1
รายงานผลการนิเทศ
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ปีการศึกษา 2561 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี
(APICE Model)
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ก
ค าน า
ั
ิ
รายงานผลการนิเทศ เล่มนี้จัดทาขึ้น เพื่อรายงานผลการนิเทศ ตดตามงานนโยบายสาคญ
แห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐานของสถานศกษา
ึ
ึ
ึ
ู้
ั
ู้
ั
ึ
ั้
ทงในดานการบริหารจดการของผบริหารสถานศกษา และการจดการเรียนรู้ของครูผสอน โดยใช ้
้
กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง
ึ
ึ
ี่
เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการนิเทศเลมนี้ คงจะมีประโยชน์ในการน ามาวางแผน/
่
ิ
ออกแบบ ก าหนดทศทางการนิเทศ ตดตามสถานศกษาให้เป็นระบบและมีประสทธิภาพตาม
ิ
ึ
ิ
ั
่
ุ
ี้
กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายส าคัญตางๆ ให้บรรลตวชวัด
ความส าเร็จในแต่ละนโยบาย อันที่จะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสังกัด ต่อไป
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
ข
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ค าน า ก
สารบัญ ข
ส่วนที่ 1 บทน า………………………………………………………………………..…………….……………………… 1
ที่มาและความส าคัญของปัญหา……………………………………………………………………………… 1
์
วัตถุประสงค…………………….............................................................................................. 3
เป้าหมายของการนิเทศ..................................................................................................... 3
ส่วนที่ 2 วิธีการด าเนินงาน......................................................……………….……………………….……. 3
การขับเคลื่อนงานนโยบาย เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา...........…………………..……..…… 3
ส่วนที่ 3 ผลการเนินงาน…………………………………………………………………………………………………. 10
ผลการด าเนินงาน.............................................................................................................. 10
คณะท างาน…………………………………………………………………………………………………………………. 27
1
ส่วนที่ 1
บทน า
ที่มาและความส าคัญของปัญหา
ึ
ี่
การนิเทศการศกษา ถือไดว่าเป็นงานทมีความสาคญในการจดและบริหารสถานศกษา
ึ
้
ั
ั
ึ
ื
่
ี้
เนื่องจากการนิเทศการศกษาเป็นกระบวนการบริหาร ชแนะ ให้ความชวยเหลอ ให้ความร่วมมือกับ
ี่
ู้
ึ
ั
ครูผสอนและบุคคลทเกี่ยวข้องกับการจดการศกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพิ่ม
ุ
ุ
ึ
ู้
ึ
คณภาพของผเรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของการศกษา เพราะการนิเทศการศกษามีจดมุ่งหมาย
คือ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน โดยปฏิบัติการผ่านครูผู้สอน เพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพสงขึ้น
ู
ั
ที่เกิดจากการพัฒนางานให้ได้ผลดีและเป็นการพัฒนากระบวนการทางานมีการประสานสมพันธ์อันด ี
้
ู้
ิ
งามระหว่างผปฏิบัตงาน ลดความขัดแย้งให้ไดมากทสด อีกทงยังเป็นการสร้างขวัญและก าลงใจ
ั
ั้
ี่
ุ
ุ
ใน การปฏิบัติงาน นอกจากนี้การนิเทศการศึกษายังมีความส าคัญ คือ ช่วยปรับปรุงคณภาพการเรียน
การสอนให้ด าเนินการอย่างราบรื่นเรียบร้อยและมีผลสัมฤทธิ์สูง
การน าการนิเทศแบบโคช (Coaching) มาเป็นขั้นตอนหนึ่งในการขับเคลอนให้ครูผสอน
้
ื่
ู้
ั
์
มีความรู้ ความเข้าใจในการจดการเรียนรู้แบบสร้างสรรคเป็นฐาน เนื่องจากหลกสตรแกนกลาง
ั
ู
ุ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกราช 2551 มุ่งเน้นให้คนไทยทกคน คดเป็น ทาเป็น มีเหตผล สามารถ
ุ
ิ
ั
เรียนรู้ไดอย่างตอเนื่องตลอดชวิต ให้นักเรียนมีทกษะ กระบวนการคด การจดการ การเผชญ
ั
ั
้
ิ
ี
ิ
่
ี
สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาในการดาเนินชวิตประจาวัน และ
มีความคิดสรร้างสรรค์ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 14 - 15)
ุ่
ั
ึ
ึ
ี่
กลมนิเทศ ตดตาม และประเมินผลการจดการศกษา สงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษา
ั
ิ
ื่
ประถมศกษาลาปาง เขต 1 เห็นความสาคญของการขับเคลอนงานนโยบายสาคญแห่งรัฐ
ั
ึ
ั
ึ
ึ
ึ
กระทรวงศกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐานของสถานศกษาและ
ั
ู้
ื
การจดการเรียนรู้ของครูผสอน โดยใชกระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) คอ
้
1. A (Assessing Need) การศึกษาสภาพและความตองการ 2. P (Planning) การวางแผนการนิเทศ
้
3. I (Informing) การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ 4. C (Coaching) การนิเทศแบบโคช และ
้
5. E (Evaluating) การประเมินผลการนิเทศ
วัตถุประสงค์
ิ
ั
เพื่อรายงานผลการนิเทศ ตดตามงานนโยบายสาคญแห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และ
ึ
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศกษาทงดานการบริหารจดการของผบริหาร
ั
ั้
้
ู้
ึ
ั
ึ
้
สถานศกษา และการจดการเรียนรู้ของครูผสอน โดยใชกระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE
ู้
Model) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
2
เป้าหมายของการนิเทศ
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ั
ึ
ิ
เพื่อนิเทศ ตดตามงานนโยบายสาคญแห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาทั้งด้านการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
ี่
และการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน จ านวน 95 โรงเรียน สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษา
ึ
ึ
ล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
ั
ึ
1. ผบริหารสถานศกษาสามารถบริหารจดการงานต า ม นโยบายสาคญแห่งรัฐ
ั
ู้
ึ
ิ
กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐานเป็นไปอย่างมีประสทธิภาพ
และตามบริบทของสถานศึกษา
2. ครูผสอนจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับงานตามนโยบายส าคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ
ู้
ุ
ั
ี้
ึ
และสานักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน เป็นระบบมีคณภาพตามตวชวัดและมาตรฐาน
การเรียนรู้ของแต่ละนโยบาย
3
ส่วนที่ 2
ี
วิธการด าเนินงาน
การขับเคลื่อนงานนโยบาย เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ื่
การดาเนินงานขับเคลอนงานนโยบายแห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และสานักงาน
ึ
้
ึ
คณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน โดยใชกระบวนการนิเทศเอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ด าเนินการดังแผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 ดังนี้
แผนภาพที่ 1 การนิเทศงานนโยบายส าคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และ
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
ศึกษาสภาพ และความต้องการ
(Assessing Needs : A)
การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P)
การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ
(Informing : I)
การนิเทศแบบโค้ช
(Coaching : C)
การประเมินผลการนิเทศ
(Evaluating : E)
4
แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการนิเทศงานนโยบายส าคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ
ึ
และส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
กรอบแนวคิดการนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
ศึกษาสภาพ และความต้องการ ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความต้องการ
(Assessing Needs : A)
ก าหนดตัวชี้วัดความส าเร็จ (KPI)
การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P) สร้างสื่อ/นวัตกรรม และเครื่องมือการนิเทศ
ก าหนดกิจกรรมและปฏิทินการนิเทศ
การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ส่งเสริม/พัฒนาความรู้ที่เกี่ยวข้องงานนโยบายส าคัญต่างๆ
(Informing : I)
ปฏบัตการนเทศ Coaching เพื่อกระตนให้ผู้บรหารสถานศึกษา
ิ
ุ้
ิ
ิ
ิ
การนิเทศแบบโค้ช ครผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/
ู
ิ
(Coaching : C) ก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา/ วางแผน/ ดาเนนการแก้ปัญหา/
วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ชื่นชม
รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการนิเทศ
ไม่มีคุณภาพ
ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ ปรับปรุง/
พัฒนา
มีคุณภาพ
สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศ
การประเมินผลการนิเทศ
(Evaluating : E)
น าเสนอและเผยแพร่ผลการนิเทศ (จัดนิทรรศการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ยกย่องเชิดชูเกยรติ/Website
ี
ฯลฯ)
5
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A)
ี
้
ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความตองการของคณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ทมบริหาร
ึ
ู้
็
ี่
ึ
่
ั
ู้
ศกษานิเทศก์ ผบริหารสถานศกษา ครูผสอน และบุคลากรทเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับประเดนสาคญตางๆ
ึ
ึ
ของงานตามแนวนโยบายแห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศกษา
ขั้นพื้นฐาน
6
ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)
ิ
ดาเนินการวางแผนการนิเทศ ตดตามร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ทม
ี
บริหารศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ก าหนดตัวชี้วัด (KPI)
2.2 จัดท าสื่อและเครื่องมือการนิเทศ ติดตาม
2.3 จัดท าปฏิทินการนิเทศ ติดตาม
7
ขั้นตอนที่ 3 การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ (Informing : I)
่
ิ
ุ
ั
็
ประชมเชงปฏิบัตการให้ความรู้ เกี่ยวกับประเดนสาคญตางๆ ของงานนโยบายแห่งรัฐ
ิ
กระทรวงศึกษาธิการ และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
8
ขั้นตอนที่ 4 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C)
ึ
คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศกษา และครูวิชาการ
ู้
ี่
้
ู้
ดาเนินการนิเทศแบบโคช เพื่อกระตนให้ผบริหารสถานศกษา ครูผสอน และบุคลากรทเกี่ยวข้อง
ุ้
ึ
ด าเนินการ ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน/ออกแบบ จัดกิจกรรมต่างๆ สรุปผลการด าเนินงาน ดังนี้
4.1 วิเคราะห์ปัญหา 4.2 เลือกแนวทางในการแก้ปัญหา
4.3 ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จ 4.4 วางแผนการแก้ปัญหา
4.5 ด าเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ ในแต่ละกิจกรรมที่ได้ก าหนดไว้
4.6 วิเคราะห์ และสรุปผลการด าเนินงาน
4.7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมความส าเร็จ และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน
9
ิ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมนผลการนิเทศ (Evaluating : E)
คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ
ด าเนินการรวบรวม วิเคราะห์ ตรวจสอบ สรุปผลและการประเมินผลการนิเทศ ดาเนินการ ดังนี้
5.1 รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการนิเทศ
5.2 ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ
5.3 สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศ ติดตาม
5.4 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้ และชื่นชมความสาเร็จ
ู้
5.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่สถานศึกษา ผบริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรท ี่
เกี่ยวข้องที่มีการปฏิบัติงานที่ดี
ี่
ี
ู่
5.6 เผยแพร่ผลงานการปฏิบัตงานทด สสาธารณชนผาน Website ระบบ ICT และ
่
ิ
สารสนเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
10
ส่วนที่ 3
ผลการด าเนินงาน
การขับเคลอนงานนโยบายสาคญแห่งรัฐ กระทรวงศกษาธิการ และสานักงาน
ึ
ื่
ั
ุ
ึ
ั
ึ
คณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดบคณภาพการศกษา โดยใชกระบวนการนิเทศ
้
ึ
ี่
เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1
ึ
ปีการศึกษา 2561 ผลการด าเนินงานปรากฏ ดังนี้
3.1 การด าเนินงานขับเคลื่อนห้องเรียนคุณภาพ
ั
ตารางท 1 ผลการดาเนินงานห้องเรียนคณภาพ ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
ี่
ุ
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช ้
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
ห้องเรียนคุณภาพ 270 30.10 447 49.83 42 4.68 138 15.38
จากตารางที่ 1 ผลการด าเนินงานห้องเรียนคุณภาพ ของโรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นท ี่
ี
ึ
ึ
ั
ึ
การศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม จานวน 270
ี
ห้องเรียน คดเป็นร้อยละ 84.61 อยู่ในระดบดมาก จานวน 447 ห้องเรียน คดเป็นร้อยละ 49.83
ิ
ิ
ั
อยู่ในระดบด จานวน 42 ห้องเรียน คดเป็นร้อยละ 4.68 ระดบพอใช 138 คดเป็นร้อยละ 15.38
ิ
ั
้
ี
ั
ิ
อยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84.61
ั
โรงเรียนที่เป็นแบบอย่างการปฏิบตงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนกอรวกพิทยาสรรค์
ื
ิ
กลุ่มเครือข่ายลิกไนต์ 2 อ าเภอแม่เมาะ จังหวัดล าปาง
11
3.2 การด าเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
ุ
ี่
ั
ตารางท 2 ผลการดาเนินงานชมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) 5 5.26 11 11.58 80 83.16
ั
จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการด าเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ของโรงเรียนในสงกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม
ั
ี
ั
ิ
ิ
5 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 5.26 อยู่ในระดบดมาก จานวน 11 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 11.58
ี
ระดับดี 80 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 83.16 ระดับดีขึ้นไป 100
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัตงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนบ้านศรีหมวดเกลา
ี่
ื
้
ิ
กลุ่มครือข่ายชมพูทอง อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
12
3.3 การด าเนินงานหลักสูตรปฐมวัย
ู
ั
ี่
ั
ตารางท 3 ผลการดาเนินงานหลกสตรปฐมวัย ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
หลักสูตรปฐมวัย 9 10.23 34 38.64 45 51.14
ั
ี่
ู
ั
จากตารางท 3 พบว่า ผลการดาเนินงานหลกสตรปฐมวัยของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
ึ
เขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม
ี่
ึ
ี
ึ
ั
ั
ิ
9 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 10.23 อยู่ในระดบดมาก จานวน 34 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 38.64
ิ
ี
ระดับดี 45 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 51.14 ระดับดีขึ้นไป 100
็
โรงเรียนทเปนแบบอย่างการปฏิบัตงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนอนุบาลลาปาง
ื
ิ
ี่
(เขลางค์รัตน์อนุสรณ) กลุ่มเครือข่ายจามเทวี อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
์
13
3.4 การด าเนินงานขับเคลื่อนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ั
ตารางที่ 4 ผลการด าเนินงานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
หลักสูตรการศึกษา 16 16.85 70 73.68 9 9.47
ขั้นพื้นฐาน
ั
จากตารางที่ 4 พบว่า ผลการด าเนินงานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในสงกัด
สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบ
ั
ึ
ึ
ี่
ึ
ั
ิ
ิ
ี
ดีเยี่ยม 16 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 16.85 อยู่ในระดบดมาก จานวน 70 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ
็
73.68 ระดับดี 9 โรงเรียน คิดเปนร้อยละ 9.47 ระดับดีขึ้นไป 100
ื
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา
กลุ่มเครือข่ายชมพูทอง อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
14
3.5 การด าเนินงานขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ึ
ี่
ุ
ั
ตารางท 5 ผลการด าเนินงานการประกันคณภาพภายในสถานศกษา ของโรงเรียนในสงกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
การประกันคุณภาพ 2 2.11 32 33.68 61 64.21
ภายในสถานศึกษา
จากตารางที่ 5 พบว่า ผลการด าเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียน
ั
ี่
ึ
ในสงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ใน
ึ
ึ
ิ
ั
ี
ระดบดเยี่ยม 2 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 2.11 อยู่ในระดบดมาก จานวน 32 โรงเรียน คดเป็น
ิ
ั
ี
ร้อยละ 33.68 ระดับดี 61 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 64.21 ระดับดีขึ้นไป 100
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา
ื
กลุ่มเครือข่ายแม่ตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง และ โรงเรียนบ้านโทกหัวช้าง กลุ่มเครือข่ายเมืองเขลางค ์
อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
15
3.6 การด าเนินงานขับเคลื่อนสะเต็มศึกษา
ั
ึ
ี่
็
ตารางท 6 ผลการดาเนินงานสะเตมศกษา ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช ้
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
สะเต็มศึกษา 6 6.32 15 15.79 63 66.31 11 11.58
ั
จากตารางท 6 พบว่า ผลการดาเนินงานสะเตมศกษาของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
ี่
ึ
็
ี่
ึ
ึ
ั
ึ
เขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดีเยี่ยม
ิ
ั
ี
ิ
6 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 6.32 อยู่ในระดบดมาก จานวน 15 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 15.79
ั
ิ
ี
้
ั
ระดับด 63 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 66.31 ระดบดขึ้นไป 88.42 ระดบพอใช 11 โรงเรียน คดเป็น
ิ
ี
ร้อยละ 11.58
ี่
ื
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนบ้านทุ่งกล้วย
กลุ่มเครือข่ายแม่ตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
16
3.7 การด าเนินงานขับเคลื่อนการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ึ
ั
ุ
ตารางที่ 7 ผลการด าเนินงานการประกันคณภาพภายในสถานศกษา ของโรงเรียนในสงกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
การอ่าน คิดวิเคราะห์ 6 6.32 51 53.68 38 41.00
เขียน
ั
ี่
ิ
จากตารางท 7 พบว่า ผลการดาเนินงานการอ่าน คดวิเคราะห์ เขียนของโรงเรียนในสงกัด
ั
ึ
ี่
ึ
ึ
สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบ
ี
ดีเยี่ยม 6 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 6.32 อยู่ในระดบดมาก จานวน 51 โรงเรียน คดเป็น
ั
ิ
ิ
ร้อยละ 53.68 ระดับดี 38 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 41.00 ระดับดีขึ้นไป 100
ื
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนบ้านทุ่งกล้วย
กลุ่มเครือข่ายแม่ตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
17
3.8 การด าเนินงานขับเคลื่อน DLTV
ี่
ั
ึ
ี่
ตารางท 8 ผลการดาเนินงาน DLTV ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษา
ประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
DLTV 6 7.06 70 82.35 9 10.56
ั
ี่
จากตารางท 8 พบว่า ผลการดาเนินงาน DLTV ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
ึ
ึ
ึ
ี
การศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม 6 โรงเรียน
ั
ิ
ั
ี
คดเป็นร้อยละ 6.32 อยู่ในระดบดมาก จานวน 70 โรงเรียน คดเป็น ร้อยละ 82.35 ระดบด ี
ิ
ั
9 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 9.47 ระดับดีขึ้นไป 100
ื
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนวัดน้ าโท้ง กลุ่ม
ี่
เครือข่ายแม่ตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
หมายเหตุ โรงเรียนที่เปิดการสอน ทั้งหมด 95 โรงเรียน จัดการเรียนการสอน โดยใช้ DLTV
จ านวน 85 โรงเรียน
18
3.9 การด าเนินงานขับเคลื่อน DLIT
ั
ี่
ตารางท 9 ผลการดาเนินงาน DLIT ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษา
ี่
ึ
ประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
DLIT 1 11.11 6 66.67 2 22.22
ั
ี่
จากตารางท 9 พบว่า ผลการดาเนินงาน DLIT ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
ี
การศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม 1 โรงเรียน
ั
ึ
ึ
ึ
คิดเป็นร้อยละ 11.11 อยู่ในระดับดีมาก จ านวน 6 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ระดับดี 2 โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ 22.22 ระดับดีขึ้นไป 100
ิ
ุ
โรงเรียนที่เป็นแบบอย่างการปฏิบัตงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนชมชนบ้านฟ่อนวิทยา
ื
กลุ่มเครือข่ายชมพูทอง อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
หมายเหตุ โรงเรียนที่เปิดการสอน ทั้งหมด 95 โรงเรียน จัดการเรียนการสอน โดยใช้ DLIT
จ านวน 9 โรงเรียน
19
3.10 การด าเนินงานขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ุ
ั
ตารางท 10 ผลการดาเนินงานโรงเรียนคณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
ี่
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. 10 10.53 34 35.79 51 53.68
ี่
จากตารางท 10 พบว่า ผลการดาเนินงานโรงเรียนคณธรรม สพฐ.ของโรงเรียนในสงกัด
ั
ุ
ั
ึ
ึ
ี่
ึ
สานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบ
ั
ี
ิ
ิ
ดีเยี่ยม 10 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 10.53 อยู่ในระดบดมาก จานวน 34 โรงเรียน คดเป็น
ร้อยละ 35.79 ระดับดี 51 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 53.68 ระดับดีขึ้นไป 100
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) ประเภทโรงเรียนขนาดใหญ่ คือ
์
โรงเรียนอนุบาลลาปาง (เขลางค์รัตน์อนุสรณ) กลุ่มเครือข่ายจามเทวี อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
ประเภทโรงเรียนขนาดกลาง คือ โรงเรียนบ้านอ้อน กลุ่มเครือข่ายขุนงาว อ าเภองาว จังหวัดล าปาง
ประเภทโรงเรียนขนาดเล็ก คือ โรงเรียนบ้านปันง้าว กลุ่มเครือข่ายอนันตยศ อ าเภอห้างฉัตร จังหวัด
ล าปาง และโรงเรียนบ้านแม่ส้าน กลุ่มเครือข่ายลกไนต์ 1 อ าเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
ิ
20
21
3.11 การด าเนินงานขับเคลื่อนการน าศาสตร์พระราชาไปใช้
ั
้
ตารางที่ 11 ผลการด าเนินงานการน าศาสตร์พระราชาไปใช ของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
การน าศาสตร์พระราชา 9 9.47 34 35.79 52 54.74
ไปใช ้
ี่
จากตารางท 11 พบว่า ผลการดาเนินงานการน าศาสตร์พระราชาไปใช ของโรงเรียน
้
ึ
ึ
ี่
ึ
ในสงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ใน
ั
ิ
ิ
ี
ระดบดเยี่ยม 9 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 9.47 อยู่ในระดบดมาก จานวน 34 โรงเรียน คดเป็น
ั
ี
ั
ร้อยละ 35.79 ระดับดี 52 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 54.74 ระดับดีขึ้นไป 100
ื
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนบ้านแม่ตีบ
กลุ่มเครือข่ายผาไท อ าเภองาว จังหวัดล าปาง
22
3.12 การด าเนินงานขับเคลื่อนค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
่
ั
ั
ี่
ตารางท 12 ผลการดาเนินงานคานิยมหลกของคนไทย 12 ประการ ของโรงเรียนในสงกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
ค่านิยมหลักของคนไทย 3 3.16 70 73.68 22 23.16
12 ประการ
จากตารางที่ 12 พบว่า ผลการด าเนินงานค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ของโรงเรียน
ั
ี่
ึ
ึ
ในสงกัดสานักงานเขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ใน
ึ
ิ
ิ
ั
ี
ั
ระดบดีเยี่ยม 3 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 3.16 อยู่ในระดบดมาก จานวน 70 โรงเรียน คดเป็น
ั
ร้อยละ 73.68 ระดับดี 22 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 23.16 ระดบดีขึ้นไป 100
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 85
ื
(บ้านห้วยทาก) กลุ่มเครือข่าย.......อ าเภองาว จังหวัดล าปาง
23
3.13 การด าเนินงานขับเคลื่อนส่งเสริมการอ่าน
ั
ี่
่
ตารางท 13 ผลการดาเนินงานสงเสริมการอ่าน ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
ส่งเสริมการอ่าน 6 6.32 48 50.53 41 43.16
ั
่
จากตารางที่ 13 พบว่า ผลการดาเนินงานสงเสริมการอ่าน ของโรงเรียนในสงกัดสานักงาน
ี
ั
ึ
ี่
เขตพื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม
ึ
ึ
ิ
ี
ั
6 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 6.32 อยู่ในระดบดมาก จานวน 48 โรงเรียน คดเป็น
ิ
ร้อยละ 50.53 ระดับดี 41 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 43.16 ระดับดีขึ้นไป 100
ี่
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนวัดบ้านสัก
ื
กลุ่มเครือข่ายแม่ตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
24
3.14 การด าเนินงานขับเคลื่อนโรงเรียนสุจริต
ุ
ั
ี่
ตารางท 14 ผลการดาเนินงานโรงเรียนสจริต ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขตพื้นท ี่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2561
ระดับคุณภาพ
ผลการด าเนินงาน ยอดเยี่ยม ดีมาก ดี
จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ
โรงเรียนสุจริต 12 12.63 65 68.42 18 18.95
ั
จากตารางที่ 14 พบว่า ผลการด าเนินงานโรงเรียนสุจริต ของโรงเรียนในสงกัดสานักงานเขต
ี่
ึ
ั
ี
ึ
พื้นทการศกษาประถมศกษาลาปาง เขต 1 ปีการศกษา 2561 พบว่า อยู่ในระดบดเยี่ยม
ึ
ิ
ิ
ี
ั
12 โรงเรียน คดเป็นร้อยละ 12.63 อยู่ในระดบดมาก จานวน 65 โรงเรียน คดเป็น
ั
ร้อยละ 68.42 ระดับดี 18 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 18.95 ระดบดีขึ้นไป 100
โรงเรียนทเป็นแบบอย่างการปฏิบัติงาน (Best of The Best) คอ โรงเรียนอนุบาลเมืองล าปาง
ี่
ื
(ธงชัยศกษา) กลุ่มเครือข่ายจามเทวี อ าเภอเมือง จงหวัดล าปาง
ึ
ั
25
4.15 การยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ั้
ี่
ึ
ึ
1.1 คะแนนเฉลย O-NET ปีการศกษา 2560 ของนักเรียนชนประถมศกษาปี่ 6 อยู่ใน
อันดับที่ 11 ของประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในอันดับที่ 11 ของประเทศ
ี่
ั้
ึ
ู
ึ
1.2 คะแนนเฉลย O-NET ของนักเรียนชนประถมศกษาปี่ 6 ปีการศกษา 2561 สงกว่า
ั
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทั้งในภาพรวม และรายวิชา ผลดงตารางที่ 3
ตารางที่ 15 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยในแตละรายวิชาของนักเรียนชนประถมศึกษาปีท 6
ั้
่
ี่
ระหว่างระดบเขตพื้นทการศกษา และระดับประเทศ ปีการศึกษา 2561
ึ
ั
ี่
คะแนนเฉลี่ย
รายวิชา เพิ่ม / ลด
ี่
ระดับเขตพื้นทการศึกษา ระดับประเทศ
ภาษาไทย 59.66 55.90 +3.76
ภาษาอังกฤษ 42.96 39.24 +3.72
คณิตศาสตร์ 41.71 37.50 +4.20
วิทยาศาสตร์ 42.88 39.93 +2.95
รวมเฉลี่ย 46.80 43.14 +3.66
จากตารางที่ 15 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง
ู
ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา และระดับประเทศ ปีการศึกษา 2561 พบว่า ในภาพรวมคะแนนเฉลยสง
ี่
กว่าระดับประเทศ เท่ากับ 3.66 และทุกรายวิชาสูงกว่าระดับเทศ โดยทรายวิชาคณตศาสตร์ (4.20)
ิ
ี่
ั
รองลงมา คือ ภาษาไทย (3.76) ภาษาอังกฤษ (3.72) และวิทยาศาสตร์ (2.95) ตามล าดบ
1.3 คะแนนเฉลี่ย O-NET ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ 6 ปีการศกษา 2561 สงกว่าปี
ู
ึ
การศึกษา 2560 ทั้งในภาพรวม และรายวิชา ผลดังตารางที่ 17
ึ
ั้
่
ี
ี่
ี
ี่
ตารางที่ 16 เปรียบเทยบคะแนนเฉลยในแตละรายวิชาของนักเรียนชนประถมศกษาปท 6
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาระหว่างปีการศึกษา 2560 และปีการศึกษา 2561
คะแนนเฉลี่ย เพิ่มขึ้น/ลดลง
รายวิชา ผลตาง
่
ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ร้อยละ
ภาษาไทย 50.12 59.66 + 9.54 19.03
ภาษาอังกฤษ 40.29 42.96 + 2.67 6.63
คณิตศาสตร์ 40.94 41.71 + 0.77 1.88
วิทยาศาสตร์ 41.69 42.88 + 1.19 2.85
รวมเฉลี่ยระดับเขตพื้นท ี่ 43.26 46.80 + 3.54 8.19
ระดับประเทศ 39.79 43.14
จากตารางที่ 16 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง
ึ
ปีการศกษา 2560 - 2561 พบว่า คะแนนเฉลยในภาพรวมปีการศกษา 2561 สงกว่าปีการศกษา
ี่
ู
ึ
ึ
ี่
้
2560 (+3.54 ร้อยละ 8.19) และเมื่อพิจารณาในแตละรายวิชา จะเห็นไดว่าคะแนนเฉลยในปี
่
ู
ึ
การศกษา 2561 สงกว่าปีการศกษา 2560 ทกรายวิชา โดยทรายวิชาภาษาไทย (+9.54 ร้อยละ
ี่
ุ
ึ
26
19.03) เพิ่มขึ้นมากทสด รองลงมา คอ ภาษาอังกฤษ (+2.67 ร้อยละ 6.63) วิทยาศาสตร์ (+1.19
ื
ุ
ี่
ร้อยละ 2.85) และคณิตศาสตร์ (+0.77 ร้อยละ 1.88) ตามล าดบ
ั
ึ
ี่
ั้
ึ
1.4 คะแนนเฉลย O-NET ของนักเรียนชนมัธยมศกษาปี่ 3 ปีการศกษา 2561 สงกว่าปี
ู
การศึกษา 2560 ทั้งในภาพรวม และรายวิชา ยกเว้นรายวิชาภาษาอังกฤษ ผลดังตารางที่ 18
ี
ี่
ี่
ึ
ั้
่
ี
ี่
ตารางท 17 เปรียบเทยบคะแนนเฉลยในแตละรายวิชาของนักเรียนชนมัธยมศกษาปท 3
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาระหว่างปีการศึกษา 2560 และปีการศึกษา 2561
คะแนนเฉลี่ย เพิ่มขึ้น/ลดลง
รายวิชา ผลตาง
่
ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ร้อยละ
ภาษาไทย 48.31 53.34 +5.03 10.41
ภาษาอังกฤษ 27.84 26.47 -1.37 -4.92
คณิตศาสตร์ 25.08 27.97 +2.89 11.52
วิทยาศาสตร์ 32.14 36.11 +3.97 12.35
รวมเฉลี่ยระดับเขตพื้นท ี่ 33.34 35.97 +2.63 7.89
ระดับประเทศ 33.34 37.50
ี่
ี่
ึ
จากตารางที่ 17 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลยของนักเรียนชนมัธยมศกษาปีท 3 ระหว่าง
ั้
ี่
ึ
ปีการศกษา 2560 - 2561 พบว่า คะแนนเฉลยในภาพรวมปีการศกษา 2561 สงกว่าปีการศกษา
ึ
ึ
ู
2560 (+2.63 ร้อยละ 7.89) และเมื่อพิจารณาในแตละรายวิชาจะเห็นไดว่าคะแนนเฉลยในปี
ี่
้
่
การศึกษา 2561 สูงกว่าปีการศึกษา 2560 จ านวน 3 รายวิชา โดยทรายวิชาภาษาไทย (+5.03 ร้อย
ี่
ิ
ละ 10.04) เพิ่มขึ้นมากทสด รองลงมา คอ วิทยาศาสตร์ (+3.97 ร้อยละ 12.35) และคณตศาสตร์
ื
ุ
ี่
(+2.89 ร้อยละ 11.52) ตามล าดบ
ั
27
คณะท างาน
ที่ปรึกษา
์
1. นายอภิรักษ์ อิ่มจิตอนุสรณ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
2. นางวรางคณา ไชยเรือน รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
3. นายเรวัติ สุธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยและประเมินผล
4. นายอัมพร เทพปินตา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา
ิ
5. นายมงคล ขัดผาบ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศลปะ และวัฒนธรรม
6. นายสมพร นาคพิทักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา
7. นายสุทิน จันทรวรเขตต์ ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านค่ากลาง
8. ว่าที่ ร.ต.ชีพสิทธิ์ ฮั่นเกียรติพงษ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนพินิจวิทยา
9. ดร.สุรภี วงศ์ไพบูลย์ ผู้อ านวยการโรงเรียนวิชานารี
คณะท างาน
ิ
1. ดร.เอกฐสทธิ์ กอบก า ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ตดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ิ
สพป.ล าปาง เขต 1
2. นายคฑาวุธ แข็งแรง ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
3. นางศรีจันทร์ ทรายใจ ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
4. นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถียร ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
5. นางพรณิพา ยศบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
6. นางทานตะวัน แข็งแรง ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
7. นายนพดล ถาวร ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
8. นางอัญชลี โทกุล ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
9. ดร.วัชรี เหล่มตระกูล ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
10. ดร.วิมล ปวนปันวงศ ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
11. นางสาวยุวธิดา ใหม่กันทะ ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1
บรรณากิจและออกแบบปก
ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบก า ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
28