The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2020-06-25 03:56:46

คู่มือการนิเทศ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning

47







ู้

อย่างมีคณภาพดวยการสร้างสรรคประโยชน์ให้สงคม การจดการเรียนรู้มุ่งให้ผเรียนดารงชวิตอยู่


ร่วมกับผู้อื่นในสังคม พหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข มีความตระหนักในการพึ่งพาอาศยซึ่งกันและกัน



การแก้ปัญหา การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี มีความเคารพสทธิและศกดศรีความเป็นมนุษย์ เข้า
ิ์
ใจความแตกต่างและหลากหลาย ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของแต่ละบุคคลในสังคม
Learning to be : หมายถึง การเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ รู้ถึงศกยภาพ ความ




ถนัด ความสนใจ ของตนเอง สามารถใชความรู้ ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์ตอสงคม
ี่


เลือกแนวทางการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ วางแผนการเรียนตอ การประกอบอาชพทสอดคลองกับ








ู้
ั้
ศกยภาพ ตนเองได การจดการเรียนรู้มุ่งพัฒนาผเรียนทกดานทงจตใจและร่างกาย สตปัญญา ให้
ความส าคัญกับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษา และวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ท ี่
สมบูรณ์มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ศีลธรรม สามารถปรับตัว และปรับปรุงบุคลกภาพของ

ตน เข้าใจตนเองและผู้อื่น

หลัก 4 H (Head Heart Hand และ Health)
หลัก 4 H เป็นการมุ่งเน้นพัฒนาทักษะของผู้เรียน ให้เกิดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง






มีประสบการณตรง คดวิเคราะห์ ทางานเป็นทม และเรียนรู้ดวยตนเองอย่างมีความสขจากกิจกรรม
สร้างสรรค์ ทหลากหลาย ดังนี้
ี่

กิจกรรมพัฒนาสมอง (Head) หมายถึง กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทกษะการคด เพื่อให้

ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ตัดสินใจ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค ์

กจกรรมพัฒนาจิตใจ (Heart) หมายถึง กิจกรรมสงเสริม พัฒนา และปลกฝงคานิยม





ู้


คณธรรม จริยธรรม การทาประโยชน์เพื่อสงคม เพื่อให้ผเรียนมีคณลกษณะอันพึงประสงคจนเป็น



ลักษณะนิสัย และมีจิตส านึกที่ดี ต่อตนเองและส่วนรวม

กิจกรรมพัฒนาทักษะการปฏิบัติ (Hand) หมายถึง กิจกรรมสร้างเสริมทกษะการทางาน

ทักษะทางอาชีพที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถ ความถนัด และศักยภาพของตนเอง


ู้
กจกรรมพัฒนาสุขภาพ (Health) หมายถึง กิจกรรมสร้างเสริมสขภาวะเพื่อให้ผเรียน


มีสมรรถนะทางกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพ และมีทกษะปฏิบัตดานสขภาพ



จนเป็นนิสย

พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัววชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร



สมเดจพระเจาอยู่หัว มีกระแสพระราชดารัสกับประธานองคมนตรี และคณะองคมนตรี
ให้ร่วมกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง โดยจัดการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ดังนี้

1. มทัศนคตที่ถกตองตอบ้านเมอง หมายถึง การจดการศกษาตองมุ่งให้ผเรียนมีความรู้
ู้








ความเข้าใจที่ดีต่อชาติบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความเอื้อ
อาทร ต่อครอบครัวและชุมชนของตน
ู้


ั่



2. มพื้นฐานชีวตที่มนคง มคุณธรรม หมายถึง การจดการศกษาตองมุ่งให้ผเรียน รู้จก


ี่


ิ่
แยกแยะสิ่งที่ผิด-ที่ถูก สิ่งชั่ว-สิ่งดี เพื่อปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบที่ดงาม ปฏิเสธสงทผดทชว เพื่อสร้างคนดี
ั่
ี่
ให้แก่บ้านเมือง

48



ู้






3. มงานท า มอาชีพ หมายถึง การจดการศกษาตองมุ่งให้ผเรียน เป็นเดกรักงาน
สู้งาน ท างานจนส าเร็จ อบรมให้เรียนรู้การท างาน ให้สามารถเลี้ยงตัวและเลี้ยงครอบครัวได้

ู้




4. เป็นพลเมองด หมายถึง การจดการศกษาตองมุ่งให้ผเรียน มีหน้าทเป็นพลเมืองดี
ี่
สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสท าหน้าทพลเมืองด การเป็นพลเมือง
ี่


ี่
ดี หมายถึงการมีน้ าใจ มีความเอื้ออาทร ท างานอาสาสมัคร งานบ าเพ็ญประโยชน์ “เห็นอะไรทจะทา
เพื่อ บ้านเมืองได้ก็ต้องท า”





















หลักการส าคัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้





การจดการเรียนรู้เชงรุก (Active Learning) อาจจดกิจกรรมไดหลายลกษณะ ขึ้นอยู่กับ

ธรรมชาติของวิชาหรือลักษณะกิจกรรมที่ด าเนินการ เช่น กิจกรรมบูรณาการ หรือกิจกรรมเฉพาะเรื่อง

เช่น กิจกรรมทสนองนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยมีหลกการสาคญของการจดกิจกรรม ดงนี้




ี่
(ส านักงาน วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2559, หน้า 30)
1. เชื่อมโยงตัวชี้วัด สอดคล้องและเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ตามหลกสตร


แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. เน้นจัด 4H การจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย 4H ไดแก่ กิจกรรมพัฒนาสมอง (Head)

กิจกรรมพัฒนาทกษะปฏิบัต (Hand) กิจกรรมพัฒนาจตใจ (Heart) และกิจกรรมพัฒนาสขภาพ




(Health)
ี่


3. ผู้เรยนเป็นสุข เป็นการเรียนรู้อย่างมีความสข โดยใชวิธีการจดกิจกรรมทหลากหลาย


อย่างเหมาะสม ตอบสนองความสนใจ ความถนัด ความต้องการ และความแตกต่างของผู้เรียน

4. สนุกการคิดขั้นสูง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วางแผน คิดวิเคราะห์ คนคว้า ถกแถลง สร้าง





ความคดเชงเหตผล อภิปราย สรุปความรู้ น าเสนอ จดประกายความคด สร้างแรงบันดาลใจ สร้าง
ความมุ่งมั่นเพื่อแสวงหาความรู้ การแก้ปัญหาและสร้างสรรค์นวัตกรรม

49



ู้

ุ่



5. มงท างานเป็นกลุ่ม จดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผเรียนไดเรียนรู้ร่วมกันเป็นทม ทางาน
อย่างเป็นระบบ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ช่วยเหลือเกื้อกูล มีความสามัคคี และเป็นผู้น า ผู้ตามที่ดี
ู้

6. ลุ่มลึกแหล่งเรยนร ใชแหลงเรียนรู้ ภูมิปัญญา สงแวดลอม และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ิ่


เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
7. สู่การประเมน P&A ประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) โดยใช้


เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เน้นการประเมินการปฏิบัต (P : Performance Assessment) และการ
ประเมิน คุณลักษณะ (A : Attribute Assessment)



























การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

การออกแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ต้องพิจารณาว่ากิจกรรมทออกแบบเป็น
ี่
ี้
กิจกรรม ลกษณะใด อาจะเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตวชวัดของแตละวิชาหรือกลม

ุ่


สาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผเรียน หรือกิจกรรมเสริมทกษะอื่นๆ โดยผออกแบบพิจารณาแนวคด
ู้

ู้


ี่

ทฤษฎีทเกี่ยวข้อง อันประกอบดวย แนวคดของ บลม (Bloom’s Taxonomy) สเสาหลกทาง

ี่



การศกษา (Four Pillars of Education) หลกการพัฒนาทกษะ 4 H (Head Heart Hand และ


Health) และพระบรมราโชบายดานการศกษา ของสมเดจพระเจาอยู่หัววชราลงกรณ บดนทรเทพ





ยวรางกูร โดยมีกระบวนการ ดังนี้

1. การก าหนดหัวข้อเรื่อง (Theme)
หัวข้อเรื่อง (Theme) เป็นข้อความทเป็นประเดนของเรื่อง ทผเรียนจะทาการศกษา โดย

ี่
ี่


ู้

ื่


เป็นมโนทัศน์กว้างๆ ทเอื้อตอการใชความรู้ และมุมมองหลายวิชารวมกัน สอความหมายเป็นแนวคด
ี่
หรือความคิดรวบยอด (Concept) แก่ผู้เรียน ควรเป็นหัวข้อเรื่องที่ทันสมัย น่าสนใจ และมีความหมาย

50



ู้

ี่


สาหรับผเรียน ทาให้ เกิดความกระหาย อยากจะเรียนรู้ และพร้อมทจะสบสวน (Inquiry) แสวงหา
ค าตอบด้วยตนเอง ซึ่งผู้ออกแบบ กิจกรรมควรพิจารณาในประเด็น ต่อไปนี้
ู้

1) หัวข้อเรื่อง มีความยากง่าย เหมาะสมกับระดบความรู้ความสามารถของผเรียน ไม่
ยุ่งยากหรือซับซ้อนจนเกินไป และที่ส าคัญต้องมีความเป็นไปได้
2) หัวข้อเรื่อง มีแหล่งความรู้ที่จะศึกษาค้นคว้า
3) หัวข้อเรื่อง สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความพร้อมของผู้เรียน

2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการจดการเรียนรู้


ี่


ที่ ผู้เรียนได้ลงมือกระท า และได้ใช้กระบวนการคดเกี่ยวกับสงทเขาไดกระทาลงไป (Bonwell, 1991)
ิ่
ู้

ี่
ู้
ู่
โดยผเรียน จะเปลยนบทบาทจากผรับความรู้ (receive) ไปสการมีสวนร่วมในการสร้างความรู้ (Co-

ี่

Creators) ความรู้ทเกิดขึ้นเป็นความรู้ทไดจากประสบการณ ดงนั้น กระบวนการในการจดกิจกรรม
ี่




การเรียนรู้ ผู้เรียนต้องมีโอกาส ลงมือกระท ามากกว่าการฟังเพียงอย่างเดยว การจดกิจกรรมให้ผเรียน
ู้
ได้เรียนรู้ด้วยการอ่าน การเขียน การอภิปรายกับเพื่อน การวิเคราะห์ปัญหา และใช้กระบวนการคดขั้น



สูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินคา และการสร้างสรรค เป็นกระบวนการเรียนรู้ท ี่
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือ ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน กิจกรรมการเรียนรู้เชงรุก


ู้
(Active Learning) ทาให้ผเรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ ให้อยู่คงทนไดนาน กระบวนการเรียนรู้



ู้
ิ่


เชิงรุก จะสอดคลองกับการทางานของสมองและความจา โดยผเรียน สามารถเก็บข้อมูล และจาสงท ี่

ู้



ิ่
เรียนรู้โดยมีสวนร่วม มีปฏิสมพันธ์กับเพื่อน ผสอน สงแวดลอม ผานการปฏิบัตจริง สามารถเก็บ

ความจ าในระบบความจ าระยะยาว (Long Term Memory)
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก อาจแยกการออกแบบกิจกรรมได้ 2 ลักษณะ คือ
1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ในหน่วยการเรียนรู้หรือแผนการจัดการเรียนรู้
2) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือกิจกรรมเสริมทักษะ
อื่นๆ

3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ู้


ี่

กจกรรมการเรยนร เป็นกระบวนการปฏิบัตตางๆ ของผเรียนทก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี

ู้
ี่
ประสทธิภาพ ไดแก่ วิธีการ/กิจกรรมทครูหรือผเกี่ยวข้อง น ามาใชเพื่อให้ผเรียนไดเรียนรู้ ตาม

ู้



ู้

ี่

ื่




ี้
เป้าหมาย วัตถุประสงค สอดคลองเชอมโยงกับมาตรฐานตวชวัด ทก าหนดไว้ในหลกสตรสถานศกษา
ี่
โดยมีองคประกอบท สาคญของการจดการเรียนรู้ คอกระบวนการ/วิธีการจดกิจกรรมการเรียนรู้ท ี่







เหมาะสม ซึ่งจะมีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่างแทจริง โดยกิจกรรมการเรียนรู้ มีผลตอผเรียน ใน

ู้
ู้

ื่
ื่
ุ้
การกระตนความสนใจ สนุกสนาน ตนตวในการเรียน มีการเคลอนไหว เปิดโอกาสให้ผเรียนประสบ



ความส าเร็จในการเรียนรู้ ปลูกฝังความเป็น ประชาธิปไตย การใชทกษะชวิต ฝกความรับผดชอบ การ


ท างานร่วมกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลตามศักยภาพ และ คุณลักษณะทด นอกจากนี้ กิจกรรมการเรียนรู้ ยัง

ี่
ต้อง ส่งเสริมทักษะกระบวนการต่างๆ เช่น การคิด สร้างสรรค์ การสื่อสาร การแก้ปัญหา กระบวนการ




กลม การบริหารจดการ ฝกการใชเทคโนโลยีให้เกิด ประโยชน์ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดชวิต
ุ่

51




ู้
ู้
ี่

ี่
สร้างปฏิสมพันธ์ทดระหว่างผเรียนกับผเรียนกับครู และบุคคลทเกี่ยวข้องอื่นๆ สร้างความเข้าใจ
บทเรียนและส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนในทุกๆ ด้าน
หลักการจัดประสบการณ์หรอกิจกรรมการเรียนรู้

ื่
1) เลือกกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ สอดคลอง เชอมโยงกับ



ี่
ู้


ี่
มาตรฐานหรือตวชวัด หากเป็นทกษะ ควรเป็นทกษะทปฏิบัตแลวผเรียนเปลยนแปลงพฤตกรรม


ี้
ได้ตามวัตถุประสงค์


2) เลือกกิจกรรมที่ผู้เรียนพึงพอใจ สนุก น่าสนใจ ไม่ซ้ าซาก มีประโยชน์ตอการน าไปใช ใน
ชีวิตประจ าวัน และท าให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน

ี่


ี่

ู้
3) เลอกกิจกรรมทเหมาะสมกับความสามารถ ดานร่างกายของผเรียนทจะปฏิบัตได และ
ควรค านึงถึงประสบการณ์เดิม เพื่อจัดกิจกรรมใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง
4) เลือกกิจกรรมที่ส่งเสริมจุดมุ่งหมายในการจัดการเรียนรู้หลายๆ ด้าน
5) เลอกกิจกรรมให้หลากหลาย คานึงถึงความแตกตางระหว่างบุคคล เหมาะสมกับวัย



ความสามารถและความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้มากที่สุด
6) ใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม

7) ใช้เทคนิควิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย สงเสริมกระบวนการคิดและทักษะต่างๆ

ู้
8) ผเรียนมีสวนร่วมในการทากิจกรรมและการประเมินผล มีการวัดและประเมินผล

ที่หลากหลายและสอดคล้องกับกิจกรรม

4. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการตรวจสอบผลการดาเนิน



ี่

กิจกรรมว่าบรรลตามเป้าหมาย ทก าหนดไว้หรือไม่ มีสวนใดตองปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาตอไป โดย
ประเมินทั้งกระบวนการในการจัดกิจกรรม และประเมินคุณภาพของผู้เรียน ใช้การประเมินหลากหลาย
ู้
ู้
ู้
วิธี ให้ทุกฝ่ายได้มีโอกาสในการประเมิน เชน ครูประเมินผเรียน ผเรียนประเมินเพื่อน ผเรียนประเมิน



ตนเอง วิธีการในการประเมินควรถูกตองเหมาะสมกับความรู้ ทกษะ และคณลกษณะของผเรียนท ี่

ู้

ก าหนดไว้ในเป้าหมายของการจัดกิจกรรมนั้น ๆ
การประเมินผลการเรียนรู้เชงรุก ควรใชหลกการประเมินตามสภาพจริงและน าผลการ




ประเมินมาพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยมีลักษณะ ดังนี้ 1) ใช้ผู้ประเมินจาก หลายฝาย เชน ผเรียน

ู้
ู้

ู้
เพื่อน ผสอน ผเกี่ยวข้อง 2) ใชวิธีการหลากหลายวิธี/ชนิด เชน การสงเกต การปฏิบัต การทดสอบ





การรายงานตนเอง 3) ประเมินหลายๆ ครั้งในแตละชวงเวลาของการเรียนรู้ เชน ก่อนเรียน ระหว่าง

ู้
เรียน สิ้นสุดการเรียน ติดตามผล และ 4) สะท้อนผลการประเมินแก่ผเรียนและผเกี่ยวข้อง เพื่อน าไปส ู่
ู้
การพัฒนาผู้เรียน

52




การประเมินผลกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรก (Active learning)

























การประเมินผลกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)


การเรียนรู้เชงรุก (Active learning) ในการจดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

เป็นกิจกรรมที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ผู้สอนสามารถใช้วิธีการประเมินผล ดังนี้

1. การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปนการประเมินดวยวิธีการ

ี่


ี่

ู้
ี่

ทหลากหลายเพื่อให้ไดผลการประเมินทสะทอนความสามารถทแทจริงของผเรียน จงควรใชการ



ประเมินการปฏิบัต (Performance Assessment) ร่วมกับการประเมินดวยวิธีการอื่น และก าหนด
เกณฑ์ในการประเมิน (Rubrics) ให้สอดคล้องหรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง
2. การประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) เป็นวิธีการประเมินงานหรือ
กิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผเรียนปฏิบัตงานเพื่อให้ทราบถึงผลการพัฒนาของผเรียน การประเมิน

ู้
ู้


ิ่
ู้


ลกษณะนี้ ผสอนตองเตรียมสงสาคญ 2 ประการ คอ ภาระงาน (Tasks) หรือเกณฑ์การประเมิน


ี่
ู้


กิจกรรมที่จะให้ผเรียนปฏิบัต (Scoring Rubrics) การประเมินการปฏิบัต จะชวยตอบคาถามททาให้




ั้

ี่

ู้
ิ่

เรารู้ว่า “ผเรียนสามารถน าสงทเรียนรู้ไปใชไดดเพียงใด” ดงนั้น เพื่อให้การปฏิบัตในระดบชนเรียน

เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องท าความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับประเด็นต่อไปนี้
1) สิ่งที่เราต้องการจะวัด (พิจารณาจากมาตรฐาน/ตัวชี้วัด หรือผลลัพธ์ที่เราต้องการ)
2) การจัดการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการประเมินการปฏิบัติ
3) รูปแบบหรือวิธีการประเมินการปฏิบัติ
4) การสร้างเครื่องมือประเมินการปฏิบัติ
5) การก าหนดเกณฑ์ในการประเมิน (Rubrics)
3. การประเมนโดยการใช้ค าถาม (Questioning) คาถามเป็นวิธีหนึ่งในการกระตน/
ุ้


ชี้แนะให้ผู้เรียนแสดงออกถึงพัฒนาการการเรียนรู้ของตนเอง รวมถึงเป็นเครื่องมือวัดและประเมินเพื่อ


พัฒนาการเรียนรู้ ดังนั้น เทคนิคการตั้งค าถามเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงเป็นเรื่องสาคญยิ่งท ี่


ั้

ผู้สอนต้องเรียนรู้และ น าไปใชให้ไดอย่างมีประสทธิภาพ การตงคาถามเพื่อพัฒนาผเรียนจงเป็นกลวิธี


ู้

53



ู้
ั้
ู้



ี่

ู้


สาคญทผสอนใชประเมินการเรียนรู้ของผเรียนรวมทงเป็นเครื่องสะทอนให้ผสอนสามารถชวยเหลอ
ผู้เรียนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้

4. การประเมนโดยการการสนทนา( Communication) เป็นการสอสาร 2 ทางอีก
ื่
ประเภทหนึ่ง ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน สามารถด าเนินการเป็นกลมหรือรายบุคคลก็ได โดยทวไปมักใช ้
ั่
ุ่



ู้
อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อตดตามตรวจสอบว่า ผเรียนเกิดการเรียนรู้เพียงใด เป็นข้อมูลสาหรับพัฒนา



วิธีการนี้อาจใชเวลา แตมีประโยชน์ตอการคนหา วินิจฉัย ข้อปัญหา ตลอดจนเรื่องอื่นๆ ทอาจเป็น
ี่

ปัญหา อุปสรรคต่อการเรียนรู้ เช่น วิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น
5. การประเมนการสังเกตพฤตกรรม (Behavioral Observation) เป็นการเก็บข้อมูล


ู้
จากการดู การปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนโดยไม่ขัดจังหวะการท างานหรือการคิดของผเรียน การสงเกต

พฤติกรรมเป็นสิ่งที่ ท าได้ตลอดเวลา แต่ควรมีกระบวนการและจุดประสงค์ที่ชัดเจนว่าตองการประเมิน




อะไร โดยอาจใชเครื่องมือ เชน แบบมาตรประมาณคา แบบตรวจสอบรายการ สมุดจดบันทก เพื่อ





ประเมินผู้เรียนตามตัวชี้วัด และควรสงเกตหลายครั้ง หลายสถานการณ และหลายชวงเวลา เพื่อขจด
ความล าเอียง
6. การประเมนตนเองของผู้เรยน (Student Self-assessment) การประเมินตนเอง


นับเป็นทั้งเครื่องมือประเมินและเครื่องมือพัฒนาการเรียนรู้ เพราะทาให้ผเรียนไดคดใคร่ครวญว่า ได ้



ู้

ี่



ี่
เรียนรู้อะไร เรียนรู้ อย่างไร และผลงานททานั้นดแลวหรือยัง การประเมินตนเองจงเป็นวิธีหนึ่งทจะ
ี่
ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้เรียน ทสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. การประเมินโดยเพื่อน (Peer Assessment) เป็นเทคนิคการประเมินอีกรูปแบบหนึ่ง
ที่น่าจะน าใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงคุณลักษณะของงานทมีคณภาพ เพราะการทผเรียนจะบอกได ้
ี่
ู้

ี่
ว่าชิ้นงานนั้น เป็นเชนไร ผเรียนตองมีความเข้าใจอย่างชดเจนก่อนว่าเขาก าลงตรวจสอบอะไรในงาน



ู้

ของเพื่อน ฉะนั้นผู้สอน ต้องอธิบายผลที่คาดหวังให้ผู้เรียนทราบก่อนทจะลงมือประเมิน การทจะสร้าง
ี่
ี่
ความมั่นใจว่าผู้เรียนเข้าใจการประเมินรูปแบบนี้ ควรมีการฝึกผู้เรียน

54



การออกแบบหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนร ู้
ที่เน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)





ี่
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้และแผนการจดการเรียนรู้ทเน้นการจดการเรียนเชงรุก
(Active Learning) ครูผู้สอนจะมีการพิจารณาตรวจสอบโครงสร้างรายวิชาทสอนก่อน จงดาเนินการ

ี่



ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการจดการเรียนเชงรุก (Active Learning)
ให้สอดคล้องกับหลักสูตรในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวิชา
ู้


เป็นการก าหนดขอบข่ายของรายวิชาทจะจดสอนเพื่อชวยให้ผสอนและ ผเกี่ยวข้อง เห็นภาพรวมของ
ู้
ี่





แตละรายวิชาว่า ประกอบดวย หน่วยการเรียนรู้ จานวนเทาใด เรื่องใดบ้าง แตละหน่วยพัฒนาให้
ผู้เรียนบรรลุตัวชี้วัดใด เวลาที่ใช้จัดการเรียนการสอน และสัดส่วนการเก็บคะแนนของ รายวิชานั้นเป็น

อย่างไร กระบวนการจดทาโครงสร้างรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ อาจดาเนินการ โดยมี ขั้นตอน


เริ่มต้น หรือลงท้ายที่แตกต่างกันได้หลายวิธี เช่น















ื่



ู้
การจัดท าโครงสร้างรายวิชาจะชวยให้ครูผสอนเห็นความสอดคลองเชอมโยงของลาดบการ






เรียนรู้ของรายวิชาหนึ่งๆ ว่าครูจะสอนอะไร ใชเวลาสอนเรื่องนั้นเทาไร และจดเรียงลาดบสาระการ
เรียนรู้ต่างๆ อย่างไร ท าให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชาอย่างชัดเจน
โครงสร้างรายวิชา มีองค์ประกอบหลักๆ ดังนี้
- มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนส าหรับหน่วยนั้นๆ

ซึ่งอาจมาจากกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ทสอดคลองกัน มาตรฐานการ
ี่

เรียนรู้/ ตวชวัด อาจมีการสอนหรือฝกซ้ าให้เกิดความชานาญ และมีความรู้กว้างขวางขึ้น ในหน่วย


ี้
การเรียนรู้มากกว่า 1 หน่วยได้
- สาระส าคัญ เป็นความรู้ความคิดความเข้าใจที่ลึกซึ้ง หรือความรู้ทเป็นแก่น เป็นหลกการ
ี่

ของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการหลอมรวมของมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้




- ชื่อหน่วยการเรยนร จะตองสะทอนให้เห็นสาระสาคญของหน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ

ู้
เหมาะสมกับวัย มีความหมายและสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน

55




- เวลา การก าหนดเวลาเรียนควรมีความเหมาะสมและเพียงพอกับการจดกิจกรรม
ี่

การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถตามทระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด และ
ี้

ควรพิจารณาในภาพรวมของทกหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชานั้นๆ อย่างเหมาะสม

- น้ าหนักคะแนน การก าหนดน้ าหนักคะแนนเป็นสวนชวยให้เห็นทศทาง การจดเวลา




ี้




การจดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ให้สอดคลองกับความสาคญของมาตรฐาน/ตวชวัด

ในหน่วย การเรียนรู้นั้นว่าเป็นมาตรฐานและตัวชี้วัด ที่เป็นความรู้ ประสบการณ์พื้นฐานในการตอยอด
ความรู้หรือ พัฒนาการเรียนรู้ในเรื่องอื่น ๆ หรือพิจารณาจากศักยภาพผู้เรียน ธรรมชาติวิชา ฯลฯ

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน คือ หน่วยการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เป็น


เป้าหมายของหน่วย และองคประกอบภายในหน่วยการเรียนรู้ ไดแก่ มาตรฐานการเรียนรู้และ
ี่
ตัวชี้วัด สาระส าคัญ สาระการเรียนรู้ ชนงานหรือภาระงานทก าหนดให้ผเรียนปฏิบัต กิจกรรมการ
ิ้
ู้



เรียนการสอนและ เกณฑ์การประเมินผลทกองคประกอบของหน่วยการเรียนรู้ จะตองเชอมโยงกับ
ื่

ี่

ี้
มาตรฐานและตวชวัดทเป็น เป้าหมายของหน่วย การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็น

ี่




ขั้นตอนสาคญทสดของการจดทาหลกสตรสถานศกษา เพราะเป็นสวนทน ามาตรฐานการเรียนรู้ไปส ู่



ี่


การปฏิบัตในการเรียนการสอนอย่างแทจริง นักเรียนจะบรรลมาตรฐานหรือไม่ อย่างไร ขึ้นอยู่กับ


ขั้นตอนนี้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช Backward Design เป็นการออกแบบที่

ยึดเป้าหมายการเรียนรู้แบบย้อนกลับโดยเริ่มจากการก าหนดเป้าหมายปลายทางทเป็นคณภาพผเรียน

ี่
ู้


ู่
ี่
ทคาดหวังเป็นจดเริ่มตนแลวจงคดออกแบบองคประกอบอื่น เพื่อน าไปสปลายทาง และทกขั้นตอน







ื่

ของ กระบวนการออกแบบตองเชอมโยงสมพันธ์กันอย่างเป็นเหตเป็นผล ในการน า Backward
Design มาใช้ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน มีขั้นตอนที่ส าคัญ 3 ขั้นตอน ดังนี้
ี้


ี่
ี่
ขั้นตอนท 1 ก าหนดเป้าหมายการเรียนรู้ทสะทอนมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด หรือ

ผลการเรียนรู้ ซึ่งบอกให้ทราบว่าตองการให้นักเรียนรู้อะไร และสามารถทาอะไรได เมื่อจบหน่วย


การเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 2 ก าหนดหลักฐาน ร่องรอยการเรียนรู้ที่ชัดเจนและแสดงให้เห็นว่าผเรียนเกิดผล
ู้
การเรียนรู้ตามเป้าหมายการเรียนรู้ มีการก าหนดให้ผเรียนมีการทดสอบก่อนและหลงการเรียนรู้
ู้

ี้

ประจ าหน่วย การเรียนรู้ที่เป็นข้อสอบได้มาตรฐานสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด และ

สมพันธ์กับข้อสอบ O-NET มีการก าหนดเกณฑ์การผานการสอบและเกณฑ์การผานของผเรียนท ี่


ู้

รองรับข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ู้

ี่
ี่

ขั้นตอนท 3 ออกแบบกระบวนการ กิจกรรมการเรียนรู้ทชวยพัฒนาผเรียนให้มีคณภาพ
ี่


ตามเป้าหมายการเรียนรู้ ที่มุ่งค านึงถึงการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ทเน้นการจดการเรียนรู้เชงรุก
(Active Learning) การจัดท าหน่วยการเรียนรู้ สามารถท าได้ 2 วิธี คือ

56



วิธีที่ 1 ก าหนดประเด็นหรือหัวเรื่อง แล้วจึงวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

แนวคิดหนึ่งของการก าหนดหน่วยการเรียนรู้ คือ การก าหนดประเดนหรือหัวเรื่อง(theme)
ี่

ู้
ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้ต่างๆ เข้ากับชีวิตจริงของผเรียน ประเดนทจะน ามาใชเป็นกรอบในการ

ก าหนด หน่วยการเรียนรู้ ควรมีลักษณะดังนี้

ี่

ุ่


- ประเดนทเกี่ยวข้องกับองคความรู้ ความคดรวบยอด หลกการของศาสตร์ในกลมสาระ
การเรียนรู้ที่เรียน
ี่
ู่
ื่
ั่
ี่

- ประเดนทเกี่ยวข้องกับปัญหาทวไป ทอาจเชอมโยงไปสผลทเกิดขึ้นทงทางบวกและ
ั้
ี่
ทางลบจากประเด็นปัญหานั้น
ทั้งนี้ การก าหนดประเด็นอาจพิจารณาจากค าถาม ต่อไปนี้
1) ผู้เรียนสนใจอะไร/ ปัญหาที่สนใจศึกษา
2) ผู้เรียนมีความสนใจ ประสบการณ์ และความสามารถในเรื่องอะไร
3) หัวเรื่องสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและความต้องการของชุมชนหรือไม่
4) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาที่เหมาะสมในด้านใดบ้าง
5) มีสื่อ/แหล่งการเรียนรู้เพียงพอหรือไม่
ื่


6) หัวเรื่องทเลอก เหมาะสมและสามารถเชอมโยงประสบการณการเรียนรู้ในกลมสาระ
ุ่
ี่
การเรียนรู้ต่างๆ ได้หลากหลายหรือไม่


โดยสรปหน่วยการเรยนรที่มคุณภาพ คอ หน่วยการเรียนรู้ททาให้ผเรียนไดเรียนรู้
ู้
ี่

ู้





ในความรู้ทลกซึ้งมีความหมายสามารถน าไปใชในชวิตประจาวันได และทสาคญจะตองตอบสนอง

ี่

ี่




มาตรฐาน และตัวชี้วัดด้วย

57




































































ี้
ี่

* คณลกษณะหมายรวมถึงคณลกษณะทปรากฏอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค ์

58



วิธีที่ 2 ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

ี้


การสร้างหน่วยการเรียนรู้วิธีนี้ ใชวิธีการหลอมรวมตวชวัดตางๆ ทปรากฏอยู่ในคาอธิบาย

ี่
รายวิชา
















































ี่


ี้
* คณลกษณะหมายรวมถึงคณลกษณะทปรากฏอยู่ในมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด และ


คุณลักษณะอันพึงประสงค์



ี้

เป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ คอ มาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัด ซึ่งแตละหน่วยการ


ี้
เรียนรู้ อาจระบุมากกว่าหนึ่งมาตรฐานและตวชวัด แตไม่ควรมากเกินไป และควรมีมาตรฐานและ

ี่

ตัวชี้วัดทหลากหลายลกษณะ เชน มาตรฐานทเป็นเนื้อหา มาตรฐานทเป็นกระบวนการ เพื่อชวยให้
ี่
ี่




ู้
การจดกิจกรรมการเรียนรู้มีความหมายตอผเรียน สามารถสร้างเป็นแก่นความรู้ไดชดเจนขึ้น และ

น าไปปรับใช้กับสถานการณ์จริงได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของธรรมชาติกลุ่มสาระการเรียนรู้
เนื่องจาก หน่วยการเรียนรู้หนึ่งอาจมีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมากกว่า 1 มาตรฐาน

ี่


ี้


การเรียนรู้และตัวชวัด จงควรหลอมรวมแลวเขียนเป็นสาระสาคญทจะพัฒนาให้เกิดคณภาพเป็นองค ์

59



ี้


รวมแก่ผู้เรียน และเพื่อให้การวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับแตละมาตรฐานและตวชวัด





ั้

จงควรวิเคราะห์และแยกแยะเป็น 3 สวน คอ ความรู้ ทกษะกระบวนการ และคณลกษณะ ทงนี้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด บางตัวอาจมีไม่ครบทั้ง 3 ส่วน ผู้สอนสามารถน าเนื้อหาจากแหลงอื่น






ี่



เชน สาระทองถิ่น และคณลกษณะอันพึงประสงคทก าหนดไว้ในหลกสตรแกนกลางการศกษาขั้น
พื้นฐาน มาเพิ่มเติม เสริมได้

ชิ้นงาน หรือภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
ชิ้นงานและหรือภาระงาน หมายถึง สิ่งต่อไปนี้
ชิ้นงาน ได้แก

1. งานเขียน เช่น เรียงความ จดหมาย โคลงกลอน การบรรยาย การเขียนตอบ ฯลฯ
2. ภาพ / แผนภูมิ เช่น แผนผัง แผนภูมิ ภาพวาด กราฟ ตาราง ฯลฯ
3. สิ่งประดิษฐ์ เช่น งานประดิษฐ์ งานแสดงนิทรรศการ หุ่นจ าลอง ฯลฯ
ภาระงาน ได้แก่




การพูด/รายงานปากเปลา เชน การอ่าน กลาวรายงาน โตวาท ร้องเพลง สมภาษณ์


บทบาทสมมติ เล่นดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย ฯลฯ

งานทมีลกษณะผสมผสานกันระหว่างชนงาน ภาระงาน ไดแก่ การทดลอง การสาธิต
ี่

ิ้
ละคร วีดิทัศน์ ฯลฯ
ชิ้นงานและหรือภาระงานเป็นหลักฐาน/ร่องรอย ว่านักเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และ
ู้
ู้
ี้

ตวชวัดในหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ อาจเกิดจากผสอนก าหนดให้ หรืออาจให้ผเรียนร่วมกันก าหนดขึ้น
จากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ หลักการก าหนดชิ้นงานและหรือภาระงาน มีดังนี้
1. ดูจากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ ระบุไว้ชัดเจนหรือไม่

2. ภาระงานหรือชิ้นงานครอบคลุมตัวชี้วัดที่ระบุไว้หรือไม่ อาจระดมความคดจากเพื่อนครู
หรือผู้เรียน หรืออาจปรับเพิ่มกิจกรรมให้เกิดชิ้นงานหรือภาระงานที่ครอบคลุม
ื่
3. ชิ้นงานชิ้นหนึ่ง หรือภาระงาน 1 อย่าง อาจเชอมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้เดยวกัน

และ/หรือตัวชี้วัดต่างมาตรฐานการเรียนรู้กันได้
4. ควรเลือกตัวชี้วัดที่จะให้เกิดงานที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาสตปัญญาหลายๆ ดานไป


พร้อมกัน เช่น การแสดงละคร บทบาทสมมติ เคลื่อนไหวร่างกาย ดนตรี เป็นต้น
5. เลือกงานที่ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้และท างานที่ชอบใช้วิธีท าที่หลากหลาย
ู้

6. เป็นงานที่ให้ทางเลือกในการประเมินผลที่หลากหลาย โดยบุคคลต่างๆ เชน ผปกครอง
ผู้สอน ตนเอง เป็นต้น
ี่
ิ้

ู้
ชนงานและหรือภาระงานทแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของผเรียนทไดรับการพัฒนาการ
ี่
เรียนรู้ของแต่ละเรื่อง หรือแต่ละขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น าสการประเมินเพื่อปรับปรุง
ู่
เพิ่มพูนคุณภาพ ผู้เรียน/วิธีสอนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินโดยใช้รูบริค (rubric) เป็นการประเมินที่เน้นคุณภาพของชิ้นงานหรือภาระงาน
ี้
ี่
ทชให้เห็นระดบความรู้ ความสามารถของผเรียน การประเมินโดยใชรูบริค (rubric) ชวยในการ



ู้

60



สื่อสารอีกทางหนึ่ง ให้ผู้เรียนมองเห็นเป้าหมายของการท าชิ้นงานหรือภาระงานของตนเอง และไดรับ

ความยุติธรรมในการให้คะแนนของผู้สอน ตามคุณภาพของงาน อย่างไรก็ตามการประเมินชิ้นงานหรือ


ิ้

ภาระงานอาจใช้วิธีการอื่นได ตามความเหมาะสมกับธรรมชาตของชนงานหรือภาระงาน เชน การทา


แบบ check list การทดสอบ เป็นต้น
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้



ี่

การเรียนรู้เป็นหัวใจสาคญทจะชวยให้นักเรียนเกิดการพัฒนา ทาให้นักเรียนมีความรู้และ

ั้

ี่
ี้


ั้
ทกษะตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวชวัดชนปีทก าหนดไว้ในแตละหน่วยการเรียนรู้ รวมทงชวยใน
ู้

ี่


ู้



การปลกฝง คณธรรม จริยธรรม และคานิยมทพึงประสงคให้เกิดแก่ผเรียน ดงนั้นผสอนจงควรทราบ

หลักการและขั้นตอนในการจัดกิจกรรม ดังนี้
1. หลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ู่

1.1 เป็นกิจกรรมที่พัฒนานักเรียนไปสมาตรฐานการเรียนรู้ และตวชวัดชนปีทก าหนดไว้ใน
ี่
ี้
ั้
หน่วยการเรียนรู้

1.2 น าไปสู่การเกิดหลักฐานการเรียนรู้ ชิ้นงานหรือภาระงานทแสดงถึงการบรรลมาตรฐาน
ี่
การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของนักเรียน
1.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 เป็นกิจกรรมที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ
1.5 มีความหลากหลายและเหมาะสมกับนักเรียนและเนื้อหาสาระ
1.6 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
1.7 ช่วยให้นักเรียนเข้าสู่แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย
1.8 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
2. ขั้นตอนในการจัดกิจกรรม

การจดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีศกยภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้/



ี่


ี่
ี้
ตวชวัดทก าหนดเป้าหมายการเรียนรู้ทพึงประสงคไว้แลวนั้น ครูผสอนตองคดทบทวนย้อนกลบว่ามี

ู้



กระบวนการ หรือขั้นตอนกิจกรรม ตงแตตนจนจบอย่างไร จงจะทาให้ผเรียนมีขั้นตอนการพัฒนา
ั้

ู้






ความรู้ความ เข้าใจ ทกษะ ความสามารถตางๆ รวมถึงคณลกษณะทพึงประสงค จนบรรลเป้าหมาย

ี่
การเรียนรู้ และเกิดหลักฐานของการเรียนรู้ที่ก าหนด ดังแผนภาพต่อไปนี้

61







ู้
ี่
ความรู้ความ เข้าใจทลกซึ้ง อันเป็นผลมาจากการสร้างความรู้ของผเรียนดวยการทาความ




ั้
ิ่
ี่
เข้าใจหรือแปลความหมายในสงทตนเองไดเรียนรู้ทงหมดทกแง่ทกมุมตลอดแนว ดวยวิธีการถาม


ี้

คาถามการแสดงออก และการสะทอนผลงาน ซึ่งสามารถใชตวชวัดดงตอไปนี้ในการตรวจสอบว่า



ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จนกลายเป็นความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งแล้วหรือไม่ ความเข้าใจ 6 ด้าน ได้แก่





- ผู้เรยนสามารถอธิบาย (Can explain) เรื่องราวตาง ๆ ไดอย่างถูกตอง มีหลกการ โดย
ี่
ื่
แสดงให้เห็นถึงการใชเหตผล ข้อมูล ข้อเทจจริง ปรากฏการณตางๆ ทน่าเชอถือ ประกอบในการ





อ้างอิง เชื่อมโยงกับประเด็นปัญหา สามารถคาดการณ์ไปสู่อนาคต



- ผู้เรยนสามารถแปลความหมาย (Can interpret) เรื่องราวตางๆ ไดอย่างมีความหมาย









ทะลปรุโปร่ง ตรงประเดน กระจางชด โดยอาจใชแนวคด ทฤษฎี เหตการณทางประวัตศาสตร์ หรือ
มุมมองของตนเองประกอบการตีความและสะท้อนความคิดเห็น
- ผู้เรยนสามารถประยุกตใช้ความร (Can apply) ไดอย่างมีประสทธิภาพ สร้างสรรค์



ู้

เหมาะสมกับสถานการณ์ คล่องแคล่ว ยืดหยุ่น และสง่างาม


- ผู้เรยนสามารถมองจากมมมองที่หลากหลาย มองเห็น รบรประเดนความคิดตางๆ

ู้


ื่

(Have perspective) และตดสนใจทจะเชอหรือไม่เชอ โดยผานขั้นตอน การวิพากษ์ วิจารณ และ

ี่
ื่


มุมมองในภาพกว้างโดยมีแนวคิด ทฤษฎี ข้อมูล ข้อเท็จจริงสนับสนุนการรับรู้นั้นๆ

- ผู้เรยนสามารถเข้าใจความรสึกของผู้อื่น บอกคุณค่าในสิ่งตางๆ ที่คนอื่นมองไมเห็น


ู้
(Can empathize) หรือคิดว่ายากที่จะเชื่อถือได้ ด้วยการพิสูจน์สมมติฐานเพื่อทาให้ ข้อเทจจริงนั้นๆ


ปรากฏมีความละเอียดอ่อนที่จะซึมซับ รับทราบความรู้สึกนึกคิดของผู้เกี่ยวข้อง




- ผู้เรียนรู้จักตนเอง มีความตระหนักรถงความสามารถทางดานสตปัญญา วถชีวต นิสัย


ู้
ใจคอ ความเป็นตัวตนของตนเอง (Have self-knowledge) ซึ่งคือเบ้าหลอมความ เขาใจ ความหยั่งรู้


ิ่
ิ่
ในเรื่องราวต่างๆ มีความตระหนักว่า มีสงใดอีกที่ยังไม่เข้าใจ และสามารถสะทอนความหมายของสงท ี่

ู้
ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ ปรับตวได รู้จก ใคร่ครวญ และมีความเฉลยวฉลาด ครูผสอนสามารถใช ้



ั้
ตัวชี้วัดความรู้ความเข้าใจคงทน ทง 6 ตวชวัดนี้ เป็นเครื่องมือในการก าหนด กิจกรรมการเรียนรู้และ

ี้
วิธีการวัดประเมินผลเรียนรู้ว่า ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ตรงตามทก าหนดไว้ใน มาตรฐานการเรียนรู้/
ี่
ตัวชี้วัด และเป้าหมายหลักของการจัดการเรียนรู้หรือไม่

62



การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้
แผนภาพ แสดงความสัมพันธ์ของหน่วยการเรียนรู้สู่การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้












































ิ้

จากแผนภาพ ภายหลงการออกแบบหน่วยการเรียนรู้เสร็จสน เพื่อให้การจดการเรียนรู้

สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรวางแผนจัดแบ่งเนื้อหาสาระ เวลา ให้ครอบคลมหน่วยการ
ู้
เรียนรู้ จากนั้น น ามาจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลา และการพัฒนาผเรียน ในการ
ู้


จดทาแผนการจดการเรียนรู้ ครูผสอนจะตองก าหนดเป้าหมายสาหรับผเรียนในการจดการเรียนรู้

ู้



โดยสามารถก าหนดเป็น จุดประสงค์การเรียนรู้ของแผนการเรียนรู้นั้นๆ ซึ่งจุดประสงคการเรียนรู้ในแต ่


ู่

ู้

ี้


ละแผนการจดการเรียนรู้ ตองน าพาผเรียนไปสมาตรฐานการเรียนรู้/ตวชวัด สมรรถนะสาคญของ
ี่




ู้

ผเรียน และคณลกษณะอันพึงประสงคทก าหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ จากนั้นตองก าหนดการจด
ู้

กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผเรียนบรรลเป้าหมาย ครูควรใชเทคนิค/วิธีการสอนทหลากหลาย โดย

ี่
พิจารณาเลือกน ากระบวนการเรียนรู้ที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ ที่เน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ซึ่งสามารถน ากระบวนการเรียนรู้ดังต่อไปนี้มาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม
กับธรรมชาติวิชา เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้าง ความรู้ กระบวนการคด






กระบวนการทางสงคม ฯลฯ รวมทั้งให้ศกษาการน าเทคนิควิธีการสอนมาใชในการจดการเรียนรู้ดวย
และในการจัดการเรียนรู้ ครูผสอนตองรู้จกเลอกใชสอ/แหลงเรียนรู้ ภูมิปัญญา ทองถิ่น มาใชในการ

ื่






ู้
จัดกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สื่อที่น ามาใช้ต้องกระตุ้น ส่งเสริมให้ผเรียนเกิด การเรียนรู้ได ้
ู้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ยึดสื่อใดสื่อหนึ่งเป็นหลักในการจัดการเรียนรู้

63




ู้


ั้

ทงนี้ กิจกรรมในแตละแผนการจดการเรียนรู้ตองสงเสริมและพัฒนาให้ผเรียนมี

ความสามารถ ที่จะท าชิ้นงาน/ภาระงาน เมื่อครบทุกแผนการจดการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ


ผเรียนตองสร้าง ชนงาน/ภาระงานของหน่วยการเรียนรู้ได นอกจากนี้ในการจดการเรียนรู้ตอง
ิ้

ู้


ก าหนดว่าจะใช้เครื่องมือใดวัด และประเมินผลผเรียนให้บรรลตามเป้าหมายทก าหนด ดงนั้น ในการ
ู้

ี่

ู้

ู้

วัดและประเมินผลครูผสอนตองประเมิน ผเรียนตลอดการจดการเรียนรู้ โดยเลอกใชเครื่องมือท ี่

เหมาะสมกับลักษณะกิจกรรมและสิ่งที่ต้องการวัด นอกเหนือจากการประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน


ในการจดทาแผนการจดการเรียนรู้ องคประกอบของแผนการจดการเรียนรู้เป็นไปตามท ี่





โรงเรียนก าหนด โดยควรมีองคประกอบหลกทสาคญ คอ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวชวัด จดประสงค ์


ี้


ี่


ู้




การเรียนรู้ สาระสาคญ สาระการเรียนรู้ ทกษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคญของผเรียน เจต

ื่
ิ้
คติ/คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ภาระงาน/ชนงาน กิจกรรมการเรียนรู้ สอและแหลงการเรียนรู้ การ

วัดและประเมินผล บันทก ผลหลงการจดการเรียนรู้ ความคดเห็นของผบริหารโรงเรียน และ
ู้



ภาคผนวกแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้

64



ส่วนที่ 4

แนวทางการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา






การนิเทศการศกษามีความสาคญตอการพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสทธิภาพในการจด


ู้
ู้

การศึกษาของสถานศึกษา เพื่อให้ผบริหารสถานศกษา ครูผสอน และบุคลากรทางการศกษามีความรู้







ั้
ความเข้าใจในหลกสตร สามารถจดการเรียนรู้ไดอย่างมีประสทธิภาพ รวมทงการบริหารจดการ และ



ุ่


ี่
ปัญหาอื่นๆ ทสงผลตอคณภาพการศกษา ซึ่งกลมนิเทศ ตดตามและประเมินผลการจดการศกษา





ส านักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ดาเนินการ โดยใชกระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ


ี่
ซี อี (APICE Model) ดังแผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 ดังนี้

แผนภาพที่ 1 การนิเทศการจัดการเรียนรเชิงรก Active Learning
ู้

เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)


ศึกษาสภาพ และความต้องการ
(Assessing Needs : A)


การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P)


การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ

(Informing : I)


การนิเทศแบบโค้ช
(Coaching : C)


การประเมินผลการนิเทศ
(Evaluating : E)

65



แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการนิเทศการจัดการเรียนรเชิงรุก Active Learning
ู้
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)


กรอบแนวคิดการนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)



ศึกษาสภาพ และความต้องการ ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความต้องการ
(Assessing Needs : A)


ก าหนดตัวชี้วัดความส าเร็จ (KPI)
การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P) สร้างสื่อ/นวัตกรรม และเครื่องมือการนิเทศ



ก าหนดกิจกรรมและปฏิทินการนิเทศ

การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ส่งเสริม/พัฒนาความรู้ที่เกี่ยวข้องงานนโยบายส าคัญต่างๆ

(Informing : I)

ปฏบัตการนเทศ Coaching เพื่อกระตนให้ผู้บรหารสถานศึกษา
ุ้





การนิเทศแบบโค้ช ครผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/


(Coaching : C) ก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา/ วางแผน/ ดาเนนการแก้ปัญหา/
วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ชื่นชม


รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการนิเทศ


ไม่มีคุณภาพ

ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ ปรับปรุง/
พัฒนา

มีคุณภาพ
สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศ
การประเมินผลการนิเทศ

(Evaluating : E)

น าเสนอและเผยแพร่ผลการนิเทศ (จัดนิทรรศการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ยกย่องเชิดชูเกียรติ/Website ฯลฯ)

66



ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A)




ู้
ศกษาสภาพปัจจบัน/ปัญหา และความตองการของศกษานิเทศก์ ผบริหารสถานศกษา

ู้
ี่



ครูผสอน และบุคลากรทเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับประเดนสาคญตางๆ ของงานตามแนวนโยบายแห่งรัฐ

กระทรวงศึกษาธิการ และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)



ู้
ด าเนินการวางแผนการนิเทศ ตดตามร่วมกันระหว่างศกษานิเทศก์ ผบริหารสถานศกษา
ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ก าหนดตัวชี้วัด (KPI)
2.2 จัดท าสื่อและเครื่องมือการนิเทศ ติดตาม
2.3 จัดท าปฏิทินการนิเทศ ติดตาม
ขั้นตอนที่ 3 การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ (Informing : I)





ประชมเชงปฏิบัตการให้ความรู้ เกี่ยวกับประเดนสาคญตางๆ ของงานนโยบายแห่งรัฐ


กระทรวงศึกษาธิการ และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นตอนที่ 4 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C)





ดาเนินการนิเทศแบบโคช ศกษานิเทศก์ ไดดาเนินการร่วมกับทมบริหาร

ู้
ุ้
คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ เพื่อกระตนให้ผบริหารสถานศกษา

ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ด าเนินการ ดังนี้
4.1 วิเคราะห์ปัญหา
4.2 เลือกแนวทางในการแก้ปัญหา
4.3 ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จ
4.4 วางแผนการแก้ปัญหา
4.5 ด าเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ ในแต่ละกิจกรรมที่ได้ก าหนดไว้
4.6 วิเคราะห์ และสรุปผลการด าเนินงาน
4.7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมความส าเร็จ และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมนผลการนิเทศ (Evaluating : E) การประเมินผลการนิเทศ ดาเนินการ


ดังนี้
5.1 รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการนิเทศ
5.2 ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ
5.3 สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศ ติดตาม

5.4 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้ และชื่นชมความสาเร็จ

ู้
5.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่สถานศึกษา ผบริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรท ี่
เกี่ยวข้องที่มีการปฏิบัติงานที่ดี

5.6 เผยแพร่ผลงานการปฏิบัตงานทด สสาธารณชนผาน Website ระบบ ICT และ

ี่

ู่

สารสนเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1

67



การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning


โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อ (APICE Model)







การนิเทศ ตดตามการจดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning ของสถานศกษา สงกัด
ี่





สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 โดยใชกระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี
(APICE Model) ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A)
ู้





ศกษาสภาพปัจจบัน/ปัญหา และความตองการของศกษานิเทศก์ ผบริหารสถานศกษา
ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
1.1 องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
1.2 การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)



ด าเนินการวางแผนการนิเทศ ตดตามร่วมกันระหว่างศกษานิเทศก์ ผบริหารสถานศกษา
ู้
ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดังนี้
2.1 ก าหนดตัวชี้วัด (KPI)
สถานศึกษาร้อยละ 80 มีการจดกิจกรรมการเรียนรู้เชงรุก Active Learning อยู่


ในระดับด ี
2.2 จัดท าสื่อและเครื่องมือการนิเทศ ติดตาม
1) เอกสารเกี่ยวกับองค์ความรู้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
2) เอกสารนโยบายที่เกี่ยวข้อง
3) เอกสารหน่วยการเรียนรู้/แผนการจดการเรียนรู้ทใช Active Learning และ


ี่
ตัวอย่าง
4) แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
5) แบบบันทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

6) แบบประเมินผลการด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
7) แบบบันทึกกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
8) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)



2.3 จดทาปฏิทนการนิเทศ ตดตามการจดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning




ขั้นตอนที่ 3 การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ (Informing : I)
ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
3.1 รูปแบบวิธีการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
3.2 การจัดเอกสารและแบบประเมินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
3.3 การวัดและประเมินผลการจดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning



3.4 การสรุปและการจดทารายงานการจดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning


68



ขั้นตอนที่ 4 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C)


ั้



ดาเนินการนิเทศการจดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning แบบโคช ทงนี้


ศึกษานิเทศก์ ไดด าเนินการร่วมกับทีมบริหาร คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ผบริหารสถานศกษา และ
ู้



ุ้
ู้
ครูวิชาการ เพื่อกระตนให้ผบริหารสถานศกษา ครูผสอน และบุคลากรทางการศกษาดาเนินการ
ู้
จัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดังนี้
4.1 ส ารวจปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning พร้อมกับ

วิเคราะห์สาเหต ุ
4.2 เลือกแนวทางในการแก้ปัญหา
4.3 ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จ
4.4 วางแผนการแก้ปัญหา
4.5 ด าเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ ในแต่ละกิจกรรมที่ได้ก าหนดไว้
4.6 วิเคราะห์ และสรุปผลการด าเนินงาน
4.7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมความส าเร็จ และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating : E)

การประเมินผลการนิเทศ ด าเนินการ ดังนี้
5.1 รวบรวม วิเคราะห์ สงเคราะห์ผลการนิเทศการจดการเรียนรู้เชงรุก Active



Learning ของครูผู้สอน
5.2 ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศการจดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning


ของครูผู้สอน
5.3 สรุปและจดทารายงานผลการนิเทศการจดการเรียนรู้เชงรุก Active Learning




5.4 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้ และชื่นชมความส าเร็จในการจดการเรียนรู้เชงรุก Active


Learning
5.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่สถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ท ี่
ี่
เป็นแบบอย่างทดี
5.6 เผยแพร่ผลงานการปฏิบัตงานของสถานศกษาทมีการจดการเรียนรู้เชงรุก Active
ี่




ี่
Learning ทดสสาธารณชนผาน Website ระบบ ICT และสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นทการศกษา


ู่

ี่


ประถมศึกษาลาปาง เขต 1

69



บรรณานุกรม


กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์
ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษราพิฒน์.
เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย. (2552). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ศักยภาพนักเรียนที่มีแววความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร. วิทยานิพนธ์ปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและการนิเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ู้
ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องค์ความรเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ม ี

ี่
ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งท 7 : กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจฬาลงกรณมหาวิทยาลย.



ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2548.) การนิเทศการสอน. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อกรุงเทพฯ.
มนตรี ศิริจันทร์ชื่น. (2554). งานวิจัยเรื่องการสอนนักศึกษากลุ่มใหญ่ รายวิชา Gsoc2101 ชุมชน
กับการพัฒนาโดยใช้การสอนแบบ Active Learning และการใช้บทเรียน e-learning.
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.

ยุพิน ยืนยง. (2553). การพัฒนารูปแบบการนนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ เพื่อส่งเสริม

สมรรถภาพการวจัยในชั้นเรียนของครู เขตการศึกษา 5 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ.
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). การนิเทศการสอน. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

. (2556). ศาสตรการนิเทศการสอนและการโค้ช การพัฒนาวิชาชีพ : ทฤษฎี กลยุทธ์


สู่การปฏิบัต. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). แนวทางการนิเทศการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา 4H. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัต. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : มิตรสยาม.
ส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). นิยามความสามารถของ
ผู้เรียนด้านภาษา ด้านค านวณ และด้านเหตุผล (Literacy, Numeracy & Reasoning

Abilities). กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. (2553). การเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนการนิเทศแบบให้ค าชี้แนะ (Coaching). กรุงเทพฯ : ส านักทดสอบทางการศึกษา.

ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2554). แนวทาง
การพัฒนาและประเมนการอ่าน คิดวเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.

70



บรรณานุกรม (ต่อ)


ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตร
ี่
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งท 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.

____________________________. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตร
ี่
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งท 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.


____________________________. (2557). แนวปฏิบัติการวดผล และประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.
____________________________. (2559). คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียนตามนโยบาย

“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย จ ากัด.

71





















ภาคผนวก

72



แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้่

(การจัดการเรียนรู้เชิงรุก : Active Learning)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่……. เรื่อง……………………………..กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา……….………………..
ู้
ชั้น…………ชื่อครูผสอน....................................................โรงเรียน.......................................................
ค าชี้แจง
แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ฉบบนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษานิเทศก์/ผู้นิเทศ

พิจารณาความเหมาะสม และความสอดคล้องขององค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก แบ่งเป็น 2 ตอน คือ


ตอนที่ 1 แบบตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนร เป็นการพิจารณา/
ู้
ตรวจสอบ องค์ประกอบต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
ตอนที่่ 2 แบบตรวจสอบความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนร เป็นการพิจารณา/
ู้
ตรวจสอบ องค์ประกอบต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ว่ามีความสอดคล้องกันเพียงใด

ตอนที่ 1 แบบตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning)
โปรดท าเครื่องหมาย / ในช่องระดับความเหมาะสมที่ตรงกับความคดเห็นของท่าน และ

เขียนข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกต่อไป
ระดับคุณภาพ
ข้อที่ รายการประเมิน
3 2 1

1 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบส าคัญครบถวน ตามแบบที่ก าหนด

2 การเขียนสาระส าคัญในแผนการจดการเรียนรู้
3 จุดประสงค์การเรียนรู้ระบุพฤติกรรมชัดเจน สามารถวัดได้
4 สาระการเรียนรู้ครบถ้วน สัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้


5 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
ในทุกขั้นตอน หรือใช้เทคนิคการสอนที่ระบุไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้

6 การวัดผล ประเมินผลใช้วิธีการวัด ประเมินที่หลากหลาย ชดเจน
7 เครื่องมือที่ใช้วัดผล ประเมินผลเหมาะสม มีระบุไว้อย่างชัดเจน

8 มีการก าหนดเกณฑ์การประเมินผลไว้อย่างชัดเจน
9 ระบุการใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้สัมพันธ์สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้

10 มีหลักฐานการเรียนรู้ สื่อประกอบ เช่น ใบกิจกรรม ใบความรู้

เครื่องมือวัดฯ ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วน

ข้อเสนอแนะอื่นๆ

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

73



เกณฑ์การประเมิน


ค าอธิบายระดับคุณภาพของความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนร ู้
ข้อ ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
ที่ 3 2 1

1 แผนการจัดการเรียนรู้มี องค์ประกอบของ องค์ประกอบของ องค์ประกอบของ



องค์ประกอบส าคัญครบถ้วน แผนการจดการ แผนการจดการ แผนการจดการ
ตามแบบที่ก าหนด เรียนรู้ มีครบถ้วน เรียนรู้ ไม่ครบถ้วน เรียนรู้ ไม่ถูกต้อง
ตามแบบที่ ก าหนด ตามแบบที่ก าหนด ตามแบบที่ก าหนด
2 การเขียนสาระส าคัญใน เขียนสาระส าคัญ เขียนสาระส าคัญ เขียนสาระส าคัญ


แผนการจัดการเรียนรู้ ถูกต้อง ชัดเจน และ ถูกต้อง แตไม่ ไม่ถูกต้อง และไม่


ครอบคลม ครอบคลม ชัดเจน
3 จุดประสงค์การเรียนรู้ระบุ พฤติกรรมทระบุใน ไม่มีความชัดเจนของ ไม่ได้ระบุพฤติกรรม
ี่
พฤติกรรมชัดเจน สามารถวัด จุดประสงค์การ พฤติกรรมทระบุใน ในจุดประสงค์การ
ี่
ได้ เรียนรู้ มีความชัดเจน จุดประสงค์การ เรียนรู้

สามารถ วัดได ้ เรียนรู้ และไม่

สามารถวัดได ้
4 สาระการเรียนรู้ครบถ้วน ระบุสาระการเรียนรู้ ระบุสาระการเรียนรู้ ระบุสาระการ

สัมพันธ์กับจุดประสงค์การ ครบถ้วน และ ไม่ครบถ้วน เรียนรู้ ไม่ครบถ้วน
เรียนรู้ สัมพันธ์ กับ และไม่สมพันธ์กับ


จุดประสงค์การ จุดประสงคการ
เรียนรู้ เรียนรู้
5 กิจกรรมการเรียนรู้มีความ วิธีการวัดผล วิธีการวัดผล วิธีการวัดผล

เหมาะสม ใช้กระบวนการ ประเมินผลชัดเจนทุก ประเมินผลชัดเจนแต่ ประเมินผลไม่
จัดการเรียนรู้เชิงรุก พฤติกรรมที่ต้องการ ไม่ครบทุกพฤติกรรม ชัดเจน และไม่ครบ

ในทุกขั้นตอน หรือใช้เทคนิค วัด ที่ต้องการวัด ทุกพฤติกรรมที่

การสอนที่ระบุไว้ในแผนการ ต้องการวัด
จัดการเรียนรู้

6 การวัดผล ประเมินผลใช ้ เครื่องมือส าหรับการ ระบุเครื่องมือส าหรับ ไม่ได้ระบุเครื่องมือ
วิธีการวัด ประเมินท ี่ วัดผลประเมินผลมี การวัดผลประเมินผล ส าหรับการวัดผล

หลากหลาย ชดเจน ความชัดเจน แต่ไม่ชัดเจน ไม่ ประเมินผล

สามารถวัดได ้

74



ข้อ ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
ที่ 3 2 1
7 เครื่องมือที่ใช้วัดผล เกณฑ์การประเมินผล ฑ์การ ไม่ไดระบุเกณฑ์การ
บุเ
ระ

กณ
ประเมินผลเหมาะสม มีระบุไว้ มีความชัดเจน ประเมินผล ประเมินผล
อย่างชัดเจน แต่ไม่ชัดเจน
8 มีการก าหนดเกณฑ์การ กิจกรรมการเรียนรู้มี กิจกรรมการเรียนรู้มี กิจกรรมการเรียนรู้

ประเมินผลไว้อย่างชัดเจน ความเหมาะสม ความเหมาะสม แต ่ ไม่มีความเหมาะสม

ครบถ้วนทุกขั้นตอน ไม่ครบทุกขั้นตอน และไม่ครบทุก
ตามที่ระบุในแผนการ ตามที่ระบุในแผนการ ขั้นตอนตามที่ระบุ

จัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ในแผนการจัดการ

เรียนรู้

9 ระบุการใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ระบุการใช้สื่อ/แหล่ง ระบุการใช้สื่อ/แหล่ง ไม่ไดระบุการใช้สื่อ/
สัมพันธ์สอดคล้องกับกิจกรรม เรียนรู้ สัมพันธ์ เรียนรู้ แต่ไม่สัมพันธ์ แหล่งเรียนรู้
การเรียนรู้ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ

กิจกรรม การเรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้
10 มีหลักฐานการเรียนรู้ สื่อ มีหลักฐาน อาทิ สื่อ มีหลักฐาน อาทิ สื่อ ไม่มีหลักฐาน เช่น

ประกอบ เช่น ใบกิจกรรม ใบ ใบกิจกรรม ใบความรู้ ใบกิจกรรมใบความรู้ สื่อ ใบกิจกรรม ใบ


ความรู้ เครื่องมือวัด ฯ มือวัดฯ ที่ เครื่องมือวัดฯ วามรู้ เครื่องมือ
รื่อ
เค

ที่ปรากฏในแผนการจัดการ ปรากฏในแผนการ ที่ปรากฏในแผนการ วัดฯ ที่ ปรากฏใน
เรียนรู้ครบถ้วน จัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้แต่ไม่ แผนการ จัดการ
ครบถ้วน ครบถ้วน เรียนรู้


ตอนที่ 2 แบบประเมินความสอดคล้ององค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning)


โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในชองที่ตรงกับความคดเห็นของท่าน
ข้อ สอดคล้อง ไม่แน่ใจ ไม่สอดคล้อง
รายการประเมิน
ที่ (1) (0) (-1)

1 การเขียนสาระส าคัญมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับจุดประสงค์การ

เรียนรู้
2 จุดประสงค์การเรียนรู้มีความสอดคล้องสัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้


3 หลักฐานการเรียนรู้มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับจดประสงค์การ
เรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้

75



ข้อ สอดคล้อง ไม่แน่ใจ ไม่สอดคล้อง
รายการประเมิน
ที่ (1) (0) (-1)
4 วิธีการวัดผล ประเมินผลมีความสัมพันธ์กับจดประสงค์การเรียนรู้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่ส าคัญของผู้เรียน

5 เครื่องมือวัดผล ประเมินผล มีความสัมพันธ์กับจุดประสงค์การ
เรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่ส าคัญของ

ผู้เรียน

6 กิจกรรมการเรียนรู้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับจดประสงค์การ

เรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ

สมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน


7 สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ มีความสัมพันธ์สอดคลองกับกิจกรรม
การเรียนรู้


เกณฑ์การประเมิน



ความเหมาะสมของแผนการจดการเรียนร ู้ ความสอดคล้องของแผนการจดการเรียนร ู้

คะแนนระหว่าง 24 – 30 ระดับคณภาพ ดี ค่าความสอดคล้องต้องมีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป


คะแนนระหว่าง 15 – 23 ระดับคณภาพ พอใช

คะแนนระหว่าง 1 – 14 ระดับคณภาพ ต้องปรับปรุง

76




ู้
แบบบันทึกการสังเกตการจดกิจกรรมการเรียนรเชิงรุก(Active Learning)
โรงเรียน................................................................................................................................................
ชื่อผู้สอน................................................................................................................................................

กลมสาระการเรียนรู้/วิชา..........................................................................................ชั้น......................
ุ่
วันที่......................................................................................เวลา .......................................................
1. การสังเกตการสอน

ประเด็นการสังเกต การด าเนินการ

ด้านการเตรียมการสอน
1. ออกแบบการเรียนรู้

2. จัดทาหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการ

เรียนรู้สอดคล้องกับ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการ

เรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้/การวัด และ

ประเมินผล
3. ก าหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล


4. จัดเตรียมสื่อ นวัตกรรม วัสด-อุปกรณ ์
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนร ู้

1. มีกิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียนที่น่าสนใจ/

กระตุ้นผู้เรียน
2. พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อช่วยให ้

ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หาความรู้/หาค าตอบ

ด้วยตนเอง คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค ์
งาน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เชื่อมโยง กับชีวิตจริง และน าไปประยุกต์ใช้ได้

มอบหมายงานให้เหมาะสม ตามศักยภาพของ
ผู้เรียน

3. การมอบหมายงานให้นักเรียนสร้างผลงาน/
ชิ้นงาน/นวัตกรรม

ด้านสื่อนวัตกรรมและแหล่งการเรียนร ู้

1. การใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้
2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ และแหล่ง

เรียนรู้

77



ประเด็นการสังเกต การด าเนินการ

3. การใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
ด้านการวัดและประเมินผล

1. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการก าหนดเกณฑ์การวัด

และประเมินผล
2. มีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย

ครอบคลุมตวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค ์

การเรียนรู้
3. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินรวมทั้ง

ผู้ปกครอง หรือผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ

ประเมิน
4. แจ้งผลการประเมินให้นักเรียนได้ทราบเพื่อ

การพัฒนา
การสรุปผลการสอน

1. การบันทึกผลการสอน หลังจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้
2. การบันทึกความเห็นของผู้บริหาร

สถานศึกษา


ู้
2. ข้อค้นพบ/จุดเด่นในการจัดการเรียนร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

78



3. การสะท้อนผลการสอน

ู้
ผู้นิเทศสะท้อนผลการสังเกตการสอนให้กับครูผสอน/ผู้เกี่ยวข้อง ตามประเด็นที่สังเกตและข้อค้นพบ
ประเด็นการสังเกตและข้อค้นพบ แนวทางแก้ไขปัญหา ผู้รับการนิเทศ



































ลงชื่อ.............................................ผู้รับการนิเทศ ลงชื่อ............................................ผู้นิเทศการสอน
(.................................................) (..................................................)


ครู โรงเรียน............................................... ตาแหน่ง............................................

79




ู้
แบบประเมินผลการด าเนินการจดกิจกรรมการเรียนรเชิงรุก(Active learning)

ค าชี้แจง

1. แบบประเมินนี้ ใช้สาหรับการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)

เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และเตมค า

2. แบบประเมินนี้ เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือเพื่อการนิเทศ ติดตามการจดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active learning)

3. โปรดท าเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับความจริง


ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง

2. ต าแหน่ง [ ] ผู้บริหารสถานศึกษา
ู้
[ ] ครูผสอน
[ ] อื่น ๆ..................................
3. ประสบการณ์การท างาน (งานบริหาร/ปฏิบัติการสอน) ........................ปี

ู้
4. กรณีเป็นครูผสอน
[ ] สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา...................................................................................
.......................................................................................................................................

[ ] การใช้กระบวนการ Active Learning ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

[ ] ทุกครั้ง [ ] เป็นบางครั้ง

[ ] ไม่เคยใช Active Learning ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/การด าเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน



ู้
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจดการเรียนรเชิงรุก(Active learning)
ความคิดเห็น/ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกเกี่ยวกับความเหมาะสม ความชดเจน

ความมีประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ี่

โปรดแสดงความคิดเห็นทตรงกับท่านมากที่สด
ระดับความคิดเห็น

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด

(5) (4) (3) (2) (1)


1. การจดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning) ช่วยขับเคลื่อน
ให้นโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ส าเร็จได ้

80



ระดับความคิดเห็น

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด

(5) (4) (3) (2) (1)


2. ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับหัวข้อตอไปนี้
2.1 การน านโยบาย Active Learning สู่ห้องเรียน
2.2 การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการจัดการ

เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ภายในสถานศึกษา
2.3 การสร้างความรู้ความเข้าในการจัดกิจกรรมการจัดการ

เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้ครูผู้สอน

2.4 การนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือครูผู้สอนในการน าการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ไปจัดการเรียน

การสอน
2.5 การสร้างเครือข่าย /กิจกรรม PLC เกี่ยวกับการจัดการ

เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในสถานศึกษา

3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
3.1 หลักการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ช่วยให้การสอนของครูมี

ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.2 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ตอบสนองต่อความแตกต่าง
ของผู้เรียนรายบุคคล

3.3 การจัดการเรียนรู้เชิงรุกท าให้ผู้เรียนเกิดความ

กระตือรือร้นในการเรียนรู้มากขึ้น
3.4 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการ

ท างานเป็นทีมของผู้เรียน
3.5 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ใช้


กระบวนการคดขั้นสูง
3.6 การจัดการเรียนรู้เชิงรุกท าให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเอง

3.7 การจัดการเรียนรู้เชิงรุกส่งเสริมให้ผู้เรียนน าความรู้และ

ทักษะต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได ้
3.8 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สร้างปฏิสัมพันธ์ทางการเรียน

81



ระดับความคิดเห็น

มาก มาก ปาน น้อย น้อย
รายการ
ที่สุด กลาง ที่สุด

(5) (4) (3) (2) (1)

ระหว่างครูและ นักเรียนได้เป็นอย่างด ี
3.9 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ท าให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น

3.10 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ประเมิน

ตนเอง หรือสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้

4. ความพึงพอใจของทานโดยรวมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก(Active Learning)



ตอนที่ 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)
ปัญหา ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนา

82




แบบบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรก (Active Learning)
โรงเรียน.............................................................................................................................................
ชื่อเจ้าของเรื่อง...................................................................................................................................

ี่
ี่
วันท.............................................................................. ครั้งท...........................................................
สถานท...............................................................................................................................................
ี่


ชื่อกลุ่ม (ถามี) ..............................................สมาชกที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จ านวน .................คน
ู้
ี่
ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนร่เกยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning)(ประเด็นปัญหา)
1 .............................................................................................................................................................
2 .............................................................................................................................................................

ฯลฯ
แบบบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

1. การวิเคราะห์ปัญหา
2. การก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา

3. การปฏิบัติ สังเกต และเก็บข้อมูล

4. การสะท้อนความคิดเห็น
ส่วนที่ จุดประสงค์ การบันทึก

1. การวิเคราะห์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง ให้บันทึกชื่อปัญหา สาเหต ุ


ี่
ปัญหา รุก (Active Learning) สาเหตของปัญหา และ ของ ปัญหา ตามทได้รับ
ุ่

ผลกระทบที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ก าหนดปัญหา มตจากกลม
หรือ สิ่งที่ต้องการพัฒนาร่วมกันภายในกลุ่ม
2 การก าหนดแนว เพื่อร่วมคิดและวางแผนร่วมกันในการก าหนด บันทึกแนวทางแก้ปัญหา

ทางการแก้ปัญหา แนว ทางการแก้ปัญหาที่พบจากการจัดการ ของกลุ่ม/ระบุกิจกรรม

เรียนรู้เชิงรุก และน าไปปฏิบติจริงในห้องเรียน วิธีการขั้นตอน เครื่องมือ
ของตนเอง การแก้ปัญหา

3. การปฏิบัตสังเกต เพื่อให้ครูผสอนบันทึกผลจากการสังเกตและการ ให้ครูบันทึกผลการน า

ู้
และ เก็บข้อมูล เก็บข้อมูลในระหว่างที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง แนวทาง แก้ปัญหาที่ได ้
รุก ตามแผนที่วางไว้ จากส่วนที่ 2 ไปใช้

4. การสะท้อนความ เพื่อให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้ร่วมพูดคุย ให้บันทึกสะท้อนผลการ


คิดเห็น แลกเปลยนความคดเห็น และสะทอนผลการ ปฏบัติจาก ส่วนที่ 2 และ

ี่
ปฏิบัติ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา แก้ไข ใน ร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่ง
ครั้งต่อไป กัน

83



ู้
แบบบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนร่ครั้งที่..............
การวิเคราะห์ ปัญหา การก าหนด แนวทาง การปฏิบัติสังเกตและ การสะท้อน

แก้ปัญหา เก็บข้อมูล ความคิดเห็น








































หมายเหตุ รูปแบบการบันทึกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

84



คณะผู้จัดท า


ที่ปรึกษา



1. นายอภิรักษ์ อิ่มจิตอนุสรณ์ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง ข ต 1
2. นางวรางคณา ไชยเรือน รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เข ต 1


3. ดร.เอกฐสทธิ์ กอบก า ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดการศึกษา

สพป.ล าปาง เขต 1
4. นายเรวัติ สุธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและประเมินผล
ู้
5. นายอัมพร เทพปินตา ผทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา
6. นายมงคล ขัดผาบ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศลปะ และวัฒนธรรม

7. นายสมพร นาคพิทักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารการศึกษา
8. นายสุทิน จันทรวรเชตต ผู้อ านวยการโรงเรียนธงชัยวิทยา

9. ว่าที่ ร.ต.ชีพสิทธิ์ ฮั่นเกียรติพงษ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนพินิจวิทยา

10. ดร.สุรภี วงศ์ไพบูลย์ ผู้อ านวยการโรงเรียนวิชานารี

11. นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถียร ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1



ผู้จัดท า

นางพรนิภา ยศบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1


บรรณากิจและออกแบบปก

นางพรนิภา ยศบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1

85
















































เอกสาร ศน. สพป.ลป.1

ที่ 3 /2562


Click to View FlipBook Version