฒนาครูผ่านกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson
Study) ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ภายใต้การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
สมรรถนะพลเมอื งรุ่มใหม(่ School as Learning Community : SLC) ยึดหลักการเป็นประชาธิปไตย
ในการทางานรว่ มกัน เกิดเป็นกระบวนการเน้นการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน Analyze มีการจับคู่ครูคู่
บัดดี้ในการจัดการเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทา ภายใต้กระบวนการ Plan Do See มีการ Reflect และ
Redesign จัดทาแผนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม สอดคล้องตามมาตรฐาน รายวิชา และ
ผู้เรียน ประการท่ีสาคัญอีกหนึ่งประการ คือการวางแผนและเตรียมความพร้อมด้านปัจจัยพ้ืนฐาน
ตา่ งๆ ยึดหลัก สะดวก สมาร์ท สร้างสรรค์ เสริมสุข และสาเร็จไปพร้อมกัน มีสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
การปฏิบตั ิการจรงิ ด้วยความเต็มใจ เต็มท่ี เต็มศักยภาพ มงุ่ หวงั ประโยชนต์ ่อผเู้ รียนเป็นสาคัญ รวมไป
ถงึ ชุมชน ผู้ปกครองที่พร้อมเปิดใจ ยอมรับและเปดิ โอกาสให้ครูได้จดั การเรียนรู้แบบใหม่ อย่างเขา้ ใจ
และให้ความร่วมมือในหลายกิจกรรมท่ีได้ขอความร่วมมือเป็นสัญญาลักษณ์แสดงการเป็นชุมชนแห่ง
การเรียนรูอ้ ย่างแทจ้ ริง ประการสุดท้าย การสนับสนนุ ของสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา
ลาปาง เขต 1 ท่ีเป็นที่ปรึกษา ให้คาช้ีแนะทั้งในเร่ืองการตรวจสอบความถูกต้องของแผนการจัดการ
เรียนรู้ การใช้ส่ือ การเรียนรู้ และการเข้าร่วมสังเกตการณ์เรียนรู้ในห้องเรียนติดตามเอาใจใส่อย่าง
ต่อเน่ืองและเมตตา ดังท่ีกล่าวมานี้เป็นปัจจัยส่งผลต่อการส่งเสริมการขับเคลื่อนโรงเรียนเป็นชุมชน
แหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) โรงเรยี นบ้านโป่งขวาก ส่งผลต่อผู้เรยี นที่
ความกล้า กล้าทา กล้าที่จะเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ เป็นคนเก่ง คนดี ด้วยปัจจัยแห่งการร่วมแรง
รว่ มใจที่มุ่งม่ันและเขา้ ใจในครั้งนี้ จะสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเขม้ แข็ง มีความสุข ดังคากล่าวของ
ทา่ นผู้อานวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านโป่งขวาก “SLC โอกาสดีของพวกเรา”

7. บทเรยี นที่ได้รับ (Lesson Learned)
การบริหารจัดการท่ีเป็นระบบ ส่งผลให้การทางานประผลผลสาเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหาร

สถานศึกษาเป็นผู้นาทางด้านวิชาการ มีการจัดการบริหารที่เป็นระบบ ร่วมไปถึงมีการสนับสนุน
สง่ เสรมิ การพัฒนาครู ในการขับเคลอ่ื นโครงการโดยเปิดใจ เปิดโอกาส ในการเสนอ ปรบั เปลี่ยน ด้วย
หลกั ประชาธิปไตย ครมู ีการพัฒนาตนเอง มคี วามพรอ้ มในการจัดเตรยี มแผนการจดั การเรยี นรู้ สื่อการ
เรียนรู้ ท่ีมีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียน ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ เกิดการนิเทศร่วมกัน
ของผู้บริหาร ครู ไม่ใช่การจับผิดแต่เป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยหลัก Professional Learning
Community (PLC) ร่วมกันแก้ไขปัญหา ปรับเปลี่ยน และจัดทาสารสนเทศที่สามรถนาไปใช้ได้
รว่ มกนั เป็นข้อมูลที่สาคญั ในการนาไปส่กู ารพัฒนา ส่งผลให้ผูเ้ รียนมีความเปล่ียนแปลงจากสภาพการ
เรียนรู้เดิมคือ ห้องเรียนแบบ PASSIVE CLASSROOM เป็น ห้องเรียนแบบ ACTIVE CLASSROOM
นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ กล้าคิด กล้าแสดงออก เป็นนักสังเกต และแก้ไขปัญหาที่
เกิดขน้ึ ได้ อย่างเป็นระบบตามทักษะการเรยี นร้ตู ามศตวรรษท่ี 21

14

การเปิดใจยอมรับ เพ่ือก้าวสู้การพัฒนาโดยมองความหลากหลาย คือความท้าทายท่ีครูต้อง
ออกแบบการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และเพื่อครูกัลยาณมิตรที่ดีผูกด้วยไมตรีจิตแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
โดยยดึ แนวคิด ทุกคนเปน็ ครู เราเรียนรู้จากความผิดพลาด เพื่อเป็นบทเรียนท่ีสร้างโอกาสสกู่ ารพฒั นา
ร่วมกัน

การทางานร่วมกันเป็นทีม (teamwork) ร่วมมือร่วมใจกันในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับ
นักเรียน โดยเริ่มต้นจากการร่วมกันสะท้อนปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียนของตน จากนั้นจะร่วมกัน
วางแผน ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ คดิ หาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพอื่ นาไปจัดการเรยี นรู้
แกป้ ญั หาที่เกิดขึ้นกับนกั เรียน ร่วมกันผลติ สอื่ และเครือ่ งมือวัดและประเมินผลผ้เู รียน รว่ มกนั สะท้อน
ความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะที่เปน็ ประโยชนจ์ ากการสังเกตพฤติกรรมนกั เรียน เพื่อนาไปพัฒนา
ปรบั ปรงุ ให้ดีย่งิ ขึน้

ความรับผดิ ชอบรว่ มกนั (Responsibility) ครมู คี วามรับผิดชอบต่อภาระงานในการแก้ปัญหา
ท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียนร่วมกัน ใช้เวลาหลังเลิกเรียนและในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ในการเตรียมแผนการ
จัดการเรียนรู้การผลิตสื่อ การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ตลอดจนฝึก
ซักซ้อมการจัดการเรยี นรกู้ ่อนนาไปใช้สอนจริงเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดไม่ใช่การเตรียมการ
เพือ่ รับการนิเทศ แตเ่ ป็นความรว่ มเม่อื เพ่อื พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างมคี วามสขุ

การให้ความร่วมมือของชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และองค์การส่วน
ท้องถิ่น เป็นการสนับสนุนที่สาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การยอมรับการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ
เรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ทาให้ครูผู้สอนกล้าท่ีจะจัดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
นอกจากน้ียังได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการให้ความสนใจในการเรียนของผู้เรียน เป็นเหตุ
สาคญั สู่การเปล่ียนแปลงการเรยี นรู้ที่สง่ ผลในการพัฒนาท่ดี ีย่งิ ขน้ึ

ศึกษานิเทศก์ เป็นแรงสนับสนุนที่สาคัญในการช่วยดาเนินการตามกระบวนการ SLC ต้ังแต่
เร่มิ ตลอดจนการวางแผน การตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้ ทาให้การขับเคล่อื นโครงการในครัง้ น้ีสามารถ
ดาเนินไปไดอ้ ย่างต่อเนื่องแม้มีอปุ สรรคปัญหาต่าง ๆ เกิดข้ึน ทั้งรูปแบบลงพ้ืนที่จริง และออนไลน์ ไม่
มองว่าเป็นอุปสรรค รวมไปถึงการให้กาลังใจระหว่างศึกษานิเทศก์ และคุณครูเพื่อการขับเคล่ือนท่ี
เข้มแข็งในยามท่ีอ่อนล้าและท้อแท้ จนทาใหเ้ ป็นพลงั เสริมใหส้ ตู้ อ่ ไปจนสาเร็จได้

15

8. การเผยแพร่ (ระบขุ ้อมลู ที่ทาํ ใหเ้ หน็ ว่ารอ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพรผ่ ลการดาํ เนินงานตาม
โครงการ/นวตั กรรม แนบภาพประกอบ)

16

17

18

https://www.facebook.com/BanPongkhwagSchool/videos/1062210627854072/

19

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามโครงการโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่

โรงเรียนนํารอ่ งรนุ่ ที่ 1 ประจําปีงบประมาน 2564
โรงเรียน บา้ นอ้อน อาํ เภอ งาว กลมุ่ เครือข่าย ขนุ งาว

สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1
********************************************************

1. โครงการ/กจิ กรรม โครงการ SLC
2. ความสาํ คญั ของผลงานหรอื นวตั กรรมท่นี ําเสนอ

ตามที่โรงเรยี นบ้านออ้ น ได้รบั การคัดเลือกจาก สพฐ. ให้เป็นแกนนาโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่ง
การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ SLC หรือ
โรงเรียนใน ฐานะชมุ ชนแห่งการเรียนรู้นัน้ ซง่ึ เปน็ แนวคิดทางการศกึ ษาของประเทศญ่ปี ุน่ มากว่า 20 ปี
ที่ส่งผลใหเ้ กิดการปฏิรูปโรงเรียนในประเทศญ่ีปุ่นต้ังแต่ระดับฐานราก ก่อนทจ่ี ะได้รับความสนใจและ
ขยายเครือข่ายออกไปใน ประเทศอ่ืนทางภาคพื้นเอเชียตะวนั ออกและตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนถึง
นอกทวีปอยา่ งประเทศเม็กซิโก จน ในทส่ี ดุ ได้เกิดเปน็ เครือขา่ ยในระดับนานาชาติ ภายใตช้ ือ่ วา่ “The
International Network for School as Learning Community” ให้เป็นโรงเรียนของศตวรรษท่ี
21 ท่ีมุ่งท้ังคุณภาพและความเท่าเทียมกันของ การศึกษาเกิดข้ึนได้ด้วยกระบวน School as
Learning Community สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน บ้านอ้อน ตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาระยะ 4 ปี พ.ศ. 2563 - 2566 ได้ระบุว่า “ภายในปี 2566 โรงเรียนบ้านอ้อน เป็นโรงเรียน
ในฐานะชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่น
ใหม่ มีคณุ ภาพในการจัดการศกึ ษา ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 พัฒนาศกั ยภาพ
ครูสู่มืออาชีพ ชุมชนมีส่วนร่วม น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และจาก รายงานการ
ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ. 2559 - 2563) ระดับการศึกษาปฐมวยั และระดับการศึกษา ข้ัน
พ้ืนฐาน มีข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้น
เด็กเป็น สาคญั และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ

โรงเรียนบ้านอ้อน เห็นความสาคัญของการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ให้ก้าวทนั ต่อเหตุการณ์และการเปลย่ี นแปลงที่เกย่ี วข้องกับวิทยาการใหมๆ่ เพอ่ื เป็น
การส่งเสริมและ พัฒนาครูให้มีศักยภาพ ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
จึงได้ขับเคล่ือนโรงเรียน บ้านอ้อน ให้เป็นโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียน รู้ (School as
Learning Community: SLC) เพ่ือ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ปีงบประมาณ 2564 ทาง
โรงเรยี นจึงไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทาง ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นตอ่ ไป

20

3. วัตถุประสงค์และเปา้ หมาย ของการดําเนินงาน
3.1 วตั ถุประสงค์
3.1.1 เพอ่ื จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ น

ชีวติ ได้

3.1.2 เพือ่ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้

3.1.3 เพ่ือตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน

3.1.4 เพ่อื แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การ
เรยี นรู้

3.2 เปา้ หมายการดาํ เนินงาน
3.2.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
3.2.1.1 ครูโรงเรยี นบา้ นอ้อน จานวน 12 คน เขา้ รว่ มโครงการ โรงเรยี นชมุ ชนแหง่ การ

เรยี นรูเ้ พื่อพัฒนา สมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่

3.2.1.2 ครูโรงเรยี นบ้านอ้อน จานวน 12 คน เขา้ รว่ มกจิ กรรมครคู ู่พัฒนา Buddy
Teacher

3.2.2 เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
3.2.2.1 ครูโรงเรยี นบา้ นออ้ นรอ้ ยละ 80 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิ

จรงิ และสามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิตไดร้ ะดับคณุ ภาพดีข้ึนไป

3.2.2.2 ครโู รงเรียนบา้ นอ้อนร้อยละ 80 ใช้สอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้
ทเี่ อ้อื ตอ่ การ เรียนรไู้ ด้ระดับคณุ ภาพดขี ึน้ ไป

3.2.2.3 ครูโรงเรียนบ้านอ้อน ร้อยละ 80 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อน
กลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ได้ระดับคณุ ภาพดขี น้ึ ไป

3.2.2.4 นกั เรียนโรงเรยี นบ้านอ้อนร้อยละ 100 เกดิ การเรยี นรตู้ ามศตวรรษที

21

4. กระบวนการหรอื ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน
ใชก้ ระบวนการ 5 ร คือ ร่วมศึกษา ร่วมวางแผน รว่ มปฏบิ ตั ิ ร่วมสรปุ ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้
รว่ มศึกษา

ผ้บู ริหารและคณะครูศกึ ษาเกีย่ วกบั การบริหารจดั การการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ น้นผ้เู รียน
เป็นสาคัญให้ก้าวทันต่อเหตกุ ารณ์และการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสรมิ และพัฒนาครูใหม้ ี
ศักยภาพสง่ ผลต่อคณุ ภาพของผ้เู รยี น

ร่วมวางแผน
โรงเรียนบา้ นอ้อนมีครู Model Teacher จานวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 มกี ารจัดทา

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสมกับนักเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบรว่ มมือรวมพลงั เพือ่
พัฒนาบทเรยี นร่วมกนั

รว่ มปฏิบตั ิ
ลงมือปฏบิ ัตกิ ารเรยี นการสอนตามทอ่ี อกแบบไว้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และ

สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้

ร่วมสรปุ
นาข้อมูลที่ได้จากการจัดการเรียนการสอนและการสงั เกตจากคู่ Buddy Teacher มาสะท้อนคิด

หลงั สอนกนั พอเราได้พบปัญหาหรอื ไดร้ ับข้อเสนอกน็ าไปปรบั แผนการสอนเราให้ดยี ่ิงขึ้น

ร่วมแลกเปลยี่ นเรียนรู้
นาเสนอ จัดแสดง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงาน/ช้ินงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานที่ ตาม

วาระและโอกาสในระดับสถานศึกษา ได้แก่ นาเสนอสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอด
ท้ังปีการศึกษา กิจกรรม Open Class ที่เปิดโอกาสให้ครูคนอื่น บุคลากรอ่ืนในโรงเรียน และต่าง
โรงเรียน รวมท้ังบุคคลภายนอก ได้มีโอกาสเข้าเย่ียมชั้นเรียนและสังเกตการชั้นเรียนเพ่ือการเรียนรู้
รว่ มกัน

5. ผลการดาํ เนนิ การ/ผลสมั ฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ี่ได้รบั
5.1 ระบุผลสําเร็จของการดาํ เนินงานทเ่ี กดิ จากกระบวนการหรือขั้นตอนการดําเนนิ งานทส่ี ่งผล

ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
5.1.1 ผ้บู รหิ ารโรงเรียนมรี ปู แบบการจดั การทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน
5.1.2 โรงเรยี นมีขอ้ มูลมีสารสนเทศท่ีบง่ บอกจุดเดน่ จุดด้อย ในการพัฒนาการเรียนของผูเ้ รยี น
5.1.3 ครูผู้สอนมีแผนการจดั การเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั ชน้ั เรียนมสี อ่ื การเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย

เหมาะสม สอดคล้องกบั มาตรฐาน ตัวชี้วัดแต่ละรายวิชา และชนั้ เรยี น
5.1.4 ครมู ีความม่นั ใจในตนเอง กล้าคดิ กลา้ แสดงออก มสี ื่อการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย

สอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ตามมาตรฐานตัวช้ีวดั และผลการเรียนรแู้ ต่ละรายวิชา

22

5.1.5 นักเรยี น กล้าคิด กล้าลงมือทา มีปฎิสัมพนั ธท์ ่ีดีกบั เพ่อื นในหอ้ ง และในการทา
กจิ กรรมกลุ่มนั้น ทกุ คนกจ็ ะมสี ่วนรว่ มในการดาเนนิ กจิ กรรมทุกคน มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ในการสรา้ ง
ผลงานของตนเองท่เี กิดจากการเรียนรู้ตามในศตวรรษท่ี 21

5.2 ระบุประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการดําเนนิ งาน/นวัตกรรม
5.2.1 ผบู้ ริหารโรงเรยี นมีกระบวนการบรหิ ารจดั การทด่ี ี มกี ารนิเทศตดิ ตามการสอนครอู ย่าง

สมา่ เสมอ
5.2.2 ครมู ีการแลกเปล่ยี นเรยี นร้เู ก่ยี วกบั แผน และการจดั กจิ กรรมการเรียนรูร้ ะหว่างกัน กล้า

ชี้แนะ บอกกล่าวและรับฟังกันมากขึ้น มีการนาประสบการณ์ของตนเองมาเล่าให้เพื่อนครู ผู้บริหาร
ศึกษานิเทศก์ฟัง ทาให้สัมพันธภาพระหว่างผู้บริหารโรงเรียน เพื่อนครู ศึกษานิเทศก์ ในด้านวิชาการ
และด้านอืน่ ๆ มีมากขนึ้

5.2.3 ครูได้เห็นภาพการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน
(5 STEPs) ให้กับผู้เรียนชดั เจนย่ิงข้ึน นอกจากนี้ครมู ีเจตคติท่ีดีต่อการทางานในวิชาชีพครู ให้เวลาใน
การวางแผนการสอน เตรยี มสอ่ื และร่วมเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาปรบั ปรงุ การเรียนการสอนมากข้ึน

5.2.4 ครโู รงเรียนบา้ นอ้อน พฒั นาส่ือในการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
5.2.5 นักเรียนเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ มีความกระตือรือรน้ สนในในการเรยี น มีความกลา้
แสดงออก มคี วามคิดสร้างสรรคใ์ นการสรา้ งผลงานของตนเอง
5.2.6 สถานศึกษามีวัฒนธรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้บริหารและศึกษานิเทศก์
เกี่ยวกับการ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นตอน เพ่ือร่วมกันเพิ่มคุณภาพการเรยี นรู้ ให้กับ
นักเรียนมากยง่ิ ข้นึ
5.2.7 ชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรยี น

6. ปัจจัยความสาํ เรจ็
6.1 สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาไดม้ กี ารนิเทศตดิ ตาม ให้ความรู้มีการจดั สรรงบประมาณใน

การจัดทาสื่อนวตั กรรมการเรียนรู้
6.2 ผู้บรหิ ารมีการนิเทศตดิ ตาม สร้างขวัญกาลังใจให้กับคณะครู
6.3 มกี ารทางานเป็นทมี มีการดแู ลช่วยเหลอื ซงึ่ กนั แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ่วมกนั
6.4 การทางานอย่ใู นรปู แบบประชาธิปไตยมีความเป็นผู้นา ผู้ตามยอมรบั ความรู้

ความสามารถ ความคดิ เห็นของกนั ละกนั ในการสะท้อนการเรยี นรแู้ ละการทางาน
6.5 ครูผ้สู อนเกดิ ความตระหนักเหน็ ความสาคัญของการทางานเปน็ ทมี มีความคิดสร้างสรรค์

มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทางาน และยอมรบั ความสามารถของเพื่อนร่วมงาน
6.6 ผู้ปกครองเปิดใจยอมรับการเปลยี่ นแปลงในรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนตาม

แนวทางในรปู แบบการปฏริ ูปการเรียนการสอน
6.7 นักเรยี นมคี วามรบั ผิดชอบ เกดิ ความกระตอื รือร้นมคี วามรับผิดชอบในการทางานมีการ

ชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกันในกลุ่ม

23

7. บทเรยี นทไี่ ดร้ ับ (Lesson Learned)
7.1 การขบั เคล่อื นโรงเรียนชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ SLC ทาให้มีทกั ษะมเี ทคนิควิธีการเรียนรู้

ใหม่ๆ มกี ารจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกับผู้เรียน
7.2 มีการสร้างวิสัยทัศนใ์ หม่รว่ มกันของทกุ คนในโรงเรียน สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการเรยี นรู้

เปล่ยี นโรงเรียนที่เดมิ ครูคอื ผู้สอน นกั เรียนคือผเู้ รยี น ให้ทุกคนสามารถเรยี นรู้จากกันและกนั ได้
ตลอดเวลา

24

8. การเผยแพร่ (ระบขุ อ้ มูลทท่ี าํ ให้เหน็ วา่ ร่องรอยหลกั ฐานการเผยแพร่ผลการดําเนินงานตาม
โครงการ/นวัตกรรม แนบภาพประกอบ 5 ภาพ)

รว่ มศึกษา ผู้บรหิ ารและคณะครูศึกษาเกยี่ วกับการบรหิ ารจดั การการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่เี น้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญใหก้ ้าวทนั ต่อเหตกุ ารณ์และการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ และ

พฒั นาครูให้มีศักยภาพส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน

25

รว่ มวางแผน โรงเรียนบ้านอ้อนมคี รู Model Teacher จานวน 12 ท่าน คิดเป็นรอ้ ยละ 80
มกี ารจัดทาแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกับนักเรยี น โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบร่วมมือ

รวมพลัง เพือ่ พฒั นาบทเรียนร่วมกัน

26

รว่ มปฏิบัติ ลงมือปฏบิ ัติการเรียนการสอนตามท่ีออกแบบไว้ ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้

27

รว่ มสรุป นาขอ้ มูลที่ได้จากการจัดการเรยี นการสอนและการสังเกตจากคู่ Buddy Teacher มา
สะท้อนคิดหลังสอนกัน พอเราได้พบปญั หาหรือไดร้ ับข้อเสนอก็นาไปปรับแผนการสอนเราให้ดีย่งิ ขน้ึ

28

รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้ นาเสนอ จัดแสดง แลกเปลยี่ นเรียนรู้ผลงานผลการปฏบิ ตั งิ านที่ ตามวาระ
และโอกาสในระดับสถานศกึ ษา ได้แก่ นาเสนอสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดทง้ั
ปกี ารศกึ ษา กจิ กรรม Open Class ท่เี ปดิ โอกาสให้ครูคนอ่ืน บคุ ลากรอื่นในโรงเรยี น และตา่ ง

โรงเรียน รวมท้งั บคุ คลภายนอก ได้มโี อกาสเข้าเย่ียมชัน้ เรียนและสังเกตการชัน้ เรียน

29

มีการเผยแพรข่ ้อมลู ผลการปฏิบตั ิงานตามโครงการโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้
(School as Learning Community : SLC) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่

ทางกลุ่มไลน์ต่างๆ เพ่ือใหบ้ ุคคลภายนอกได้รับชม

30

มีการเผยแพรข่ ้อมลู ผลการปฏิบตั ิงานตามโครงการโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้
(School as Learning Community : SLC) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่

ทางกลุ่มไลน์ต่างๆ เพ่ือใหบ้ ุคคลภายนอกได้รับชม

31

ภาคผนวก

- ภาพประกอบกิจกรรม

32

ภาพคณะทาํ งาน Area Team
และโรงเรียนนํารอ่ งร่นุ ที่ 1 โรงเรียนบา้ นโป่งขวากและโรงเรยี นบ้านออ้ น

สํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

33

ภาพการเผยแพร่ข่าวประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้
โครงการการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ โรงเรียนนาํ ร่องรุ่นที่ 1 ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

34

ภาพการเผยแพร่ข่าวประชาสัมพนั ธก์ ารจดั กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โครงการการสง่ เสริมโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรยี นนาํ ร่องรนุ่ ท่ี 1 ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรียนบา้ นอ้อน วนั ท่ี 25 กันยายน พ.ศ. 2564

ณ ห้องประชุมครุ ุมนตรี สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

35

ภาพการเผยแพรข่ ่าวประชาสัมพนั ธก์ ารจัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
โครงการการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ โรงเรียนนาํ รอ่ งรนุ่ ที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรียนบา้ นโปง่ ขวาก วนั ท่ี 25 กันยายน พ.ศ. 2564

ณ หอ้ งประชมุ คุรุมนตรี สาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

36

ภาพการเผยแพรข่ ่าวประชาสมั พนั ธ์การจดั กจิ กรรม Open Class
โครงการการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ โรงเรยี นนาํ รอ่ งร่นุ ที่ 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบา้ นโปง่ ขวาก วันที่ 23 กนั ยายน พ.ศ. 2564

ณ โรงเรยี นบา้ นโป่งขวาก สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

37

ภาพการเผยแพรข่ ่าวประชาสมั พันธ์การจดั กิจกรรม Open Class
โครงการการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรยี นนาํ ร่องรุ่นท่ี 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบา้ นอ้อน วนั ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2564

ณ โรงเรียนบา้ นอ้อน สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

38

ภาพการเผยแพร่ขา่ วประชาสัมพนั ธ์การจัดกจิ กรรม Do See
โครงการการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ โรงเรียนนาํ รอ่ งรุ่นที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบ้านอ้อน วนั ที่ 10 กนั ยายน พ.ศ. 2564

ณ โรงเรยี นบ้านออ้ น สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

39

ภาพการเผยแพร่ข่าวประชาสมั พนั ธ์การจัดกิจกรรม Do See
โครงการการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนาํ ร่องรุน่ ที่ 1 ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โรงเรียนบ้านโปง่ ขวาก วันท่ี 7 กนั ยายน พ.ศ. 2564

ณ โรงเรียนบา้ นโปง่ ขวาก สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต 1

40

ภาพการเผยแพร่ขา่ วประชาสมั พันธ์
โครงการการส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรียนนาํ ร่องรุน่ ที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ในรปู แบบผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์

Line Group : slcobec.net Line Group : SLC Lpg1

41

ภาพการเผยแพรข่ า่ วประชาสมั พนั ธ์
โครงการการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ โรงเรียนนาํ ร่องรุน่ ท่ี 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ในรปู แบบผา่ นส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์

Line Group : เครือข่ายเมอื งยาว Line Group : School Management

42

ภาพการประชมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม การขับเคลอื่ นโครงการ
โครงการการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ โรงเรียนนาํ ร่องรนุ่ ท่ี 1 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในรูปแบบผ่านสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สข์ องศกึ ษานิเทศก์ Area Team
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

คณะศกึ ษานิเทศก์ Area Team รว่ มประชุมขบั เคล่ือนการดําเนนิ งาน โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC)
ร่วมกบั กล่มุ วจิ ยั และส่งเสริมการวจิ ัยทางการศกึ ษา สํานกั พฒั นานวัตกรรมการจดั การศึกษา
ผ่านส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบ Google Meet
วันที่ 8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ณ หอ้ งประชมุ มณีโชติรส
สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

43

ภาพการนิเทศ ตดิ ตาม การจัดกิจกรรม
โครงการการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ โรงเรยี นนาํ รอ่ งรุน่ ท่ี 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ในรูปแบบผ่านส่อื อิเล็กทรอนกิ สข์ องศึกษานิเทศก์ Area Team
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

คณะศึกษานเิ ทศก์ Area Team รว่ มประชุม
นเิ ทศ ติดตาม การดาํ เนนิ งาน โรงเรียนเป็นชุมชน

แห่งการเรียนรู้ (SLC) ร่วมกบั โรงเรียนนาํ ร่อง
โครงการรนุ่ ที่ 1 โรงเรยี นบ้านโปง่ ขวากและ
โรงเรยี นบา้ นอ้อน ผ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบ

Google Meet
วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ณ ห้องประชมุ มณีโชตริ ส

สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

44

ภาพการนเิ ทศ ตดิ ตาม สะทอ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ โดยคณะศึกษานิเทศก์ Area Team
โครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ โรงเรยี นนาํ ร่องรุ่นที่ 1 ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

45

ภาพการนิเทศ ตดิ ตาม การดาํ เนนิ งาน
โครงการการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โรงเรยี นนาํ รอ่ งรนุ่ ที่ 1 ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

46

คณะทํางาน (Area Team)

สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

1. ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ผอู้ านวยการกลุ่มนิเทศตดิ ตาม และประเมินผลฯ ประธานกรรมการ
2. นายนพดล ถาวร
3. นายชัยวุฒิ นามะกุณา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ

4. นายสวัสด์ิ ละคาปา ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ
5. นางสาวอญั ชลี โทกุล
ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ
6. นางสาววมิ ล ปวนปนั วงค์
7. นางพรนิภา ยศบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ
8. นางศรจี ันทร์ ทรายใจ
ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ
9. นางอัมรินทร์ บญุ เอนก
10. นางกนิษฐา สวยสด ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ

ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ

ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและเลขานกุ าร

ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ


Click to View FlipBook Version