The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2022-07-09 04:22:42

คู่มือการดำเนินการฯ ตาม ว10.2564 ตำแหน่ง ผบ. สถานศึกษา

คู่มอื
การดาเนนิ การตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมินตาแหน่ง
และวทิ ยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ตาแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา

ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564

สานักงาน ก.ค.ศ.
กระทรวงศึกษาธิการ

คานา

ก.ค.ศ. ได้มีมติกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 10
ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 เพื่อให้มีแนวทางในการประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว สานักงาน
ก.ค.ศ. จึงได้จัดทาคู่มือการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดยประกอบด้วย 4 ตอน ตอนที่ 1 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา โดยจาแนกออกเป็นหลักเกณฑ์และวิธีการ
ให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา มีวิทยฐานะรองผู้อานวยการ
ชานาญการและเลอ่ื นเป็นวิทยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา เล่ือนเป็นวิทยฐานะรองผู้อานวยการเชี่ยวชาญ
หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา มีวิทยฐานะ
ผู้อานวยการชานาญการและเล่ือนเป็นวิทยฐานะผู้อานวยการชานาญการพิเศษ หลักเกณฑ์และวิธีการให้
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา เลื่อนเป็นวิทยฐานะผู้อานวยการ
เช่ียวชาญและวิทยฐานะผู้อานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ รูปแบบไฟล์วีดิทัศน์ฯ และภาระงานของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ตอนท่ี 2 การจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
คาช้ีแจงการจัดทาข้อตกลง แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน ตอนที่ 3 การประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง
คาช้ีแจงการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง แบบประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง แบบสรุป
ผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง และคาช้ีแจงการดาเนินการประเมินเพื่อขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการฯ ว 10/2564 ในชว่ งระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน ตอนที่ 4 การประเมินเพ่ือขอมีวิทยฐานะ
และเล่ือนวิทยฐานะ คาช้ีแจงการประเมินเพ่ือขอมีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะ ด้านที่ 1 ด้านทักษะการวางแผน
พัฒนาสถานศึกษา กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือหรือนวัตกรรมทางการบริหาร ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์ในการพัฒนา
การบริหารสถานศึกษา และด้านท่ี 3 ด้านผลงานทางวิชาการ รวมท้ัง แบบคาขอ แบบประเมิน และแบบสรุป
ผลการประเมินฯ ท้ัง 3 ดา้ น

สานกั งาน ก.ค.ศ. หวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ คมู่ ือการประเมนิ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนก์ บั ผูท้ ี่เกย่ี วข้อง สามารถ
ใช้ในการประเมนิ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เป็นมาตรฐานเดยี วกนั

สานักงาน ก.ค.ศ.
กนั ยายน 2564

สารบญั

สารบัญ

หน้า

คานา 2
สารบญั 3
คาชแี้ จง 1
ตอนท่ี 1 หลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ตาแหน่งและวทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 11
ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา รูปแบบการจัดทาไฟล์วีดิทศั น์ และภาระงานตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
17
หลักเกณฑ์และวธิ ีการให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผ้บู ริหารสถานศึกษา
มีวิทยฐานะรองผ้อู านวยการชานาญการและเล่ือนเป็นวิทยฐานะรองผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ 22

หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารใหข้ ้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา 28
เลอ่ื นเปน็ วิทยฐานะรองผอู้ านวยการเชย่ี วชาญ
33
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารใหข้ า้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา
มวี ิทยฐานะผอู้ านวยการชานาญการและเลื่อนเป็นวิทยฐานะผอู้ านวยการชานาญการพเิ ศษ 43

หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารใหข้ ้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา 45
เลือ่ นเปน็ วิทยฐานะผอู้ านวยการเชี่ยวชาญและวทิ ยฐานะผอู้ านวยการเชีย่ วชาญพิเศษ 47
48
รปู แบบไฟล์วดี ที ัศนต์ ามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะ 49
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา 50
56
ภาระงานของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 62
ตอนท่ี 2 การจดั ทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) 68
74
คาชแี้ จงการจดั ทาขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน

- PA 1/บส ตาแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา
- PA 1/บส ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการ
- PA 1/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ
- PA 1/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา วทิ ยฐานะเชีย่ วชาญ
- PA 1/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะเช่ียวชาญพิเศษ

สารบัญ (ต่อ)

หนา้

ตอนที่ 3 การประเมนิ ผลการพฒั นางานตามข้อตกลง (PA) 80

คาช้แี จงการประเมนิ 81

แบบประเมินผลการพฒั นางานตามขอ้ ตกลง 85

- PA 2/บส ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 86

- PA 2/บส ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการ 93

- PA 2/บส ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ 100

- PA 2/บส ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะเช่ยี วชาญ 107

- PA 2/บส ตาแหนง่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา วิทยฐานะเชีย่ วชาญพเิ ศษ 114

แบบสรปุ ผลการประเมนิ การพฒั นางานตามขอ้ ตกลง (PA) 121

- PA 3/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา 122

คาชแ้ี จงการดาเนนิ การประเมินเพื่อขอมีวทิ ยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ 123

ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารฯ ว 10/2564 ในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน 127
ตอนท่ี 4 การประเมินเพื่อขอมวี ิทยฐานะหรอื เลื่อนวทิ ยฐานะ

4.1 การประเมนิ ด้านที่ 1 ดา้ นทักษะการวางแผนพฒั นาสถานศกึ ษา กลยุทธ์ การใชเ้ ครื่องมือ 126
หรอื นวัตกรรมทางการบริหาร และด้านที่ 2 ด้านผลลัพธใ์ นการพัฒนาการบรหิ ารสถานศกึ ษา

คาชีแ้ จงการประเมนิ 128

แบบคาขอมวี ทิ ยฐานะหรอื เลอ่ื นวิทยฐานะ 131

แบบประเมนิ ดา้ นท่ี 1 และดา้ นท่ี 2 ตาแหนง่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการ 138
การศึกษาขั้นพื้นฐาน

- PA 4/บส ตาแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการ 140

- PA 4/บส ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ 146

- PA 4/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะเชี่ยวชาญ 152

- PA 4/บส ตาแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ 158

สารบญั (ต่อ)

หน้า

แบบประเมนิ ดา้ นที่ 1 และดา้ นที่ 2 ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการ 163
การอาชีวศึกษา

- PA 4/บส ตาแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการ 165

- PA 4/บส ตาแหนง่ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ 171

- PA 4/บส ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะเช่ียวชาญ 177

- PA 4/บส ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะเช่ียวชาญพิเศษ 183

แบบประเมนิ ด้านท่ี 1 และด้านท่ี 2 ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสานกั งาน กศน. 189

- PA 4/บส ตาแหน่งผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการ 190

- PA 4/บส ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ 196

- PA 4/บส ตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะเช่ียวชาญ 202

- PA 4/บส ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะเช่ียวชาญพเิ ศษ 208

4.2 การประเมินดา้ นท่ี 3 ด้านผลงานทางวิชาการ 214

คาชแ้ี จงการประเมิน 215

แบบประเมนิ ดา้ นที่ 3 ด้านผลงานทางวชิ าการ สาหรับวทิ ยฐานะเชย่ี วชาญ/เชยี่ วชาญพเิ ศษ 217

- PA 5/บส/ชช 218

- PA 5/บส/ชชพ 220

คาชแี้ จง

คาชีแ้ จง

การกาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ตาแหน่งและวทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา ตามหนังสอื สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564
มหี ลักการ เหตุผล เจตนารมณ์ และกรอบแนวคิดทสี่ าคัญ ดังน้ี

1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้ความสาคัญ
กบั การเปลีย่ นโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน” เป็น “โค้ช” หรือ “ผู้อานวยการเรียนรู้”
ทาหน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีการจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรม
และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพ่ือผลสัมฤทธ์ิ
ของผูเ้ รยี น รวมทั้งปรับระบบการผลติ และพัฒนาครตู ้งั แต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ
มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่อง และสาหรับยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุล
และการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ มุ่งเน้นการปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐให้มีความทันสมัย นาระบบ
เทคโนโลยดี จิ ิทัลมาประยกุ ต์ใช้ และมีการบูรณาการทางานรว่ มกัน

2. แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2561 - 2565) ได้มุ่งเน้นกิจกรรม
ปฏิรูปท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน ประชาชน
อย่างมีนัยสาคัญ (Big Rocks) 5 กิจกรรม โดยมีกิจกรรมปฏิรูปที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพครู ใน 2 กิจกรรมสาคัญ
คือ กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนอง
การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งได้ให้ความสาคัญกับการให้ครู/อาจารย์มีสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้
และมีความศรัทธาในวิชาชีพและความเป็นครู และกิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต
และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน ซ่ึงให้ความสาคัญกับการให้ครูได้พัฒนาความรู้
และทักษะให้เกิดสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าท่ี ตลอดจนพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเน่ือง
โดยมีการปรบั ปรุงระบบ กลไกสง่ เสริมสนบั สนุนใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะการปรับปรุงระบบการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะวิชาชีพและการเล่ือนวิทยฐานะ
รวมทง้ั การปรบั ปรงุ คา่ ตอบแทนที่เหมาะสม

3. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพ
ของระบบบริหารการจัดการศึกษา ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา โดยพฒั นาระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะสาหรับตาแหน่งท่ีมีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพเป็นระยะ ๆ เพื่อดารงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเช่ียวชาญในตาแหน่ง
และวิทยฐานะท่ไี ดร้ บั การบรรจแุ ละแต่งต้ัง

-2-

4. กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการปรับหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะใหม่ต้องส่งผล
ไปถงึ ผู้เรยี น ม่งุ เน้นการพฒั นาวิชาชีพมากกวา่ การจดั ทาผลงานทางวชิ าการ มีการบูรณาการการทางานท่ีเชื่อมโยงกัน
โดยมีการประเมินที่ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน และเป็นธรรม และนาระบบออนไลน์มาใช้ในการประเมินวิทยฐานะ
เช่น การย่ืนคาขอ และการส่งผลงานทางวิชาการโดยเน้นระบบการบนั ทกึ ขอ้ มูลที่ลดการใชก้ ระดาษ

5. จากงานวจิ ัยในโครงการ การสังเคราะห์ระบบและแนวทางการปฏิบัติการพัฒนาวิชาชีพครู :
จากแนวคิดการเรยี นรู้เชงิ วชิ าชพี ส่กู ารปฏบิ ัติ โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ ซึ่งได้ศึกษาแนวคิด
และรายงานการศกึ ษาวิจัยของนกั วิชาการ และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ พบวา่

5.1 จากรายงานของ OECD/UNESCO เมื่อปี 2016 มีประเด็นเกี่ยวกับระบบการเข้าสู่
วิทยฐานะของครู ดงั น้ี

1) การแบ่งวิทยฐานะครูได้ใช้บทบาทในห้องเรียนเป็นเกณฑ์ แต่ยังขาดความชัดเจน
ในการประเมินการขึ้นสู่แต่ละวิทยฐานะที่แสดงถึงความสามารถจริงของครู และไม่สัมพันธ์กับเกณฑ์มาตรฐาน
วชิ าชพี ทีก่ าหนดโดยครุ สุ ภา

2) เกณฑ์การเข้าสู่วิทยฐานะของครูยังไม่ให้น้าหนักกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
แต่เน้นการเสนอเอกสาร รางวลั ทไี่ ด้รบั และจานวนชัว่ โมงท่ีได้รับการพัฒนาของครู

5.2 จากผลการศึกษาของ Jensen และคณะ เม่ือปี 2012 ได้มีข้อเสนอว่า การที่ครูจะมี
ตาแหนง่ สูงขนึ้ ต้องรับผดิ ชอบต่อผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของนักเรียน การพัฒนาการสอนและการวิจัยร่วมกันของครู
การสังเกตชั้นเรียน การแลกเปล่ียนวิธีการสอนและการพัฒนาคุณภาพผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึง
การประยุกต์ใช้หลักการและศาสตรก์ ารสอนไปสู่หอ้ งเรยี น

6. หลกั เกณฑ์การประเมนิ วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นเร่ืองสาคัญที่ต้อง
ดาเนินการให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย รวมถึงหลักการ และแนวคิดในเชิงวิชาการ โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน
จึงได้ดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ โดยได้ดาเนินการศึกษาสภาพปัญหาในการประเมินวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด ตลอดจนสังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และผลการศึกษาวิจัยของประเทศต่าง ๆ
และหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

7. สานักงาน ก.ค.ศ. ได้นาผลการสังเคราะห์ความคิดเห็นจากนักวิชาการและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เพื่อนามากาหนดเป็นกรอบแนวคิดสาคัญในการดาเนินการปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินวิทยฐานะ
ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา แล้วพบว่า หัวใจสาคัญในการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ให้ประสบความสาเร็จ ได้แก่

-3-

7.1 Back to school คุณภาพการศึกษาต้องเริ่มท่ีห้องเรียน การปฏิบัติงานของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ทุกสายงาน ต้องมีความสอดคล้องเช่ือมโยงกัน มีการทางานเป็นทีม มีเป้าหมาย
ร่วมกัน คือ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน

7.2 Focus on classroom การประเมินให้ดูท่ีผลการปฏิบัติงานของครูในห้องเรียนดูท่ีสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงานจริงของครู (Teacher performance) แผนการจัดการเรียนรู้ (Powerful Pedagogies)
และผลลพั ธก์ ารเรียนรูข้ องผู้เรียน (Students Outcomes)

7.3 Teacher as a key of success ครูเป็นกลไกสาคัญที่จะทาให้การศึกษาประสบ
ความสาเร็จ ครูต้องมีการพัฒนาให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานสูงขึ้น ตามระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
ตามตาแหน่งและวิทยฐานะ ได้แก่

7.3.1 ปฏิบัตแิ ละเรียนรู้ (Execute and Learn) โดยผู้ท่ีเริ่มบรรจุเป็นครูผู้ช่วยต้องสามารถ
จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ในเน้ือหาและสมรรถนะ
วิชาชีพครู ในระหวา่ งทม่ี กี ารเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม

7.3.2 ปรับประยุกต์ (Apply and Adapt) สามารถปรับประยุกต์ความรู้และศาสตร์
การสอนมาใช้ในการจัดการเรียนรไู้ ด้อย่างเหมาะสมกบั บรบิ ทและความแตกตา่ งของผเู้ รยี น

7.3.3 แก้ไขปัญหา (Solve the Problem) รับรู้ปัญหาและสามารถแก้ปัญหาในการจัดการ
เรยี นรูแ้ ละการจัดการชัน้ เรยี น และส่งเสริมให้ผเู้ รยี นมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

7.3.4 ริเร่ิม พัฒนา (Originate and Improve) สามารถปรับปรุงพัฒนางานให้ดีกว่าเดิมได้
สอนใหผ้ ูเ้ รยี นมีกระบวนการคิด

7.3.5 คิดค้น ปรับเปลี่ยน (Invent and Transform) สามารถสร้างสรรค์ส่ือ นวัตกรรม
และเทคโนโลยี เพอื่ ยกระดบั การทางานในหอ้ งเรยี นใหด้ ีข้นึ ได้ สอนใหผ้ เู้ รียนค้นพบองค์ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง

7.3.6 สร้างการเปลี่ยนแปลง (Create an Impact) สามารถสร้างผลกระทบให้
เกิดข้ึนนอกเหนอื จากห้องเรยี น สามารถสอนให้ผเู้ รียนเกิดแรงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้

7.4 School as an Organization การจัดระบบการบริหารการจัดการในสถานศึกษาต้องมุ่งเน้น
งานหลักของครูและผูอ้ านวยการสถานศึกษา

7.4.1 ลดความซ้าซ้อน การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนเงินเดือนกับการให้มีหรือ
เลอ่ื นวิทยฐานะ (มาตรา 54) และการคงวิทยฐานะ (มาตรา 55) เป็นเรอื่ งเดยี วกัน (ใชต้ ัวช้ีวัดเดยี วกัน)

7.4.2 School Professional Community การจัดทา PLC เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศกึ ษาที่จะต้องทาให้เกิดข้นึ ในโรงเรยี น ควรกาหนดเปน็ ตวั ชวี้ ัดของผู้อานวยการสถานศกึ ษาดว้ ย

-4-

7.4.3 Support System ควรเป็นระบบ Online System ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ต้องได้รบั การพัฒนาตรงตามความต้องการจาเป็นอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ผ่านแฟลตฟอร์ม
ออนไลนต์ ่าง ๆ

8. จากกรอบแนวคดิ ข้างตน้ สานักงาน ก.ค.ศ. พิจารณาแล้วเห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาที่มีศักยภาพ
นอกจากจะต้องมีสมรรถนะในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นตามระดับวิทยฐานะที่คาดหวังแล้ว ยังต้องสามารถพัฒนาครู
ให้มีสมรรถนะเต็มตามศักยภาพ เพ่ือร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย จึงได้นาความคิดเห็น
ของนักวิชาการและผลการวิจัยท่ีเกี่ยวข้องมาจัดทาหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีการพัฒนา
ให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานสูงข้ึน ตามระดับการปฏิบัติท่ี คาดหวังตามตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตามแผนภาพท่ี 1 และกาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือวางระบบในการจัดทาหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ตามแผนภาพที่ 2
และเช่ือมโยงระบบการประเมินต่าง ๆ ตามแผนภาพที่ 3 ดงั นี้

แผนภาพท่ี 1 ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังตามตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา

-5

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเม
ตาแหน่งผบู้ รหิ า

ระบบการประเมนิ วิทยฐานะ ตา

การประเมนิ Performance Appraisal (PA) คร

ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ประเดนท้าทาย ม
ตามมาตรฐานตาแหน่ง Based on Learning Outcomes ทข่ี อรับ

สว่ นที่ ข้อตกลงในการพัฒนางานตาม มงุ่ เน้นการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน ม
มาตรฐานตาแหนง่ วิทยฐานะท่ีส่งผลตอ่ คุณภาพผเู้ รียน ครู และสถานศกึ ษา โดยมีผล

การปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานตาแหน่ง ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ไม่มวี ิทยฐานะ ม
ผู้บริหารสถานศกึ ษา และมภี าระงานตามที่ - มกี ารปรับประยุกตก์ ารปฏิบตั งิ าน จนปรากฎ
ก ค ศ กาหนด ผลลพั ธใ์ นการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานตาแหนง่ ด้านท่ี
วทิ ยฐานะชานาญการ การใช้เ
2) ผลการปฏบิ ัติงาน ดา้ นการบริหาร - มกี ารรเิ ร่ิม แก้ไขปัญหาพัฒนางานวชิ าการ
วิชาการและความเปน็ ผนู้ าทางวิชาการ และกระบวนการจัดการเรียนรู้ ร
ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ การใช้เ
ดา้ นการบริหารการเปลยี่ นแปลงเชิงกลยทุ ธ์ กิจกรร
และนวัตกรรม ดา้ นการบริหารงานชมุ ชนและ มีการพัฒนาและนานวตั กรรมมาประยุกต์ใช้
เครอื ขา่ ย และด้านการพฒั นาตนเองและ ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา ก
วิชาชีพ วิทยฐานะเชย่ี วชาญ หรือนว
มีการสรา้ งสรรค์และพฒั นานวัตกรรม
สว่ นท่ี ข้อตกลงในการพฒั นางานท่ีเสนอเปน การจัดการศกึ ษาและนาไปเผยแพร่ ดา้ นที่
ประเดนทา้ ทายเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น วิทยฐานะเชย่ี วชาญพิเศษ พจิ ารณ
ครู และสถานศกึ ษา มกี ารพัฒนานวตั กรรมและงานวิจัย เผยแพรแ่ ละ
ขยายผล เป็นแบบอย่างและเป็นที่ยอมรับในวงวชิ าชีพ ผล
คณะกรรมการประเมินผล สถานศึก
การพฒั นางานตามข้อตกลง แสดงถึงคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานไม่ตา่ กว่า หรอื เป
มาตรฐานวิทยฐานะทด่ี ารงอยู่ ในดา้ น
ผลการประเมิน
ความสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายและบริบทสถานศกึ ษา ดา้ นท่ี
เลื่อนเงนิ เดือน นโยบายของสว่ นราชการและกระทรวงศกึ ษาธิการ งาน

Admin การบรหิ
สถานศกึ ษา งาน

การบริห
เป็นผล

ประเมินคงวิทยฐานะ ม

-

มนิ ตาแหน่งและวทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ารสถานศกึ ษา

าแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา การประเมนิ วิทยฐานะ

รบระยะเวลาตามมาตรฐานวทิ ยฐานะท่ีขอ คณะกรรมการ กศจ./
ประเมินคาขอผ่านระบบ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ตั้ง
คุณสมบตั ิของผู้ขอรับการประเมิน
มีระยะเวลาการดารงตาแหนง่ ตามมาตรฐานวทิ ยฐานะ ชนก./ ชช./ Admin
บการประเมิน ชนพ. ชชพ. สานักงาน ก.ค.ศ.
มผี ลการประเมิน PA ย้อนหลงั ครบระยะเวลาท่ีกาหนด
ลการประเมินในแตล่ ะรอบผ่านเกณฑ์ Admin สนง.เขต/ศธจ.
มวี นิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สว่ นราชการ

ผลงานท่ใี ชเ้ สนอขอรับการประเมิน ชช./ชชพ.

ดา้ นทกั ษะการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา กลยุทธ์ คณะกรรมการ
เครื่องมอื หรือนวตั กรรมทางการบรหิ าร พจิ ารณาจาก ประเมนิ คาขอผ่านระบบ
รายงานผลการดาเนินการตามแผนพฒั นาสถานศึกษากลยุทธ์
เครอ่ื งมือ หรือนวัตกรรมทางการบริหาร ตามโครงการหรือ และประเมินผลงาน
รมในแผนพัฒนาสถานศกึ ษา ในรูปแบบไฟล์ PDF ทางวิชาการ
การนาเสนอการพัฒนาสถานศึกษา กลยทุ ธ์ การใชเ้ ครือ่ งมอื
วตั กรรมทางการบริหาร ตามโครงการหรือกจิ กรรมใน ก.ค.ศ.

ดา้ นผลลพั ธใ์ นการพัฒนาการบรหิ ารสถานศึกษา
ณาจาก
ลงานหรอื ผลการปฏบิ ัตขิ องครู หรือผลการพฒั นาคุณภาพ
กษาที่มกี ารเปลีย่ นแปลงไปในทางทด่ี ขี ึ้นหรอื มีการพัฒนามากขน้ึ
ปน็ ต้นแบบ และสง่ ผลตอ่ คุณภาพผู้เรียน ตามทเี่ สนอไว้
นที่ โดยให้นาเสนอในรูปแบบไฟล์วีดิทศั น์ จานวน ไฟล์

ดา้ นผลงานทางวชิ าการ
นวิจยั เกยี่ วกบั การพฒั นาสถานศกึ ษา หรอื นวตั กรรม
หารสถานศกึ ษาจานวน รายการ ในรูปแบบไฟล์ PDF(ชช.)
นวิจยั เกยี่ วกับการพัฒนาสถานศกึ ษา และนวตั กรรม
หารสถานศกึ ษา อย่างละ รายการ ในรปู แบบไฟล์ PDF
ลงานทเ่ี ผยแพรผ่ า่ น TCI ) (ชชพ.)

-6-

ท้ังนี้ ระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่ง
และวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีความเช่ือมโยงบูรณาการ
กับระบบการประเมินเพ่ือเลื่อนเงินเดือน และการประเมินเพ่ือคงวิทยฐานะ ตามมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 โดยมีความเชื่อมโยงของระบบการประเมิน
ตามแผนภาพที่ 3

แผนภาพท่ี 3 ความเชอื่ มโยงของระบบการประเมินตาแหน่งและวทิ ยฐานะข้าราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา

การประเมนิ ตาแหน่งและวิทยฐานะ ม 54 เลอื่ นวทิ ยฐานะสงู ข้ึน

ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ประเมินเพือ่ ใหม้ หี รอื เลือ่ นวิทยฐานะ

ม 55 คงวิทยฐานะ คณุ สมบตั ขิ องผขู้ อรบั การประเมนิ

ประเมินการดารงวทิ ยฐานะ มีระยะเวลาการดารงตาแหนง่ ตามมาตรฐานวิทยฐานะท่ีขอรบั การประเมิน
มผี ลการประเมนิ PA ย้อนหลงั ครบระยะเวลาท่ีกาหนด โดยมผี ลการ
รอบปที ี่ 1 รอบปที ่ี 2 รอบปที ี่ 3 ประเมินในแตล่ ะรอบ ผา่ นเกณฑ์
มีวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
Performance Appraisal : PA
การประเมนิ และผลงานท่ีเสนอ
ส่วนที่ ข้อตกลงในการพฒั นางาน ส่วนท่ี ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ท่เี สนอเปนประเดนท้าทายเพอ่ื พัฒนา ดา้ นท่ี 1 ด้านทกั ษะการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา กลยทุ ธ์ การใชเ้ คร่ืองมือ
คุณภาพผเู้ รียนครู และสถานศกึ ษา หรือนวัตกรรมทางการบรหิ าร
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง
ผู้บริหารสถานศึกษา และมีภาระงาน รายงานผลการพัฒนาการจดั การศกึ ษา กลยทุ ธ์ การใช้เครือ่ งมือหรือ
ตามที่ ก ค ศ กาหนด นวตั กรรมทางการบริหาร PDF)

ผลการปฏิบัติงานด้านการบรหิ ารวชิ าการ ไฟล์วดี ทิ ศั น์
และความเป็นผู้นาทางวชิ าการด้านการบริหาร
จัดการสถานศกึ ษา ด้านการบริหาร ด้านที่ 2 ดา้ นผลลพั ธ์ในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ครู และสถานศึกษา
การเปล่ยี นแปลงเชงิ กลยุทธ์และนวตั กรรม ผลลัพธข์ องการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และการบรหิ าร
ด้านการบรหิ ารงานชุมชนและเครอื ขา่ ย
และดา้ นการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี จัดการสถานศึกษา ท่สี ง่ ผลต่อคณุ ภาพผ้เู รียน ครู และสถานศึกษา
ไฟล์วดี ทิ ศั น์

ด้านท่ี 3 ดา้ นผลงานทางวิชาการ ชช ชชพ
งานวจิ ยั เกยี่ วกบั การพัฒนาสถานศกึ ษาหรือนวัตกรรมการจดั การศึกษา ชช
งานวจิ ยั เกย่ี วกบั การพัฒนาสถานศึกษาและนวตั กรรมการจดั การศกึ ษา ชชพ
ตพี ิมพเ์ ผยแพร่บทความวิจยั ในวารสารวิชาการ TCI) ชชพ

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564
จะเป็นประโยชน์กับผเู้ รยี น สถานศึกษา และผู้ทเ่ี ก่ียวข้อง ดงั นี้

1. เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้บริหารสถานศึกษา
ไดพ้ ัฒนาตนเองให้มศี กั ยภาพสงู ขนึ้ ตามระดบั วิทยฐานะ มีภาวะผ้นู าในการบรหิ ารวิชาการ และบริหารการเปลี่ยนแปลง
ที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน คุณภาพครู คุณภาพผู้เรียน และคุณภาพการศึกษา
ไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม

-7-

2. ผู้บริหารเข้าถึงครูและห้องเรียนมากขึ้น ทาให้ได้รับทราบสภาพปัญหาและความต้องการ
ของแต่ละห้องเรียน สามารถนามากาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพและยงั่ ยนื

3. การประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในแต่ละปีงบประมาณ ทาให้ผู้บริหารสถานศึกษา
ได้ทราบถึงจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนาของครูและบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งจะทาให้มีแนวทางในการพัฒนาตนเอง
พฒั นาครู เพือ่ ใหค้ รูสามารถนาผลการพัฒนามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาผลลัพธ์
การเรยี นร้ขู องผเู้ รียน

4. การนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เป็นการลดภาระการจัดทาเอกสาร ประหยัดงบประมาณ
ในการประเมนิ และทาให้ระบบการประเมนิ โดยรวมมีความโปรง่ ใส มปี ระสทิ ธภิ าพและคลอ่ งตวั ยิ่งข้ึน

5. เกิดการเชื่อมโยงบูรณาการ (Alignment and Coherence) ในระบบการประเมินวิทยฐานะ
การประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือการเลื่อนเงินเดือน และการประเมินเพ่ือคงวิทยฐานะ โดยใช้ตัวช้ีวัดเดียวกัน
ลดความซ้าซ้อน และงบประมาณในการประเมนิ

6. ทาให้ มี Big data ในการบริหารงานบุคคลในหลายมิติ และสามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลสาคัญ
ในการวางแผนอตั รากาลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

สาหรับคู่มือการดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ฉบับนี้ ประกอบด้วยสาระสาคัญ
4 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา รูปแบบไฟล์วดี ทิ ัศน์ฯ และภาระงานตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

1.1 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 10 ลงวันท่ี
20 พฤษภาคม 2564 โดยจาแนกออกเป็น

- หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
รองผ้อู านวยการสถานศึกษา มวี ทิ ยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการและเล่ือนเป็นวิทยฐานะรองผู้อานวยการ
ชานาญการพเิ ศษ

- หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา เลือ่ นเป็นวทิ ยฐานะรองผู้อานวยการเชย่ี วชาญ

- หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ผู้อานวยการสถานศึกษา มีวิทยฐานะผู้อานวยการชานาญการและเล่ือนเปน็ วิทยฐานะผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ

-8-

- หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ผู้อานวยการสถานศึกษา เลื่อนเป็นวิทยฐานะผู้อานวยการเชี่ยวชาญและเล่ือนเป็นวิทยฐานะผู้อานวยการ
เชี่ยวชาญพเิ ศษ

1.2 รูปแบบไฟล์วีดิทัศน์ฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

1.3 ภาระงานของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
ตามหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวนั ที่ 30 สิงหาคม 2564

ตอนที่ 2 การจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ผู้บริหารสถานศึกษาทุกคนต้องจัดทา
ข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปงี บประมาณ เสนอตอ่ ผู้บงั คับบัญชา เพื่อพิจารณา
ให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่ีเสนอเป็นประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ครู และสถานศกึ ษา

ตอนท่ี 3 การประเมินข้อตกลงในการพัฒนางาน ให้ดาเนินการตามรายละเอียดคาชี้แจง
การประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง ตัวช้ีวัดการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลง แบบสรุปผลการประเมินการพัฒนางานตามข้อตกลง และคาชี้แจงการดาเนินการประเมิน
เพอ่ื ขอมวี ิทยฐานะและเลอื่ นวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการฯ ว 10/2564 ในช่วงระยะเวลาเปลยี่ นผ่าน

โดยการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงให้มีคณะกรรมการประเมิน
3 คน ต่อผู้รับการประเมิน 1 ราย ประเมินปีงบประมาณละ 1 ครั้ง เม่ือสิ้นปีงบประมาณ โดยตามหลักเกณฑ์
และวิธีการน้ีกาหนดให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน
จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานกับผู้บังคับบัญชาทุกปีงบประมาณ โดยผลการประเมินสามารถนาไปใช้
ในการบริหารงานบุคคลได้ ดงั นี้

1. ใช้เป็นคุณสมบัติในการขอรับการประเมินเพ่ือให้มีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ
ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ที่กาหนดไว้ในหมวด 3 - หมวด 6 และแนวปฏิบัติ
การดาเนนิ การขอมวี ิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะในช่วงระยะเวลาเปลยี่ นผ่าน ทกี่ าหนดไวใ้ นหมวด 7 แลว้ แต่กรณี

2. ใช้ผลการประเมนิ ตาแหน่งและวิทยฐานะของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อดารงไว้
ซึ่งความรู้ความสามารถ ความชานาญการ หรือความเชี่ยวชาญในตาแหน่งและวิทยฐานะท่ีได้รับการบรรจุ
และแตง่ ตั้ง ตามนัยมาตรา 55 ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่กี าหนดไวใ้ นหมวด 8

3. ใช้เป็นองค์ประกอบในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน
ในการพจิ ารณาเลอ่ื นเงนิ เดอื น

-9-
ตอนที่ 4 การประเมินเพื่อขอมีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์กาหนดให้มี
การประเมินเพื่อขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะผ่านระบบ DPA มีคณะกรรมการประเมิน 3 คน ต่อผู้ขอ 1 ราย
โดยกาหนดใหม้ กี ารประเมิน 2 ดา้ น ดงั น้ี

ด้านที่ 1 ด้านทักษะการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือ
หรือนวัตกรรมทางการบริหาร

ดา้ นที่ 2 ดา้ นผลลพั ธใ์ นการพัฒนาการบรหิ ารสถานศกึ ษา
สาหรับวิทยฐานะเช่ียวชาญและวิทยฐานะเช่ียวชาญพิเศษ ให้มีการประเมินด้านท่ี 3
ดา้ นผลงานวิชาการดว้ ย
การปรับปรุงผลงานทางวิชาการต้องเป็นกรณีที่คณะกรรมการประเมินด้านท่ี 1
และด้านที่ 2 แล้วมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ แต่ด้านที่ 3 เห็นควรให้ปรับปรุงผลงานทางวิชาการ โดยมีผลการประเมิน
จากคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 2 คน ใน 3 คน ผ่านเกณฑ์ ท้ังน้ี ผลงานทางวิชาการต้องอยู่ในวิสัยที่สามารถ
ปรับปรงุ ได้ ต้องไมเ่ ปน็ การแก้ไขขอ้ มูลท่กี ระทบต่อความถูกต้องตามหลักวิชาการ และ ก.ค.ศ. มีมติให้ปรับปรุง
โดยให้ปรบั ปรุง 1 คร้ัง ภายใน 6 เดือน นับแต่วันท่ีสานักงาน ก.ค.ศ. แจ้งมติเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านระบบ DPA
ให้ส่วนราชการ หรอื หนว่ ยงานการศึกษา แล้วแตก่ รณี ทราบ

- 10 -

ตอนท่ี 1
- หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
- รปู แบบไฟล์วีดิทศั น์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ ตาแหนง่ และวิทยฐานะข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
- ภาระงานของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

- 11 -

ตอนที่ 1 หลกั เกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา รปู แบบการจดั ทาไฟล์วดี ทิ ัศน์ และภาระงานตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

- 12 -

- 13 -

- 14 -

- 15 -

- 16 -

- 17 -

หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา มีวทิ ยฐานะรองผู้อานวยการชานาญการและเล่อื นเปนวิทยฐานะรองผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ

- 18 -

- 19 -

- 20 -

- 21 -

- 22 -

หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เลอ่ื นเปนวิทยฐานะรองผู้อานวยการเช่ยี วชาญ

- 23 -

- 24 -

- 25 -

- 26 -

- 27 -

- 28 -

หลกั เกณฑ์และวธิ ีการใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา มวี ิทยฐานะผู้อานวยการชานาญการและเล่อื นเปนวทิ ยฐานะผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ

- 29 -

- 30 -

- 31 -

- 32 -

- 33 -

หลกั เกณฑ์และวธิ ีการใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา เล่อื นเปนวิทยฐานะผู้อานวยการเช่ยี วชาญและวทิ ยฐานะผ้อู านวยการเช่ยี วชาญพเิ ศษ

- 34 -

- 35 -

- 36 -

- 37 -

- 38 -

- 39 -

- 40 -

- 41 -

- 42 -

- 43 -

รูปแบบการจดั ทาไฟลว์ ดี ีทัศน์ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมินตาแหนง่ และวทิ ยฐานะข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

รูปแบบไฟล์วดี ีทัศน์ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารประเมนิ ตาแหน่งและวทิ ยฐานะข้าราชการครู

และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา

ก.ค.ศ. กาหนดรูปแบบไฟล์วีดิทัศน์ เพ่ือใช้ในการประเมินคาขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ

ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา

1. ไฟล์วีดิทัศน์การพัฒนาสถานศึกษา กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือหรือนวัตกรรมทางการบริหาร
ตามแผนพฒั นาสถานศกึ ษา

กาหนดใหม้ ีรปู แบบการจดั ทาและคณุ ลักษณะทสี่ าคัญ ดงั น้ี
1.1 เป็นไฟล์วีดิทัศน์ที่ผู้บริหารสถานศึกษาได้จัดทาขึ้นภายหลังจากท่ีได้กาหนดแผนพัฒนา
สถานศึกษาแล้ว โดยนาเสนอกระบวนการคิด รูปแบบ การใช้กลยุทธ์ หรือเคร่ืองมือหรือนวัตกรรมการบริหาร
ในการดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลและประสบผลสาเร็จ แสดงให้เห็นถึงประเด็นปัญหา
หรือประเด็นการพัฒนา การแก้ปัญหาสถานศึกษา ท้ังนี้ วีดิทัศน์ที่นาเสนอต้องสะท้อนระดับการปฏิบัติ
ที่คาดหวังตามมาตรฐานวิทยฐานะท่ีขอรับการประเมิน สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา แรงบันดาลใจ
กรอบแนวคิด ปรัชญาในการกาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาสถานศึกษา การออกแบบกลยุทธ์การบริหาร
การระดมทรัพยากรเพื่อการบริหาร การทางานตามหลักธรรมาภิบาล การจัดการตามกระบวนการชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง ศึกษานิเทศก์ ผู้เช่ียวชาญ ในการพัฒนา
คุณภาพของนักเรียน ครูและชุมชน การปฏิบัติท่ีดีจากการบริหารสถานศึกษา การประเมินและปรับปรุง
การบรหิ ารสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
1.2 การถ่ายทาและการนาเสนอไฟล์วิดีทัศน์การพัฒนาการบริหารสถานศึกษา กลยุทธ์ การใช้
เครือ่ งมือหรอื นวตั กรรมทางการบรหิ าร

กาหนดให้มีรปู แบบและลกั ษณะสาคญั ทางเทคนิค ดังนี้
1) รูปแบบการถ่ายทาไฟล์วีดิทัศน์ ต้องเป็นการบันทึก ณ สถานศึกษาที่ปฏิบัติงานจริง
โดยฉากหลังจะต้องไม่มีบุคคลอ่ืนใดมาร่วมนาเสนอ ในการนาเสนออาจใช้ ส่ือช่วยในลักษณะของภาพน่ิง
ข้อความ สัญลักษณ์ ภาพเคลื่อนไหว และอาจมีการสอดแทรก (Insert) ภาพ หรือนาเสนอในรูปแบบ Power Point
ดว้ ยก็ได้ โดยการนาเสนอให้ใช้การพูดหรอื นาเสนอเป็นภาษาไทยดว้ ยตนเองเท่านั้น การถ่ายทาให้ใช้กล้องถ่ายทา
แบบตัวเดยี ว (Single video camera) ไมม่ สี ว่ นนาใด ๆ ของไฟล์วดี ทิ ัศน์ (No Title) ไม่มีดนตรีประกอบหรือสอดแทรก
ไม่มีการหยุดการถ่ายทา (One - Take recording) ไม่มีการตัดต่อ (Un - Editing) ไม่มีการแต่งเติมภาพ (No effect)
ดว้ ยเทคนิคหรือวธิ กี ารใด ๆ และต้องไมใ่ ชเ้ ทคนิคใด ๆ ในการถา่ ยทาท้งั ส้นิ
2) ลกั ษณะสาคัญทางเทคนิคของไฟลว์ ดี ิทัศน์

(1) ความละเอียดของไฟล์วีดิทัศน์ ต้องมีภาพและเสียงที่ชัดเจนเพียงพอที่จะสามารถ
ประเมนิ ได้ตามสภาพการปฏบิ ัติงานทเ่ี กิดข้นึ จรงิ

(2) ประเภทของไฟล์วดี ทิ ศั น์ ต้องเป็นไฟล์ mp4
(3) ความยาวของไฟล์วีดิทัศน์ ไมเ่ กิน 15 นาที

- 44 -

ท้ังน้ี ให้ส่งไฟล์วีดิทัศน์การพัฒนาการบริหารสถานศึกษา กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือหรือ
นวัตกรรมทางการบรหิ าร จานวน 1 ไฟล์ เทา่ น้ัน

2. ไฟลว์ ีดทิ ศั นก์ ารนาเสนอผลลพั ธใ์ นการพัฒนาการบริหารสถานศกึ ษา
2.1 เป็นไฟลว์ ีดทิ ศั นท์ ่ีแสดงใหเ้ หน็ ถึงผลงานหรือผลการปฏิบัติของครู หรือผลการพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษา ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน หรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือเป็นต้นแบบ หรือเกิดนวัตกรรมการบริหาร
หรือการจัดการท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี.(Best.practice).โดยมีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ซ่ึงแสดงผลลัพธ์
(Outcomes).จากการพัฒนาการบรหิ ารสถานศึกษาทีส่ ง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรียน.ครู.และสถานศึกษา.อย่างเป็นรูปธรรม

2.2 การถ่ายทาวีดทิ ัศน์การนาเสนอผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษา
กาหนดใหม้ ีรปู แบบ เนอื้ หา และลักษณะสาคัญทางเทคนิค ดังน้ี
1) รูปแบบและเนื้อหาของไฟล์วีดิทัศน์การนาเสนอผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษา

ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นาเสนอแบบปรากฏตัวและบรรยายด้วยตนเองเท่าน้ัน โดยการนาเสนอให้เป็นลักษณะ
การอธบิ ายการปฏิบัติงานของตนเอง สะท้อนผลลัพธ์ของการบริหารท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน
และภาพรวมของสถานศึกษา อาจนาเสนอร่องรอยชิ้นงาน/ผลงานที่เป็นผลลัพธ์ ผลกระทบจากการบริหาร
ทม่ี พี ฒั นาการสอดคล้องกับประเดน็ ท่ที ้าทายและเปา้ หมายการพัฒนาของผู้บริหารสถานศึกษาในปีงบประมาณนั้น ๆ
โดยผลงานของผู้บริหารสถานศึกษา อาจมีได้หลากหลายรูปแบบ และควรเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนา
การบริหารสถานศึกษา ผลงานควรจะนาเสนอให้เห็นท้ังที่ประสบความสาเร็จมาก ประสบความสาเร็จน้อย
หรือที่ยังมีปัญหาท้าทายซึ่งยังไม่ประสบความสาเร็จด้วย.ท้ังนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องรับผิดชอบและ
ตระหนักถึงจรรยาบรรณในการนาเสนอทุกกรณี และต้องไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ระหว่างการบรรยาย
ใหม้ ีการสอดแทรก (Insert) ภาพนง่ิ หรือ ภาพเคลือ่ นไหวได้ ต้องไม่มสี ว่ นนา (Title) ไม่มดี นตรีประกอบ ไม่มีเสียงพิเศษ
ท่ีสร้างข้ึน (No sound effect) ไม่มีการซ้อนตัวอักษรระหว่างการนาเสนอ แต่อาจใช้การนาเสนอผ่านโปรแกรม
การนาเสนอได้ ได้แก่ Power point, Keynote, Google Slide หรอื อน่ื ๆ

2) ลักษณะสาคัญทางเทคนิคของไฟล์วีดิทัศน์การนาเสนอผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหาร
สถานศึกษา

(1) ความละเอียดของไฟล์วีดิทัศน์ ต้องมีภาพและเสียงที่ชัดเจนเพียงพอที่จะสามารถ
ประเมนิ ไดต้ ามสภาพการปฏิบัตงิ านที่เกิดขน้ึ จรงิ

(2) ประเภทของไฟล์วีดิทศั น์ ต้องเป็นไฟล์ mp4
(3) ความยาวของไฟล์วีดทิ ัศน์ ไม่เกิน 10 นาที

โดยให้สง่ ไฟลว์ ีดทิ ศั นก์ ารนาเสนอผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษา จานวน 1 ไฟล์ เทา่ น้นั


Click to View FlipBook Version