1
คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน
ของ
นางอรัญญา นาคะปรีชา
ตาแหนง่ นักวิชาการศึกษาชานาญการ
กล่มุ สง่ เสรมิ การจัดการศึกษา
1. งานการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
2. การรายงานผลการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศกึ ษา ระบบ NISPA
และ CATAS
3. โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ
4. งานสง่ เสรมิ สนับสนนุ ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
5. การคุ้มครองและช่วยเหลอื เดก็ นกั เรยี น(ฉก.ชน.)
6. การคัดเลอื กนกั เรยี น และสถานศกึ ษา เพอ่ื รับรางวัลพระราชทาน
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2
คานา
คมู่ ือปฏบิ ัติงานฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านในกลุ่มส่งเสรมิ การจัดการศึกษา
ซึ่งอิงกบั ค่มู ือปฏิบัตงิ านของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปน็ หลกั และไดป้ รับปรุงให้สอดคลอ้ งกบั
สภาพการปฏบิ ตั งิ านในปัจจุบัน เพอ่ื นาไป ปฏิบัติงานในหน้าท่ที ไ่ี ด้รบั มอบหมายตามคาสงั่ สานักงานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ใหม้ ีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ทางราชการ
นางอรัญญา นาคะปรชี า
นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ
สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1
สารบญั 3
- งานการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาสารเสพติด ในสถานศกึ ษา หน้า
- การรายงานผลการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศกึ ษา ระบบ NISPA
4
และ CATAS 6
- โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข
- งานสง่ เสริมสนบั สนนุ ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 12
- งานคมุ้ ครองและช่วยเหลอื เดก็ นักเรยี น (ฉก.ชน.) 14
- การคดั เลือกนักเรยี น และสถานศกึ ษา เพื่อรบั รางวลั พระราชทาน 20
26
4
1. งานการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสารเสพติด ในสถานศกึ ษา
วัตถุประสงค์
2.1 เพอ่ื ให้สถานศึกษาเข้าใจแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ทกั ษะชีวติ และพฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงค์ ในสถานศึกษา
2.2 เพือ่ สร้างภมู คิ ้มุ กนั ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์
ของนกั เรยี นกล่มุ เสีย่ ง ในสถานศึกษา
2.3 เพื่อใหส้ ถานศึกษามคี วามเขม้ แขง็ ในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และมีภมู คิ ้มุ กัน
พฤตกิ รรมทไี่ ม่พง่ึ ประสงค์ของนักเรียน ในสถานศึกษา
ขอบเขตของงาน
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดด้ าเนินการประสานงาน ส่งเสริม
สนบั สนุนการป้องกัน และแก้ไขปญั หาสารเสพติดในสถานศกึ ษา ในกลุ่มนักเรยี นกลุม่ เส่ียง ประสานความรว่ มมือ
ระหวา่ งสถานศึกษา เครือขา่ ยตารวจ D.A.R.E. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข และ
องค์กรสว่ นทอ้ งถ่ิน
คาจากดั ความ
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา หมายถงึ โรงเรยี นทร่ี ัฐบาลเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นทเ่ี รียนจบ
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เขา้ ศึกษาต่อในระดบั การศึกษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ใน
โรงเรียนประถมศกึ ษา
ผ้บู รหิ าร หมายถึง ผทู้ ่ที าหน้าทบ่ี ริหารจัดการโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ครูแกนนา หมายถึง ครผู รู้ ับผิดชอบเกี่ยวกับงานป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ภายในโรงเรยี น
นักเรียนแกนนา หมายถึง นักเรยี นทร่ี บั การคัดเลอื กเปน็ ผู้นาในการขยายผลในเร่ืองการป้องกนั
และแก้ไขปัญหายาเสพติด
นกั เรยี นกล่มุ เสยี่ ง หมายถงึ นกั เรยี นท่ีมีพฤติกรรมท่ีเข้าไปเก่ียวข้องกบั สารเสพติด และนักเรียนท่มี ี
อายุต้งั แต่ 13 - 15 ปี
กิจกรรมกลมุ่ หมายถงึ กจิ กรรมท่ไี ด้จัดขึน้ เพื่อใหค้ รูแกนนา นักเรียนแกนนา ดาเนินกิจกรรม
รว่ มกนั สร้างความค้นุ เคยระหว่างสมาชิกรว่ มกัน แสดงความคิดเห็นข้อเสนอแนะแก้ไขปัญหานกั เรยี นกลุ่มเส่ียง
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน
1. สารวจขอ้ มลู สภาพการใชส้ ารเสพติด ในสถานศึกษา
2. วิเคราะห์ข้อมลู ประเมนิ สถานการณ์ การสร้างภมู ิคุ้มกันนกั เรียนกลุม่ เสย่ี ง
3. จัดทาแผนงาน/โครงการการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด ในสถานศึกษา
4. ประชมุ ช้ีแจงผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
5. ประสานวทิ ยากรและเครือขา่ ยในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ
6. จดั กจิ กรรมเข้าค่ายลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด และกจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวิต ฯลฯ
7. ประเมนิ ผลการดาเนินงานหลังดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรม
8. ยกยอ่ งใหร้ างวลั ฯ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็
9. ติดตามประเมินผล และรายงานผล
5
FLOW CHART
สารวจข้อมลู สภาพการใช้สารเสพตดิ
ในสถานศึกษา
วเิ คราะหข์ อ้ มลู คดั กรองนกั เรียนเปน็ 4 กลมุ่
จัดทาแผน/โครงการ/ประชมุ ช้แี จง
แจ้งกลุม่ เปา้ หมาย/ประสานวทิ ยากร/เครือข่าย
ค่ายครูแกนนา/นักเรยี นแกนนา
กจิ กรรมการปอ้ งกนั ปญั หายาเสพตดิ /ทกั ษะชีวิต
ติดตามและประเมินผล
สรปุ และรายงานผล
6
2. การรายงานผลการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา ระบบ NISPA และ CATAS
วตั ถปุ ระสงค์
คู่มือการใช้โปรแกรม (แบบ Online) ระบบขอ้ มูลการรายงานการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพตดิ ในสถานศึกษา ระบบ NISPA และ CATAS ฉบบั น้ี มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสารวจและเก็บข้อมลู ในการจาแนก
สถานะสถานศึกษาเพ่ือดารงความเข้มแขง็ ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด และสารวจสภาพการใช้สารเสพ
ตดิ ในสถานศึกษา ซึง่ มีการสารวจและเก็บข้อมูลปลี ะ 2 คร้งั คอื วันท่ี 30 มิถนุ ายน และ 30 พฤศจกิ ายน ของ
ทุกปี ตามแนวทางการพฒั นาและการขับเคล่ือน ดงั น้ี
ขั้นตอน แนวทางการดาเนินงาน
1. ศกึ ษาสภาพ และทศิ ทางการดาเนินงาน ศึกษาวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา และศักยภาพของ
สถานศึกษา แนวทางในการใชโ้ ปรแกรม (แบบ Online)
2. วางแผนการดาเนินงาน การรายงานผลการ และปัญหาการรายงานผลการดาเนนิ งานข้อมลู การ
ดาเนินงานการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
ในสถานศึกษาด้วยระบบ NISPA และ CATAS
- จัดแผนงาน/ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านตลอดปกี ารศึกษาให้
3. ดาเนินการตามแผนงานที่กาหนด ครอบคลมุ ปลี ะ 2 ครง้ั เดือนมิถนุ ายน และพฤศจกิ ายน
4. นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม - จดั ทาโครงการประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร และกจิ กรรม ใน
สถานศึกษา
- แต่งตั้งทีมงานและสร้างความตระหนกั เจตคตทิ ่ีดีในการ
ทางานแกท่ ีมงานในการขับเคลือ่ น
- สนับสนุนสื่อและนวัตกรรม การดาเนนิ งานป้องกัน
และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ
ดาเนนิ งานตามแผนการท่จี ดั ทาขน้ึ ใหค้ รอบคลุม
โครงการและกิจกรรม
นิเทศ กากับ และตดิ ตาม การดาเนินงานตามระยะเวลาท่ี
เหมาะสม และครอบคลมุ โครงการและกิจกรรม ดงั นี้
- ติดตามแล ะประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ทกุ เดอื น
- แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ประสบการณ์ เครือข่ายแกนนา และ
การทางาน ผา่ นช่องทางในระบบ ไลน์กลมุ่ เพือ่ ความ
รวดเรว็ และสามารถตดิ ต่อกันไดต้ ลอดเวลาเมื่อเกิด
ปัญหา
- สรุปรายงานผลการดาเนินงาน
7
นยิ ามศัพท์การรายงานผลการดาเนนิ งานดา้ นยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
ข้อมูลพืน้ ฐานสถานศกึ ษา
สถานศึกษา หมายถงึ สถานศึกษาสงั กัด ๕ กระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวงศึกษาธกิ าร (สพฐ./สช./
สอศ./สกอ.) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม และกรงุ เทพมหานคร ที่เปดิ
ทาการสอนทงั้ สายสามญั ศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา และอุดมศึกษา โดยไมน่ บั รวมสถานศึกษา ท่มี ีสถานะดงั ต่อไปน้ี
๑) โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม
๒) โรงเรยี นศึกษาพเิ ศษ
๓) โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์
4) กศน.
คาจากดั ความ
๑. การสารวจคน้ หาและปรับเปลยี่ นพฤติกรรมนักเรยี น หมายถงึ หมายถึง สถานศึกษาได้มีการ
ดาเนนิ การสารวจ คน้ หา และคดั กรองนักเรียนนักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยง/เสพ/ค้า เพอื่ ให้ความชว่ ยเหลือดแู ล
แก้ไข ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม โดยวิธีการแตกต่างกันไปตามความพร้อมของแตล่ ะสถานศึกษา เช่น การคัดกรอง
โดยระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น การใชแ้ บบสารวจพฤติกรรม การใชข้ อ้ มลู จากแหล่งขา่ วอ่ืน (จากนักเรียน
แกนนา/จากเครอื ข่ายผปู้ กครอง/จากชมุ ชน ฯลฯ) หรือการตรวจหาสารเสพตดิ เป็นต้น
- กลมุ่ เสี่ยง หมายถึง นกั เรยี นทม่ี ีแนวโน้มเกยี่ วข้องกับยาเสพติด เชน่ นักเรียนทด่ี ืม่ เหล
สูบบหุ รี่ สมาชกิ ในครอบครัวเกยี่ วขอ้ งกับยาเสพติด การใช้ยาในทางทีผ่ ิด ครอบครวั แตกแยก หนีเรยี น ผลการเรียน
ตกตา่ ฯลฯ
- ผ้เู สพ/ผตู้ ดิ หมายถงึ นกั เรยี นทเี่ สพ/ติดยาเสพติด (ในที่นี้ไมน่ บั รวมสรุ า เบยี ร์ และบุหร่ี)
โดยมผี ลการตรวจปัสสาวะพบสารเสพติด หรือซักประวตั ิว่าเคยใช้/หรอื เสพสารเสพติด
- ผูค้ ้า หมายถงึ นักเรยี นที่เกี่ยวข้องกับการคา้ ยาเสพติด (ในที่นี้ไมน่ ับรวมสรุ า เบียร์ และ
บหุ รี่)
- การใช้ยาในทางท่ีผดิ หมายถงึ วัตถุออกฤทธใิ์ นลกั ษณะยาทใ่ี ช้ในทางการแพทยเ์ พื่อ
รักษาโรคที่อยู่ภายใต้การควบคมุ ของสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา เช่น Procodyl Tramadol
Dextormethorphan เปน็ ต้น
๒. การใหค้ าปรกึ ษา หมายถึง การใหค้ าปรึกษาเพื่อการดูแลช่วยเหลือและปรับเปล่ียนพฤติกรรม
แก่นกั เรียนนักศึกษาและผปู้ กครอง โดยครู อาจารย์ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
๓. การจดั คา่ ยปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมกลุ่มเส่ยี ง หมายถึง กระบวนการปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม
นักเรียนนักศึกษาท่มี แี นวโน้มทจ่ี ะเกย่ี วข้องกับยาเสพติด (นกั เรยี นกลมุ่ เสยี่ ง) ในรปู แบบกระบวนการคา่ ยภายใต้การ
ควบคุมดูแลของผู้ท่ีมีความชานาญ
๔. การจดั คา่ ยปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมกลุ่มเสพ หมายถึง กระบวนการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม
นักเรียนนักศึกษาท่ีเสพ/ติดยาเสพตดิ (นกั เรยี นกลมุ่ เสพ/ตดิ ) ในรูปแบบกระบวนการค่ายปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมผู้เสพ
ยาเสพตดิ ภายใตก้ ารควบคุมดแู ลของวิทยากรค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของจังหวัด/อาเภอ
๕. จติ สงั คมบาบัดในโรงเรียน หมายถงึ กระบวนการบาบัดรักษานักเรยี นนกั ศึกษาท่ีมีพฤติกรรม
เสพยาเสพตดิ โดยนาแนวคิดของกจิ กรรมกลุม่ จติ สงั คมบาบดั แบบผู้ปว่ ยนอกในสถานบริการสาธารณสุขมประยุกต์ใช้
ให้มีความเหมาะสมกับการบาบัดรกั ษาในบรบิ ทของสถานศึกษา รูปแบบของกิจกรรมจะเปน็ กิจกรรมกลุ่มเพ่ือการ
เรียนรโู้ ดยมคี รเู ปน็ ผนู้ ากลุ่ม และนกั เรยี นท่ีมพี ฤติกรรมเสพยาเสพติดเปน็ สมาชิกกลุ่ม จานวน ๘ - ๑๒ คน มี
ผู้ปกครอง เขา้ ร่วมกจิ กรรมอยา่ งน้อย ๓ ครั้ง จากกจิ กรรมท้งั หมด ๑๒ ครง้ั ๆ ละประมาณ ๑ - ๒ ชว่ั โมง โดย
ดาเนินการอย่างสมา่ เสมอต่อเนอื่ งกนั สปั ดาห์ละ ๒ ครง้ั เปน็ เวลา ๖ สปั ดาหภ์ ายในหอ้ งเรียนหรือห้องท่ีเหมาะสม
ในโรงเรยี น และมีเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขเป็นพเ่ี ลีย้ ง
8
๖. การส่งต่อผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ เข้ารับการบาบดั รักษาทีอ่ ่ืน หมายถึง การนานักเรียนนกั ศึกษา
ท่ีมีพฤติกรรมเสพ/ตดิ ยาเสพติด ส่งต่อไปบาบดั ฟน้ื ฟูในสถานบรกิ ารของกระทรวงสาธารณสขุ เช่น โรงพยาบาล
ศูนยบ์ าบัดและฟืน้ ฟผู ้ตู ิดยาเสพติดสถาบันธัญญารกั ษ์ เป็นตน้
7. ดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย (กรณผี คู้ ้า) หมายถึง การนานักเรียนนักศกึ ษาท่ีมพี ฤติกรรมค้าไป
ดาเนินคดีตามกฎหมาย
8. การสารวจพืน้ ท่ี/ปจั จัยเส่ียงรอบสถานศกึ ษาในระยะ ๕๐๐ เมตร หมายถงึ การสารวจพ้ืนท่ี
เส่ยี ง ๖ ประเภทตามแนวทางการจัดระเบียบสงั คม ไดแ้ ก่
๑) สถานบนั เทงิ
๒) สถานบรกิ าร
๓) หอพัก/ทีพ่ กั อาศัยเชิงพาณิชย์
๔) ร้านเกม
๕) พนื้ ทส่ี าธารณะ และ
๖) อน่ื ๆ
9. การตรวจเยีย่ มตรวจตราพ้นื ที่/ปจั จยั เสยี่ งรอบสถานศกึ ษา หมายถงึ การดาเนินการร่วมกนั
ระหว่างสถานศึกษารว่ มกบั หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องในพน้ื ที่ เช่น ชุดจดั ระเบียบสังคมของฝ่ายปกครอง ชุดจัดระเบียบ
สงั คมจากการสนธิกาลงั ร่วมจากหลากหลายหนว่ ยงานเพ่ือดาเนินงานภายใตโ้ ครงการสาคญั ตา่ งๆ (เชน่ Campus
Safety Zone / คาส่งั คสช.ท่ี 22 ฯลฯ) รวมท้ังมีการจดั กิจกรรมเพอื่ การป้องกนั และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
รว่ มกับผู้ประกอบการพื้นที่เสย่ี ง เชน่ หอพกั รา้ นเกม เป็นต้น
10. การมกี ิจกรรมเพือ่ การป้องกันและเฝ้าระวงั ปัญหายาเสพตดิ รว่ มกับผู้ประกอบการหอพัก/
รา้ นเกม ฯลฯ รอบสถานศึกษา หมายถึง การดาเนนิ การร่วมกนั ระหวา่ งผ้ปู ระกอบการหอพัก/รา้ นเกม ฯลฯ รอบ
สถานศกึ ษากบั สถานศึกษา ในการดาเนนิ กิจกรรมเพือ่ การปอ้ งกันและเฝา้ ระวงั ปัญหายาเสพติด เชน่ การประชมุ
หารอื การขอความร่วมมอื ต่างๆ การมีกจิ กรรมป้องกนั เฝา้ ระวงั หรือกิจกรรมเชงิ สร้างสรรค์รว่ มกนั เป็นต้น
๑1. ตารวจประสานงานโรงเรยี น หมายถึง ตารวจทไี่ ด้รบั การมอบหมายใหเ้ ป็นผปู้ ระสานงาน
ระหว่างสถานศึกษาและสถานีตารวจในพืน้ ที่ เพือ่ ร่วมกันเฝา้ ระวังปญั หายาเสพติดไม่ให้แพร่ระบาดในสถานศกึ ษา
๑2. นกั เรยี นแกนนา หมายถึง นักเรียน/นกั ศึกษา ท่ีเปน็ ผู้นาหรอื มบี ทบาทสาคญั ในการจดั กิจกรรม
เพ่ือการปอ้ งกันและเฝา้ ระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา รวมทง้ั กิจกรรมจิตอาสา กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ หรือ
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์เชิงบวกตา่ งๆ
๑3. ครแู กนนา หมายถึง ครู อาจารย์ท่รี บั ผิดชอบงานด้านยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา และมบี ทบาท
ในการขับเคลอื่ นกจิ กรรมป้องกนั และเฝ้าระวงั ปญั หายาเสพติดในสถานศึกษา
๑4. เครอื ขา่ ยผปู้ กครองในสถานศึกษาและชมุ ชน หมายถึง การรวมตัวของกลุม่ ผูป้ กครองนกั เรยี น
นักศึกษา เพือ่ ร่วมกันป้องกันและเฝา้ ระวงั ปญั หายาเสพติดของนักเรียนนักศกึ ษา
๑5. วิทยากรเพ่อื การปอ้ งกันยาเสพตดิ ทเี่ ขา้ สอนในสถานศกึ ษา หมายถงึ วิทยากรทุกประเภทที่
สอดแทรกเนอ้ื หาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื การปอ้ งกันยาเสพติดในการเรียนการสอนในช้นั เรียน อย่างตอ่ เน่ืองครบตามหลกั สตู ร
ที่กาหนด โดยวิทยากรเพ่ือการป้องกันยาเสพตดิ ได้แก่
๑5.๑ ครูผสู้ อนในโรงเรียน หมายถงึ ครผู สู้ อนท่ที าการสอนทักษะชวี ติ เพ่ือการป้องกนั
ยาเสพตดิ สอดแทรกในรายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศึกษา โดยใช้ “แนวทางการจดั กิจกรรม
พฒั นาทักษะชีวิตเพ่ือการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ยาเสพตดิ ” ของสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน หรือแนวทางอน่ื ท่ใี ช้ในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิตเพ่ือ
สร้างภมู คิ มุ้ กนั ฯ ทมี่ เี นอื้ หาการสอนเทยี บเคียงกนั
9
๑5.๒ ครู D.A.R.E. หมายถึง ตารวจท่ีผ่านการอบรมหลกั สูตร “การให้การศึกษาต่อตา้ น
การใชย้ าเสพตดิ ในสถานศึกษา (Drug Abuse Resistance Education: D.A.R.E)”
โดยสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ
๑5.๓ ครพู ระสอนศีลธรรม หมายถงึ ครูพระท่สี อนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน ท่ี
สอดแทรกการสอนทักษะชีวติ เพ่ือการป้องกนั ยาเสพตดิ ในชัว่ โมงการเรียนการสอน
วชิ าพระพทุ ธศาสนาตามแนวทาง “ครูพระสอนศลี ธรรมเพ่ือการป้องกันยาเสพตดิ ใน
โรงเรียน” ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั หรอื แนวทางของครูพระ
อื่นๆ ทีม่ ีการจัดการเรียนการสอนทักษะชวี ิตฯ ทเ่ี ทียบเคยี งกัน
๑5.๔ ครตู ารวจ หมายถงึ ตารวจชมุ ชนสัมพนั ธ์ หรือตารวจอน่ื ๆ ท่เี ขา้ สอนทักษะชวี ติ เพื่อ
การป้องกันยาเสพติดให้กับนักเรยี นในโรงเรยี น
๑5.๕ ครูทหาร หมายถึง ทหารที่สอนทักษะชีวิตเพอ่ื การป้องกันยาเสพตดิ ในโรงเรียนตาม
แนวทางจดั การเรียนรู้ “วทิ ยากรแกนนาครูทหารเพ่ือการป้องกนั ยาเสพติดใน
โรงเรียน” ของกองอานวยการรักษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร หรอื แนวทาง
อ่ืนทีม่ ีเน้ือหาการสอนเทียบเคยี งกนั
๑5.๖ ครูสอนศาสนา หมายถึง ผ้ทู ีท่ าการสอนทักษะชวี ิตเพื่อการป้องกนั ยาเสพติดใน
โรงเรยี นโดยใชแ้ นวทางตามหลกั ศาสนาที่ตนนับถือ เช่น โต๊ะอิหมา่ ม นักบวช
มชิ ชันนารี เป็นตน้
๑5.๗ ครูพระสอนปรยิ ัตธิ รรม หมายถงึ ครูพระที่สอนศาสนศกึ ษาแผนกสามญั ศกึ ษา ท่อี ยู่
ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
๑5.๘ โต๊ะครู/โต๊ะอหิ ม่าม หมายถึง ผูท้ ีท่ าการสอนตามหลกั ศาสนาอิสลาม ทง้ั ทอี่ ยู่ใน
มัสยิดและโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม
๑5.๙ คร/ู วทิ ยากรอิสลามประจาโรงเรยี น ฯลฯ หมายถงึ ผทู้ ที่ าการสอนตามหลักศาสนา
อิสลาม ทงั้ ทอี่ ยู่ในมัสยิดและโรงเรยี นสอนศาสนาอิสลาม เช่น บาบอ คอเต็บ
อุสตา๊ ส ฯลฯ
๑5.๑๐ ครสู อนศาสนาครสิ ต์ หมายถงึ ผู้ท่ที าการสอนตามหลกั ศาสนาคริสต์ ทั้งที่อยู่ใน
โบสถ์และโรงเรยี นสอนศาสนาครสิ ต์
๑5.๑๑ วิทยากรอืน่ ๆ หมายถึง วทิ ยากรจากหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องต่างๆ ทท่ี าการสอน
ทกั ษะชวี ิตเพื่อการป้องกนั ยาเสพติดในโรงเรยี น เช่น สาธารณสุข กรมการปกครอง
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ครแู กนนา เปน็ ต้น
๑6. ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ที่ผา่ นการอบรมลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ หมายถึง นกั เรียน ท่ีผา่ น
การอบรมหลักสูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ ของกระทรวงศึกษาธิการ
๑7. จดั ตั้งหนว่ ยลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ต้านภยั ยาเสพติดในโรงเรียน หมายถึง การจดั ตงั้
หน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติดในโรงเรยี น ตามระเบียบข้ันตอนของกระทรวงศึกษาธิการ
๑8. ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ปฏบิ ัตหิ น้าที่ในโรงเรียน หมายถงึ ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด
ตา้ นภัยยาเสพตดิ ทม่ี ีการปฏิบตั ิหน้าท่เี ป็นแกนนาในการป้องกนั เฝา้ ระวงั ปญั หายาเสพตดิ ปัญหาอบายมขุ อืน่ ๆ
รวมถึง การสอดส่องเฝ้าระวงั พืน้ ทเ่ี สี่ยง/ปจั จยั เส่ียงในโรงเรยี นในรูปแบบสายตรวจในโรงเรียน หรือรปู แบบอื่นๆ
๑9. ศนู ยเ์ พ่อื นใจ TO BE NUMBER ONE หมายถึง กจิ กรรมหนึง่ ในกิจกรรมของชมรม TO BE
NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา โดยมแี กนนาอาสาสมคั ร (เยาวชน) ประจาศนู ย์เปน็ ผู้บริหารจัดการกิจกรรมและการ
ใหบ้ ริการตา่ งๆ ของศูนย์ เช่น การให้คาปรึกษา การจดั กิจกรรมสรา้ งสรรค์ เปน็ ต้น
10
20. กลุ่มเพือ่ นท่ีปรึกษาเพอื่ น (Youth Counselor) หมายถงึ การจัดตั้งกลมุ่ นักเรยี นแกนนา
ระดบั ห้องเรยี น มบี ทบาทในการแนะนา ตักเตอื น ดูแลชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั เพ่อื การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา
ยาเสพตดิ รวมทง้ั ปัญหาพฤติกรรมเบ่ียงเบนอื่นทไี่ ม่เหมาะสม
๒1. กจิ กรรมต้านยาเสพติดของสภานกั เรียน/องค์กรวชิ าชีพ/องค์การนกั ศึกษา/เครอื ข่ายตา่ งๆ
หมายถงึ การดาเนนิ กิจกรรมเพ่อื การปอ้ งกนั และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด รวมทง้ั กจิ กรรมจติ อาสา กิจกรรมบาเพญ็
ประโยชน์ หรือกจิ กรรมสร้างสรรค์เชิงบวกต่างๆ ของสมาชิกสภานกั เรียน/นกั ศึกษา องค์กรวชิ าชีพ/องค์การนกั ศึกษา/
เครอื ข่ายต่างๆ เชน่ เครือข่ายอุดมศึกษา เครือข่ายเยาวชน เปน็ ตน้
๒2. กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม หมายถงึ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรมของทุก
ศาสนาให้กับนักเรียนนกั ศึกษา เช่น คา่ ยพฒั นาคุณธรรม ค่ายพทุ ธบตุ ร/พทุ ธธรรม ฯลฯ
๒3. กจิ กรรมจติ อาสา/บาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ หมายถึง กจิ กรรมทีท่ าโดยความสมัครใจไม่
หวงั ผลตอบแทนและไม่ใช่ภาระงานทตี่ ้องทาตามหนา้ ท่ี โดยเปน็ กจิ กรรมที่เกดิ ประโยชน์ตอ่ สงั คมโดยรวม
๒4. กิจกรรมใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั ยาเสพติดหรือการป้องกนั ยาเสพตดิ หมายถงึ กจิ กรรมทใ่ี หข้ ้อมลู
ข่าวสาร ความรู้ เกี่ยวกบั โทษพิษภยั และแนวทางการปอ้ งกัน เฝา้ ระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติด
๒5. กิจกรรมฝกึ อาชีพ หมายถึง กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะในการประกอบอาชพี ต่างๆ เพ่อื ให้นักเรยี น
นกั ศกึ ษาสามารถทาเปน็ อาชีพเสรมิ ได้
๒6. กิจกรรมสง่ เสริมทกั ษะการเรียนรู้ หมายถึง กจิ กรรมเสริมทกั ษะการเรยี นรูเ้ พม่ิ เตมิ
นอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ เช่น กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน การใชเ้ ทคโนโลยีตา่ งๆ เช่น
Computer/Internet คา่ ยเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เปน็ ต้น
๒7. กจิ กรรรมกฬี าและนนั ทนาการ หมายถงึ กจิ กรรมท่ีทาตามสมัครใจในยามวา่ งในทางสร้างสรรค์
เพือ่ ใหเ้ กิดความสนกุ สนานเพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น กิจกรรมสง่ เสริมวัฒนธรรม ศิลปะ ดนตรี
กีฬา ฯลฯ
๒8. กจิ กรรมอนื่ ๆ หมายถึง กจิ กรรมนอกเหนือจากขอ้ ๑๘-๒๖
๒9. - ๓4. จานวนนกั เรยี น ป.๑ – ป.๖ ทไ่ี ดร้ ับการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั หมายถงึ การสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั และ
ปอ้ งกนั ยาเสพติดใหแ้ กน่ ักเรียนโดยใชร้ ปู แบบกจิ กรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ดังนี้
รปู แบบท่ี ๑ นักเรียนได้รบั ความรทู้ กั ษะชีวติ เพ่ือการป้องกันยาเสพติดอย่างต่อเน่อื งจากวิทยากรเพื่อการป้องกัน
ยาเสพติด ไดแ้ ก่ ครูผู้สอนในโรงเรียน ครู D.A.R.E. ครูพระสอนศีลธรรม ครูตารวจ ครทู หาร ครูสอนศาสนา เป็นต้น
รูปแบบท่ี ๒ นักเรียนได้รบั การเสริมสร้างภูมิคมุ้ กันและป้องกันยาเสพติดในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเน่อื ง ไดแ้ ก่
กิจกรรมนักเรยี นแกนนา กจิ กรรมศนู ย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE การจัดตง้ั กล่มุ เพ่ือนปรกึ ษาเพื่อน (Youth
Counselor) กิจกรรมต้านยาเสพตดิ ของสภานกั เรียน/องค์กรวชิ าชีพ/องคก์ ารนักศึกษา/เครอื ข่ายต่างๆ กจิ กรรม
เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามศาสนาท่ีตนนบั ถือ กิจกรรมจิตอาสา/บาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ กิจกรรมใหค้ วามรู้
เกยี่ วกบั ยาเสพติดหรอื การปอ้ งกนั ยาเสพติด กจิ กรรมฝึกอาชีพ กิจกรรมสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ เช่น กิจกรรม
ส่งเสรมิ การอา่ น การใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น Computer/Internet ค่ายเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ตา่ งๆ เป็นต้น กิจกรร
รมกีฬาและนันทนาการ เช่น กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรม ศิลปะ ดนตรี ฯลฯ และ กิจกรรมอนื่ ๆ โดยนกั เรียนต้องมี
สว่ นร่วมในกิจกรรมที่กล่าวมาข้างตน้ อย่างน้อย ๕ กจิ กรรมขนึ้ ไป
๓5. นักศกึ ษาวิชาทหารที่ทากิจกรรมดา้ นการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด หมายถงึ
นักเรยี นนกั ศึกษาทีผ่ า่ นการฝึกอบรมหลักสตู รนักศึกษาวิชาทหาร และทากจิ กรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
สถานศกึ ษา
11
๓6. สถานศึกษามกี ารใชส้ ่ือนทิ าน/ชุดการเลน่ เพอื่ พัฒนา EF เด็กปฐมวัย หมายถงึ สถานศึกษา
ทม่ี กี ารเรยี นการสอนระดับชั้นอนบุ าล (กอ่ นประถม) ทใี่ ชช้ ุดส่อื นิทาน "อ่านอุ่นรกั " / ชุดสอื่ การเล่น "เล่นลอ้ มรัก"
หรอื ชดุ ส่อื การสอนอืน่ ๆ
- จานวนเดก็ ปฐมวยั ทีไ่ ด้รับการพัฒนาทักษะสมอง หมายถึง เดก็ ปฐมวัยท่ีได้รับการพัฒนา
โดยการสอน การเลน่ กจิ กรรมหลากหลาย ผา่ นกลไกครูอนุบาล/ครูผู้ดูแลเดก็ โดยการใช้เครอ่ื งมอื ชุดสอื่ นิทาน
"อา่ นอนุ่ รกั " / ชุดสอ่ื การเลน่ "เลน่ ล้อมรัก" หรือ ชุดสอ่ื การสอนอืน่ ๆ
12
3. โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ
วัตถุประสงค์ เพ่ือให้สถานศึกษาดาเนนิ การตามกระบวนการโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ
อบายมุข มคี วามเขม้ แข็ง ต่อเน่อื งและยง่ั ยนื
ข้นั ตอน แนวทางการดาเนนิ งาน
1. ข้ันตอนการเตรียมการ - แตง่ ตั้งและประชุมคณะกรรมการประเมินผลการดาเนินงานโครงการ
2. ข้ันตอนการปฏิบตั ิ สถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3. ขนั้ ตอนประเมนิ ผล
- สรุปประเดน็ การดาเนินงานตามหลกั เกณฑ์การประเมินผลการดาเนนิ งาน
- จดั ทาแบบการให้คะแนน มอบให้คณะกรรมการประเมิน
- วางแผนแบ่งหัวข้อการสอบถามผลการดาเนนิ งานใหค้ ณะกรรมการ
ประเมนิ ตามยทุ ธศาสตร์โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และ
อบายมขุ
- ประธานคณะกรรมการประเมินผลงานช้ีแจงหลักเกณฑ์การประเมนิ
หอ้ งเรยี นสขี าว และสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ
- ผ้บู ริหาร ครูแกนนา นักเรียนแกนนา ครทู ีป่ รกึ ษา บคุ ลากรท่ีเกีย่ วข้อง
เสนอผลการดาเนินงาน
- คณะกรรมการพจิ ารณาผลการดาเนินงานจากเอกสารและผลงาน
เชิงประจกั ษ์
- คณะกรรมการประเมินผลงาน สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
สถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
- สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ประกาศ
รายชื่อสถานศึกษาที่ดาเนินงานสถานศึกษาสขี าว ดเี ดน่ ระดบั เงิน ให้
สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดลาปาง
- สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 รวบรวม
ผลงานของสถานศึกษาระดับทอง และระดับเพชร ให้สานักงาน
ศกึ ษาธิการจังหวดั ลาปาง เพ่ือดาเนินการประเมินคดั เลือก สง่
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4. ขน้ั เสริมแรง - ครปู ระจาช้ัน ครทู ่ีปรกึ ษา มีผลงานระดับดเี ดน่ ได้รบั เกยี รตบิ ัตรจาก
5. แบบประเมิน กระทรวงศึกษาธกิ าร
- สถานศกึ ษาระดับดีเดน่ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และ
อบายมุข ไดร้ ับเกยี รติบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการ
- แบบประเมินสถานศกึ ษาสีขาว
- แบบประเมินห้องเรยี นสีขาว
- เอกสารร่องรอยการดาเนินงานเชงิ ประจกั ษ์
13
FLOW CHART
แต่งตัง้ คณะทางาน/ประชมุ ชแี้ จง/ศึกษาเกณฑ์การ
ประเมนิ /สรปุ ประเด็น/จัดทาเอกสาร
คณะกรรมการพิจารณาผลการดาเนินจากเอกสารของสถานศกึ ษา
คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลงานเชิงประจกั ษข์ องสถานศกึ ษา
(ลงพืน้ ท่จี ริง)
เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ส่งผลงานของสถานศึกษาระดบั ดีเด่น
ใหส้ านักศกึ ษาธิการจังหวัด
สถานศกึ ษาระดบั ดีเดน่ /ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
โครงการสถานศึกษาสีขาว
สถานศึกษารบั โลเ่ ชิดชูเกยี รติ/เกยี รตบิ ตั ร
จากรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
14
4. งานส่งเสริมสนับสนุนระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ส่งเสริมสนบั สนนุ การดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน และกจิ กรรมพัฒนา
ผูเ้ รียนของสถานศึกษา ให้เปน็ ไปตามหลกั สูตร และมปี ระสิทธิภาพ
2. เพอ่ื จดั กิจกรรมสง่ เสริมสนับสนุนให้นักเรยี นได้เห็นคณุ คา่ ในตวั เองมคี ุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
และสมรรถนะตามท่กี าหนด
ขอบเขตของงาน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในสงั กดั จัดระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนอยา่ งครบ
วงจรไดม้ าตรฐาน ได้แก่ การรู้จกั นกั เรยี นเป็นรายบุคคล การคัดกรองนกั เรยี น การจดั กิจกรรมป้องกันและแก้ไข
ปัญหา การจดั กิจกรรมพฒั นาและการสง่ ต่อ โดยมกี ิจกรรมเย่ียมบ้านนกั เรียน กิจกรรมโฮมรมู กิจกรรมประชุม
ช้นั เรยี น กิจกรรมเพื่อนที่ปรึกษา(YC) กิจกรรมห้องเรยี นสขี าว เป็นตน้
คาจากัดความ
1. รูจ้ ักนกั เรยี นเป็นรายบุคคล หมายถงึ การจัดเก็บข้อมลู นักเรียนรายบุคคล ประวตั สิ ่วนตวั
ประวตั ิการศึกษา ข้อมลู ดา้ นสุขภาพ ความสามารถพเิ ศษ ฯลฯ
2. การคดั กรองนักเรียน หมายถึง การจัดกลุ่มนักเรียน ตามฐานขอ้ มูลรายบุคคลเป็นกลมุ่ ปกติ
กลุ่มมปี ัญหา กลุ่มเสย่ี ง และกลมุ่ มีความสามารถพเิ ศษ
3. การจัดกิจกรรมปอ้ งกนั หมายถึง กิจกรรมทจ่ี ัดข้นึ เพื่อนกั เรียนกลุ่มปกตเิ พ่ือป้องกนั และสรา้ ง
ความเขม้ แข็งเป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกันใหก้ บั นักเรยี นกลุ่มดงั กลา่ ว เชน่ กิจกรรมบ้านหลังเรียน
กจิ กรรมห้องเรียนสขี าว ฯลฯ
4. การจัดกิจกรรมแก้ปัญหา หมายถงึ กิจกรรมท่จี ดั ขึ้นเพ่ือนักเรยี นกลมุ่ ท่ีมปี ญั หาดา้ นต่างๆ ตาม
สภาพปญั หา เช่น การระดมทุนเพือ่ การศึกษาสาหรบั เด็กยากจน ปญั หาทอ่ี ยอู่ าศัยไมม่ นั่ คง
ปัญหาครอบครัวแตกแยกอยู่กับปู่-ยา่ ตา-ยาย การเขา้ คา่ ยปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม เพื่อนที่
ปรึกษา (YC)
5. การจดั กจิ กรรมพฒั นา หมายถึง กิจกรรมท่จี ดั เพื่อนักเรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษเพ่ือสง่ เสริมให้
นกั เรียนไดร้ บั การพฒั นาตามศักยภาพ
6. การสง่ ต่อ หมายถึง กิจกรรมที่จดั เพื่อนักเรียนท่ีมีความสามารถพเิ ศษหรือมีปัญหาเปน็ พเิ ศษ ที่
ตอ้ งอาศัยการมีส่วนร่วมจากภาคเี ครือขา่ ยหน่วยงานอืน่ หรอื บุคลากรทีม่ ีความชานาญเฉพาะ
ด้าน เช่น นักจิตวทิ ยาประจาเขตพื้นท่ี จิตแพทย์ โรงพยาบาล บ้านพักเด็กและครอบครัว
โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหจ์ ิตต์อารี ฯลฯ
ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน
1. การจัดระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น 5 ขั้นตอน และ กาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบระบบการดแู ล
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นที่ชดั เจน
2. ประชุมชี้แจงให้กับผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครทู ่ีรับผิดชอบระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนให้
เขา้ ใจกระบวนการ 5 ข้ันตอน
3. ดาเนินการเยยี่ มบ้านนกั เรยี น/ดาเนินการคดั กรองนกั เรยี น 4 ประเภท ได้แก่
กล่มุ เดก็ ปกติ กลุ่มเส่ียง กลุ่มเด็กมีปญั หา กลมุ่ เดก็ มคี วามสามารถพเิ ศษ
15
4. การติดตาม และประเมินผลการดแู ลช่วยเหลือ
5. พจิ ารณาคัดเลอื กโรงเรียนท่ีมีผลงานเชิงประจักษ์ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนระดบั เขต
พื้นท่กี ารศกึ ษา เพอ่ื สง่ ต่อในระดับ Cluster 15 ต่อไป
7. ประกาศผลการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มอบ
เกยี รติบตั ร
8. สรุปผล และรายงานผลการดาเนินงาน
16
17
18
เอกสาร/ หลกั ฐานอ้างองิ
1. คู่มือการดาเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
2. แผนงานโครงการ ปฏิทินการปฏบิ ัติงานของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา /โรงเรียน
19
20
5. งานค้มุ ครองและช่วยเหลอื เดก็ นกั เรยี น (ฉก.ชน.)
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพฒั นาคุณภาพเด็กนักเรยี นให้มคี วามพรอ้ มอย่างเปน็ องคร์ วม โดยการเสรมิ สร้างคณุ ภาพ
ชีวิตและแก้วกิ ฤติทางสงั คม
2. เพอ่ื ความปลอดภัยของเดก็ นักเรียน โดยการนากระบวนการของระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
5 ขั้นตอนได้แก่ การรูจ้ กั นักเรยี นเปน็ รายบุคคล การคดั กรองนักเรียน การส่งเสรมิ นักเรียน การ
ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา การส่งต่อ
คาจากดั ความ
การคุ้มครอง หมายถงึ การดูแลชว่ ยเหลือเด็กนกั เรียนท่ีเสี่ยงหรือต้องสงสยั วา่ ถูกกระทารุนแรงหรอื
ล่วงละเมดิ เดก็ นักเรยี นทีถ่ ูกกระทารุนแรงหรือลว่ งละเมดิ และเดก็ นักเรยี นท่กี ระทารนุ แรงหรอื ลว่ ง ละเมดิ ต่อบุคคล
อ่นื โดยมรี ะบบและขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิที่คานึงถงึ ประโยชน์สูงสดุ ทีเ่ กดิ ขนึ้ กบั เด็กนกั เรยี นเปน็ หลัก สอดคล้องกบั หลัก
ปฏิบตั ิตามกฎหมายแลหลกั ปฏบิ ตั ทิ มี่ ีมาตรฐาน
การช่วยเหลือ หมายถงึ การส่งเสริม พัฒนา การป้องกันและแก้ไขปัญหา เพื่อให้เดก็ นักเรยี น ได้
พัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ มีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มภี ูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเขม้ แข็ง มีคุณภาพชีวติ ทดี่ ี มี ทักษะการ
ดารงชวี ิตและรอดพ้นจากวิกฤตทงั้ ปวง
เด็ก หมายถึง บคุ คลซ่ึงมีอายตุ า่ กวา่ สิบแปดปีบรบิ รู ณ์ แตไ่ มร่ วมถึงผ้ทู ีบ่ รรลนุ ติ ิภาวะด้วยการ
สมรส
นักเรียน หมายถงึ เด็กซึ่งกาลังรับการศึกษาท่ีอยใู่ นความดูแลของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เดก็ นักเรียน หมายถงึ บคุ คลซ่งึ มอี ายุต่ากวา่ สบิ แปดปบี ริบรู ณ์ แตไ่ ม่รวมถงึ ผ้ทู ่บี รรลุนิตภิ าวะ ด้วย
การสมรส และเป็นเด็กนักเรียนซง่ึ กาลังรับการการศึกษาที่อยใู่ นความดูแลของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน
บดิ ามารดา หมายถึง บิดามารดาของเด็กนักเรียนไม่ว่าจะสมรสหรอื ไม่สมรส
ผูป้ กครอง หมายถึง บดิ า มารดา ผู้อนบุ าล ผรู้ บั บุตรบุญธรรมและผ้ปู กครอง ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และใหห้ มายความรวมถงึ พ่อเลีย้ งแม่เล้ยี ง ผปู้ กครองสวัสดภิ าพ นายจา้ ง ตลอดจน
บุคคลอื่น ซ่ึงรับเด็กนักเรยี นไว้ในความอปุ การะเล้ียงดหู รือซ่งึ เดก็ นักเรียนอาศยั อยู่ดว้ ย
พนักงานเจ้าหนา้ ที่ หมายถึง ผซู้ ึง่ รฐั มนตรีแตง่ ตงั้ ให้ปฏบิ ัติตามพระราชบัญญัติการคุ้มครอง เด็ก
พ.ศ. 2546
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หมายถึง บุคลากรวชิ าชพี ท่ีรับผิดชอบการบรหิ ารสถานศึกษาแต่ละแหง่
ท้ังของรฐั และเอกชน
ฉก.ชน.สพฐ. หมายถึง ศูนยเ์ ฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเดก็ นักเรียน สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พื้นฐาน
ฉก.ชน.สพป./สพม. หมายถึง ศูนยเ์ ฉพาะกจิ คุ้มครองและชว่ ยเหลอื เด็กนกั เรยี น สานักงานเขต
พน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา/ส านกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา
21
สถานศึกษา หมายถงึ สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั โรงเรียน ศูนยก์ ารเรียน วทิ ยาลยั สถาบัน
มหาวิทยาลยั หนว่ ยงานทางการศึกษา หรือหนว่ ยงานอื่นของรัฐหรือเอกชน ทม่ี ีอานาจหนา้ ที่หรอื มวี ัตถุประสงค์ใน
การจัดการศึกษา
ทีมสหวิชาชพี หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีทางานประสานความรว่ มมือจากหลายสาขาวิชาชพี เพ่ือ
ม่งุ แก้ปัญหาอยา่ งมีระบบและเปน็ กระบวนการ อย่บู นพนื้ ฐานท่มี ีจดุ ประสงค์และเป้าหมายเดยี วกันในการปฏบิ ัติงาน
โดยมีการตดิ ต่อสือ่ สารระหวา่ งกนั อย่างตอ่ เนื่อง เพ่ือการประเมนิ สภาพการณ์ของปัญหาและมี ความรบั ผดิ ชอบ
ร่วมกนั ทงั้ กระบวนการ เช่น ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สังคม (OSCC) มูลนิธิตา่ ง ๆ นกั จติ วิทยา นกั สังคมสงเคราะห์ แพทย์
พยาบาล เจ้าหนา้ ท่สี าธารณะสขุ พนกั งานเจา้ หน้าที่ตารวจ องค์กรเพอื่ การกุศล บา้ นพักเด็กและครอบครวั
สานักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คง ฯลฯ
ศูนย์ชว่ ยเหลอื สังคม (OSCC) หมายถึง ศูนยช์ ว่ ยเหลือสังคมภายใต้ชอื่ OSCC ( One Stop Crisis
Center) เป็นศนู ย์บริการประชาชนผปู้ ระสบปัญหาท่มี ลี ักษณะบูรณาการและครบวงจร โดยมหี นา้ ที่รบั แจ้งเหตุ
เบาะแส ประสานส่งต่อ และตดิ ตามการใช้ความช่วยเหลือเก่ียวกบั การตั้งครรภไ์ ม่พร้อม การคา้ มนุษย์ การใช้
แรงงานเด็ก การกระทาความรุนแรงตอ่ เด็กสตรี ผ้สู งู อายุและคนพิการ
ขน้ั ตอนวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เปน็ บคุ ลากรหลกั ในการดาเนนิ งานและบคุ ลากรทกุ ฝ่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งทัง้ ใน
และนอกสถานศกึ ษา ได้แก่ ผ้ปู กครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ล้วนมสี ่วนรว่ มในการคมุ้ ครองและ
ช่วยเหลือเดก็ นักเรยี น ซึ่งมีกระบวนการ ดงั ต่อไปนี้
1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ท่ีได้รบั แจ้งเหตุหรือประสบเหตุ บนั ทึกข้อมลู ตามแบบรายงาน
ฉก.01 รายงานเหตกุ ารณ์และแจง้ ไปยังศูนย์ ฉก.ชน.สพป./สพม. หากกรณีต้องการพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ใหแ้ จง้ ตาม
สภาพปัญหาทีต่ ้องการชว่ ยเหลือ เช่น ผ้มู ีหนา้ ท่คี ้มุ ครองสวสั ดภิ าพเด็กนักเรยี นตามพระราชบญั ญตั ิ ค้มุ ครองเด็ก
พ.ศ. 2546 มาตรา 24 ตารวจ พนกั งานฝ่ายปกครอง โรงพยาบาล ฯลฯ
2. ผู้ท่ีได้รับแจง้ เหตุดาเนินการช่วยเหลือด้านร่างกาย และจิตใจ พร้อมประเมนิ สถานการเบื้องต้น
โดยทนั ที
3. ให้การคุม้ ครองและชว่ ยเหลอื เดก็ นกั เรยี น โดยคานงึ ถึงความปลอดภยั ของเด็กนกั เรียน
4. กรณเี ดก็ นักเรียนมีความเส่ยี งต้องไดร้ บั การคุ้มครอง ให้จัดเจ้าหนา้ ทใี่ ห้ความคุ้มครองข้ันต้นกบั
เดก็ นักเรียนผปู้ ระสบเหตทุ ันที ซ่ึงจะต้องคานึงถงึ ผล ความปลอดภัยของเด็กนกั เรยี น พร้อมดาเนนิ การหาข้อมลู
ขอ้ เท็จจริง หากกรณีเร่งดว่ นให้รายงานหน่วยงานต้นสังกดั
5. กรณเี ดก็ นักเรยี นพงึ ได้รบั การสงเคราะห์ ให้สง่ ต่อเจ้าหน้าทรี่ ับบรกิ ารสงเคราะห์ต่อไป
6. ประสานข้อมูล จัดทา/จดั เก็บข้อมลู สถานศกึ ษา และรายงานไปยงั สพป./สพม. และผู้ที่
เกยี่ วขอ้ งทราบ
7. รายงานและประสานความร่วมมอื เพอื่ สง่ ตอ่ ความรบั ผิดชอบด้านข้อมลู แกผ่ ู้เกี่ยวข้อง
8. ตดิ ตามสถานการณ์และทบทวนการดาเนนิ งานและรายงานสถานการณต์ อ่ ศูนย์ ฉก.ชน.สพฐ.
22
กระบวนการดาเนินงานคุ้มครองและชว่ ยเหลอื นักเรียน
ผบู้ ริหารสถานศึกษาไดร้ บั แจ้งเหตุหรอื ประสบเหตุ กรณีตอ้ งการพนกั งานเจา้ หน้าท่ี
บันทกึ แบบรายงาน ฉก.01 รายงานเหตกุ ารณ์ ใหแ้ จง้ ขอรับการช่วยเหลอื
ผู้ทไ่ี ดร้ ับแจง้ เหตุ ดาเนินการชว่ ยเหลือและประเมนิ สถานการณเ์ บ้ืองต้น
ใหก้ ารดูแลช่วยเหลือ/คุ้มครอง
กรณีมคี วามเส่ยี งตอ้ งได้รับการคุม้ ครอง กรณพี งึ ไดร้ ับการสงเคราะห์
เจา้ หนา้ ที่ให้ความค้มุ ครองชนั้ ตน้ กรณเี รง่ ด่วนใหร้ ายงานทันที เจา้ หนา้ ที่สง่ ตอ่ ไปรบั บริการสงเคราะห์ตามระเบียบ
กระทรวง วา่ ดว้ ยการสงเคราะหเ์ ด็ก
ประสาน/จัดเกบ็ ข้อมูล ตรวจสอบ และรายงานไปยงั สพป./สพฐ.และ
หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง
ติดตามและรายงานสถานการณต์ อ่ ฉก.ชน.สพฐ.
23
ข้ันตอนการคุ้มครองช่วยเหลือนกั เรยี นกรณถี กู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ
ผ้บู ริหารสถานศึกษาได้รับแจ้งเหตุหรือประสบเหตนุ กั เรียนถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ
ตรวจสอบข้อมลู เบือ้ งตน้ ประเมนิ ปัญหา สถานการณ์ บันทึกข้อมลู แบบรายงาน แจ้งผ้ปู กครอง/ผูด้ แู ล
ฉก.01 และแจ้งมายังหน่วยงานทีด่ ูแลเดก็ นกั เรียน
ดาเนินการช่วยเหลอื ด้านรา่ งกาย จติ ใจ ใหค้ าปรึกษาแกเ่ ด็กนักเรยี น พร้อมประเมนิ สถานการณ์
แจง้ ทีม ฉก.ชน.สพป. แจง้ /ประสานการสง่ ตอ่ ทีมสหวชิ าชพี
ให้การดแู ลช่วยเหลอื เดก็ นักเรยี น/คุ้มครอง/ตดิ ตามเยี่ยม โดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัยของเด็กนักเรยี น
กรณเี ดก็ นกั เรยี นมคี วามเสยี่ งต้องไดร้ ับการคุ้มครอง กรณเี ดก็ นกั เรยี นต้องไดร้ ับการสงเคราะห์
ใหค้ วามคุม้ ครองเดก็ นกั เรยี นชน้ั ต้นทนั ที ใหเ้ จ้าหน้าทสี่ ง่ ต่อ ไปรับบริการสงเคราะห์
ตามระเบียบกระทรวงวา่ ดว้ ยการสงเคราะหเ์ ดก็ นกั เรยี น
จดั ทา/จัดเก็บข้อมูล การดาเนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทางาน
รายงาน สพป./สพฐ. และผเู้ กยี่ วขอ้ งทราบ ตามกรณี
การล่วงละเมดิ ทางเพศ หมายถงึ การกระทาท่มี ผี ลทาให้ผถู้ ูกกระทาได้รบั ความเสยี กายเก่ยี วกบั
เร่ืองเพศ ไดแ้ ก่ กระทาชาเรา อนาจาร เปน็ ตน้ ผูท้ ถ่ี ูกล่วงละเมดิ ทางเพศจะไดร้ บั ผลกระทบทัง้ ทางรา่ งกายและ
จิตใจ
24
แนวทางป้องกันเด็กนกั เรยี นจากการถกู ละเมดิ
1. ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักแก่ครู นกั เรยี น และผปู้ กครอง ในการป้องกัน
หาทางออกเมอื่ ตอ้ งเผชิญกบั เหตุการณ์การลว่ งละเมิด และสร้างกลไกการปอ้ งกันเด็กนักเรียนจากการถูกละเมิด
2. ใช้กระบวนการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ครทู ี่ปรึกษาเอาใจใสเ่ ด็กนักเรียนอย่างใกล้ชิด
และตอ้ งทางานเปน็ ทีม
3. ให้สถานศกึ ษาดแู ลพทิ ักษ์ ปกปอ้ ง และคุ้มครองเดก็ นักเรียนไมใ่ ห้ถูกลว่ งละเมิดทางเพศ จาก
บุคคลทง้ั ทอ่ี ยู่ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
4. จัดสถานทภ่ี ายในสถานศกึ ษาใหเ้ หมาะสม เชน่ มกี ล้องวงจรปิด มกี ารจัดตงั้ เวรยามตรวจ
พน้ื ท่ีจุดเส่ยี ง เพ่ือไมใ่ หเ้ กิดการล่วงละเมดิ ระหวา่ งครกู บั เด็กนักเรยี น เดก็ นักเรียนกบั เด็กนกั เรยี น และจากบุคคลอ่ืน
5. สถานศึกษาสอนเรื่องเพศศึกษาในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษาเปน็ หลกั
โดยเฉพาะการดแู ลการป้องกันตนเองของเด็กนักเรียนให้ปลอดภัยจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
แนวทางการชว่ ยเหลือ
1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมายสอบถามข้อเท็จจริง และปรกึ ษากับ ผู้เกี่ยวขอ้ งใน
สถานศึกษา สพป./สพฐ.ทันที
2. ตรวจสอบข้อมลู ประวตั เิ ด็กนักเรยี นโดยใชก้ ระบวนการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น การบนั ทึก
ขอ้ มูลและการจัดเก็บข้อมลู ตามแบบรายงาน ฉก.01
3. จัดผ้ทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมายดาเนนิ การเกยี่ วข้องกบั กรณีทเ่ี กิดขน้ึ กบั เดก็ นักเรียนตั้งแต่ตน้ จนจบ
กระบวนการ
4. เชญิ ผู้ปกครองเด็กนักเรียนทงั้ สองฝ่าย/หรือผู้ทเ่ี ด็กนักเรียนไวว้ างใจ/หรอื ผ้ทู ีเ่ ด็กนกั เรยี นรอ้ งขอ
มาพูดคยุ /รับทราบเหตุการณ์และใหค้ าปรึกษา
5. ประสานศูนย์ช่วยเหลอื สงั คม (OSCC) สถานพยาบาลในพืน้ ที่เพ่ือนาเด็กนักเรียนเข้ารบั การ
ตรวจรกั ษาดา้ นร่างกายและจิตใจภายใน 24 ช่วั โมง
6. กรณเี ด็กนักเรียนกับเด็กนักเรียน ใหด้ าเนนิ การดแู ลชว่ ยเหลือท้งั ผถู้ ูกกระทาและผ้กู ระทา
7. แจ้งผปู้ กครองเด็กนักเรียน หาแนวทางและวิธกี ารร่วมกนั ในการปรับพฤตกิ รรมเด็กนักเรยี น
8. เก็บข้อมลู เปน็ ความลับและพิทักษส์ ิทธิผู้ถกู กระทาและผู้กระทา
9. กรณีเด็กนกั เรียนกับครู หรือบุคลากรทางการศกึ ษา ตรวจสอบประวัติครู เชิญคณะกรรมการ
สถานศึกษามาปรึกษา สถานศกึ ษาแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เท็จจริงในสถานศึกษา และรายงาน
ผู้บังคับบัญชาทราบทันที
10. ดาเนินการทางวนิ ยั แกข่ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาที่กระทาการละเมิด
ดาเนินการทางอาญาและทางแพ่ง สรปุ รายงานแจง้ ผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาทราบโดยเรง่ ดว่ น
11. ประสานทีมสหวชิ าชีพ และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เชน่ สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ บ้านพกั เด็กและครอบครัว สถานีตารวจ องคก์ าร
บริหารส่วนท้องถิน่ ผู้มีหน้าท่ีคุม้ ครองสวสั ดิภาพเด็กตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ.2546 เปน็ ตน้
12. ตดิ ตามผล/เย่ยี มบา้ นเด็กนกั เรยี นเปน็ ระยะ ใหค้ าปรึกษา/ให้กาลงั ใจ
25
13. จดั ทาเป็นกรณีศึกษาเพื่อเป็นข้อมลู และแนวทางในการปกปอ้ งคุม้ ครองและดแู ล ช่วยเหลือเดก็
นกั เรยี นต่อไป
แนวทางการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพน้ื ที่
1. ผอ.สพป. รายงานเหตใุ ห้เลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทนั ทีกรณีเรง่ ดว่ น
2. มอบทีม ฉก.ชน.สพป. ประสานงานกับทีมสหวชิ าชพี เขา้ ช่วยเหลอื เดก็ นักเรียน เม่ือ
ทราบและนาไปตรวจรา่ งกายภายใน 24 ชั่วโมง
3. รายงานข้อมลู รายละเอยี ดอยา่ งเป็นทางการเบือ้ งตน้ ภายใน 24 ชัว่ โมง
4. กรณีสอื่ มวลชนเข้าติดตามสถานการณใ์ ห้รายงาน ผอ.สพป. ทันที
5. รายงานสถานการณ์ให้ผูบ้ ังคบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนการชว่ ยเหลือเสรจ็ ส้นิ
กระบวนการแหลง่ ช่วยเหลอื
1. สถานพยาบาล
2. บ้านพักเด็กและครอบครวั
3. สานักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
4. ศูนยช์ ว่ ยเหลือสงั คม (OSCC) โทร. 1300
26
6. การคดั เลอื กนกั เรยี น และสถานศกึ ษา เพ่ือรับรางวัลพระราชทาน
วตั ถุประสงค์
เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางการประเมินและคัดเลือกนักเรียน และสถานศึกษา เพอื่ รับรางวัลพระราชทาน
ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ใหเ้ ปน็ ไปทศิ ทางเดียวกนั อย่างมีหลักเกณฑ์ บรสิ ทุ ธ์ิ ยุตธิ รรม
ขอบเขต
คู่มอื ฉบับนีค้ รอบคลมุ แนวทางการประเมนิ และคดั เลือกนกั เรียน และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัล
พระราชทาน ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการ และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐานกาหนด
คาจากดั ความ
นักเรียน หมายถงึ นักเรยี นที่กาลังศกึ ษาอย่ใู นสถานศกึ ษาที่ส่งเข้ารบั การประเมนิ และคัดเลอื กและ
ได้เข้าศกึ ษาในระดับดงั กล่าวเป็นระยะเวลาไมน่ อ้ ยกว่า 1 ปี หรอื 2 ภาคเรยี น ดงั นี้
ระดบั ประถมศึกษา เป็นนักเรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในชนั้ ป. ๔-๕-๖ 2
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เป็นนกั เรียนทีก่ าลงั ศึกษาอยู่ในชัน้ ม. ๒–๓
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เป็นนักเรียนทกี่ าลงั ศกึ ษา อยใู่ นชนั้ ม. ๕-๖
สถานศกึ ษา หมายถึง สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษา ดังนีร้ ะดับก่อนประถมศึกษา ระดบั ประถมศึกษา
และระดบั มธั ยมศึกษา
ความรบั ผดิ ชอบ (ระดับเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา หรอื ระดบั จงั หวัด)
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา มีความรบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี
1. แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานคดั เลอื กนักเรยี น และสถานศกึ ษา เพื่อรบั รางวลั พระราชทาน
ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
2. ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาเป็นประธานในคณะกรรมการอานวยการ ทาหน้าที่
วางแผนการประเมิน กล่ันกรองผลการประเมิน และเสนอผลไปยังสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาท่ีรบั ผิดชอบการ
คัดเลอื ก ระดบั จงั หวัด หรือระดบั กลมุ่ จังหวดั
3. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ นักเรยี น จานวน ๓ หรอื ๕ คน และคณะกรรมการ ประเมิน
สถานศกึ ษา จานวน ๕ หรอื ๗ คน
4. ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประธานในคณะกรรมการประเมิน หรอื มอบหมาย
รองผอู้ านวยการสานกั งาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษาเป็นประธานแทน
รองผอู้ านวยการทไี่ ดร้ ับมอบหมายมคี วามรับผดิ ชอบ ดงั น้ี
1. ให้ความเห็นชอบ
2. เป็นรองประธานในคณะกรรมการอานวยการ และเป็นประธานในคณะกรรมการ
ประเมนิ (ท่ไี ดร้ ับแตง่ ต้งั )
3. วางแผนการประเมนิ ประเมิน และกล่นั กรองผลการประเมนิ
4. ปฏิบตั ิหน้าที่อน่ื ตามท่ีได้รับมอบหมาย
ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา มีความรับผดิ ชอบ ดังนี้
27
1. ใหค้ วามเหน็ ชอบ
2. เป็นกรรมการ หรือกรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการอานวยการ และหรือ
คณะกรรมการประเมนิ
3. วางแผนการประเมิน ประเมิน และกลน่ั กรองผลการประเมิน
4. ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีอ่ืนตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
นักวิชาการศึกษา มีความรบั ผดิ ชอบ ดังนี้
1. เสนอเร่ือง/โครงการ
2. เปน็ กรรมการ หรอื กรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการอานวยการ และหรือ
คณะกรรมการประเมนิ
3. วางแผนการประเมิน ประเมิน สรุปผลและตดิ ตามผลการประเมนิ
4. ปฏบิ ัติหนา้ ทอี่ ื่นตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ(ระดับเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา หรือระดับจงั หวัด)
1. ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ประชาสัมพันธห์ ลกั เกณฑ์และแนวทางการคดั เลือก ใหส้ ถานศกึ ษา
ทุกสงั กัดทจี่ ดั การศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีตั้งอยูใ่ นเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาทราบ
2. จดั ทาโครงการเสนอพจิ ารณาอนมุ ัติ พร้อมท้ังแจ้งสถานศกึ ษาส่งนักเรียน และสถานศึกษา
เข้ารับการประเมินและคัดเลือกนักเรยี นและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
3. สถานศกึ ษาแจง้ ความจานง จัดส่งนักเรยี น หรือสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการ การคัดเลือก
นกั เรียน และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดบั และขนาดละ 1 คน/โรงเรียน
แล้วจดั ส่งเอกสารไปยังสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา(เจ้าภาพ)
4. สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ตรวจสอบคุณสมบตั ิและเอกสารของสถานศกึ ษา ที่แจง้ ความจานง
เขา้ ร่วมโครงการ
5. แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการ และแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมนิ และคัดเลือกนักเรยี นและ
สถานศกึ ษา เพ่ือรบั รางวัลพระราชทาน ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
6. ประชมุ คณะกรรมการประเมนิ และคัดเลอื กนักเรียนและสถานศึกษา เพ่ือวางแผนการดาเนินงาน
จัดทากาหนดการประเมนิ และคดั เลือก
7. แจ้งสถานศึกษาท่สี ่งนักเรียนและสถานศึกษา เขา้ รับการประเมนิ และคดั เลอื กนกั เรยี นและ
สถานศึกษา เพ่ือรับรางวลั พระราชทาน ทราบกาหนดการประเมนิ ขนั้ ตอน และแนวทางการประเมนิ
8. คณะกรรมการประเมนิ ท่ีไดร้ บั การแตง่ ต้ังออกประเมินนักเรยี นและสถานศกึ ษา ตามกาหนดการ
ประเมนิ และคดั เลือก
9. ประชมุ คณะกรรมการประเมิน เพอ่ื สรุปผลการประเมนิ และจดั เรียงลาดับผลการประเมิน
10. ประชมุ คณะกรรมการอานวยการ และประธานคณะกรรมการประเมนิ เพื่อพจิ ารณากล่ันกรอง
ผลการประเมนิ
11. ประกาศผล และเสนอผลไปยงั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาที่รบั ผดิ ชอบการ คดั เลือกระดับ
จงั หวัด หรือระดบั กลุ่มจังหวดั (กรณีเป็นเจ้าภาพระดับจังหวัด)
12. สรปุ และรายงานผลโครงการ
28
กระบวนการคัดเลือก แบง่ เป็น 5 ข้นั ตอน คือ
1. การคัดเลือกระดบั สถานศึกษา
2. การคดั เลือกระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา (สพป.)
3. การคดั เลือกระดับจังหวัด
4. การคดั เลือกระดับกลุม่ จงั หวัด
5. การพิจารณาตัดสินผลการคดั เลอื กของคณะกรรมการดาเนนิ งาน (สพฐ.) และ
คณะกรรมการ อานวยการ(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)
1. ระดบั สถานศึกษา
ประเภทนักเรยี น สถานศกึ ษาทกุ สงั กัดท่จี ดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานคัดเลือกนักเรียน 1 คน แล้วเสนอ
ช่ือพรอ้ มข้อมลู ประกอบไปยงั สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาทสี่ ถานศึกษาต้งั อยู่ ภายในเวลาทีก่ าหนด
ประเภทสถานศึกษา สถานศึกษาทุกสงั กดั ที่จัดการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน แจง้ ความประสงค์ขอเขา้ รับ
การคัดเลือกไปยงั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาท่ีการศึกษาตั้งอย่ภู ายในเวลาทก่ี าหนด
*สถานศกึ ษาประเมินตนเองแล้วว่ามีความพร้อม **
2. ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา (สพป.)
ประเภทนกั เรยี น ดาเนนิ การประเมนิ และคดั เลือกนักเรียนตามระดับประถมศึกษา (นักเรียนระดับ
มัธยมศึกษา ให้แจง้ ความจานงไปท่ี สพม.) จาแนกตามขนาดสถานศกึ ษา (เล็ก กลาง ใหญ่) ขนาดละ 1 คน สพป.
ส่งผลการคดั เลือก พร้อมข้อมูลประกอบ ใหส้ านกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ทไ่ี ด้รับเลอื กเป็นเจ้าภาพระดบั จงั หวัด
(กรณีจงั หวัดท่ีมหี ลายเขต)
ประเภทสถานศึกษา ดาเนินการประเมนิ และคัดเลอื กสถานศกึ ษาตามระดบั การศกึ ษา
ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา (ระดบั มัธยมศึกษา ใหแ้ จ้งความจานงไปที่ สพม.) จาแนกตามขนาดสถานศกึ ษา
(เลก็ กลาง ใหญ่) ขนาดละ 1 แหง่ สพป. ส่งผลการคัดเลือก พร้อมขอ้ มูลประกอบให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ท่ี
ไดร้ ับเลือกเปน็ เจา้ ภาพระดับจังหวัด (กรณจี ังหวัดท่มี หี ลายเขต)
3. ระดบั จงั หวดั
ประเภทนักเรียน คณะกรรมการระดับจงั หวดั ดาเนินการประเมนิ และคัดเลือกนักเรยี นตามระดบั
การศกึ ษา (ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย) จาแนกตามขนาด สถานศึกษา (เล็ก กลาง
ใหญ่) ขนาดละ 1 คน คณะกรรมการระดบั จังหวัด สง่ ผลการคดั เลอื กพร้อมข้อมูลประกอบให้สานกั งาน เขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาท่ีเปน็ ศูนย์ประสานงานการคัดเลือกระดับกลุ่มจงั หวดั
ประเภทสถานศึกษา คณะกรรมการระดับจังหวัด ดาเนนิ การประเมนิ และคดั เลือกนักเรียนตาม
ระดบั การศึกษา (ก่อนประถมศึกษา ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา) จาแนกตามขนาดสถานศึกษา (เล็ก กลาง ใหญ่)
ขนาดละ 1 คน คณะกรรมการระดบั จังหวัด สง่ ผลการคัดเลอื ก พร้อมข้อมูลประกอบ ให้สานักงาน เขตพน้ื ท่ี
การศึกษาทเ่ี ป็นศูนย์ประสานงานการคัดเลือกระดับกลุ่มจังหวดั
4. ระดับกลุ่มจังหวัด คณะกรรมการระดบั กลุ่มจงั หวดั ดาเนนิ การประเมนิ และคัดเลือกนักเรยี น
และสถานศึกษาส่งผลการประเมนิ คัดเลอื ก พร้อมแนบ แบบประเมนิ ที่กรอกคะแนนของคณะกรรมการประเมนิ ราย
คน และฉบบั สรปุ รวม พร้อมทัง้ เอกสาร ประกอบอน่ื ๆ เช่น แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียน เอกสารรายงานผลการ
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และขอ้ มูลประกอบอนื่ ๆ สง่ ไปยังสานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงาน
29
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการดาเนนิ งาน คดั เลอื กนกั เรียน และสถานศึกษา เพือ่ รับ
รางวัลพระราชทาน ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พิจารณา ตรวจสอบและเสนอผลต่อคณะกรรมการอานวยการระดับ
กระทรวงศึกษาธิการต่อไป