คูมือ
การตั้งหมูยุวกาชาดสถานศึกษา
และการแตงตั้งคณะกรรมการยุวกาชาด
สถานศึกษา
กลุมสงเสรมิ การจัดการศึกษา
สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต ๑
คํานาํ
คมู ือการปฏิบัติงานเลมน้ี จดั ทําขน้ึ เพ่ือเปนแนวปฏิบตั ิในการตง้ั หมูย วุ กาชาดสถานศึกษาและ
การแตงต้ังคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา ตามขอบังคับสภากาชาดไทยแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 82)
พุทธศกั ราช 2562 หมวดที่ 9 ยุวกาชาด
เพ่ือใหกระบวนงานและข้ันตอนการปฏิบัติของการต้ังหมูยุวกาชาดสถานศึกษา และ
การแตง ตัง้ คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษาเปนไปตามขอบังคบั สภากาชาดไทยกําหนด กลมุ สงเสรมิ การจดั
การศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต ๑ จึงไดจดั ทาํ คูมอื การปฏิบัติงานน้ีขึ้น และ
หวังเปนอยางย่ิงวา คูมือฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงาน สถานศึกษา และผูที่เก่ียวของใหปฏิบัติงาน
ไดอ ยา งถูกตอง เหมาะสม และมปี ระสิทธิภาพตอไป
กลุม สง เสรมิ การจัดการศึกษา
มถิ ุนายน 2564
กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 1
สารบญั
เรอ่ื ง หนา
คาํ นาํ 1
สารบัญ 2
การจดั ตง้ั หมูยุวกาชาดสถานศกึ ษา และการแตงต้ังคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา
๑. ชอื่ กระบวนงาน ๓-5
2. วตั ถุประสงค
๓. ขอบเขตของงาน
๔. คาํ จาํ กัดความ
๕. ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน
๖. Flow Chart การปฏบิ ัตงิ าน 6-7
๗. แบบฟอรมท่ีใช
๘. เอกสาร/หลกั ฐานอางองิ
9. ภาคผนวก
๙.1 แบบคาํ รอ งขอจดั ต้ังหมยู วุ กาชาดสถานศึกษา (แบบ ยุว. 1)
๙.2 แบบคาํ รองขอจัดตั้งกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา (แบบ ยุว. 2)
๙.3 ใบสมัครเปนผบู ังคบั บญั ชายุวกาชาด (แบบ ยุว. 3 )
๙.4 แบบรายงานยวุ กาชาดประจาํ ป (แบบ ยวุ . 8 ข)
กลมุ สงเสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 2
การจัดตั้งหมูยวุ กาชาดสถานศกึ ษา และการแตง ต้ังคณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา
1. ชอ่ื กระบวนงาน
การจดั ตง้ั หมูยุวกาชาดสถานศึกษา และการแตงตง้ั คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา
2. วัตถปุ ระสงค
2.1 เพื่อเผยแพรความรู และขัน้ ตอนในการปฏิบัติงานของการต้ังหมูยุวกาชาดสถานศึกษา และ
การแตงตงั้ คณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา
2.2 เพ่ือเปนแนวปฏิบัติในการตั้งหมูยุวกาชาดสถานศึกษา และการแตงตั้งคณะกรรมการ
ยุวกาชาดสถานศึกษา ใหเปนไปตามขอ บงั คับสภากาชาดไทย แกไ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๘๒) พุทธศักราช ๒๕๖๒
หมวดท่ี ๙ ยุวกาชาด
3. ขอบเขตของงาน
ตามขอบังคับสภากาชาดไทย แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๘๒) พุทธศักราช ๒๕๖๒ หมวดท่ี ๙
ยวุ กาชาด กาํ หนดให
ขอ ๗๒ ใหผบู รหิ ารสถานศึกษาแตละแหงเปนนายกหมูยวุ กาชาดของสถานศกึ ษา มีอํานาจหนาท่ี
บรหิ ารงานยุวกาชาดในสถานศกึ ษาท่รี บั ผดิ ชอบ
นายกยวุ กาชาดเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา เปนผแู ตง ตง้ั นายกหมยู ุวกาชาด
ใหร องผูบรหิ ารสถานศึกษา เปน รองนายกหมูยุวกาชาด
นายกหมยู วุ กาชาด มอี ํานาจแตง ต้งั รองผูบริหารสถานศกึ ษา เปนรองนายกหมูย วุ กาชาด
ขอ ๗๓ คณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศึกษา ประกอบดว ย
(๑) นายกหมยู วุ กาชาด เปนประธานกรรมการ
(๒) รองนายกหมูย วุ กาชาด เปนรองประธานกรรมการ
(๓) ผูทรงคุณธรรม จํานวนไมเกินหา คน เปนกรรมการ
(๔) ผนู ํากลุม รองผูนํากลมุ ทุกคนในสถานศกึ ษา เปน กรรมการ
(๕) ผูนํากลุมคนหนึ่งที่ไดรับมอบหมายจากนายกหมูยุวกาชาด เปนกรรมการและ
เลขานุการ
(๖) ผูนํากลุมหรือรองผูนํากลุม จํานวนไมเกินสองคนท่ีไดรับมอบหมายจากนายกหมู
ยวุ กาชาด เปน กรรมการและผูชวยเลขานกุ าร
นายกยุวกาชาดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา เปนผูแตงตั้งคณะกรรมการยุวกาชาด
สถานศึกษา
4. คาํ จํากดั ความ
4.1 นายกยุวกาชาดจังหวัด หมายถึง ผูวาราชการจังหวัด โดยการแตงต้ังของสภานายก
สภากาชาดไทย มีอํานาจหนาท่ีบริหารงานยุวกาชาดในจังหวัด และมีอํานาจอนุมัติการจัดต้ังหมูยุวกาชาด
สถานศกึ ษา และลงนามในหนงั สือสําคญั การตั้งหมยู วุ กาชาด
4.2 นายกยวุ กาชาดเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา หมายถึง ผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต ๑ และมีอํานาจแตงต้ังคณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษาในสังกดั
4.3 นายกหมยู ุวกาชาด หมายถึง ผูอ ํานวยการสถานศึกษาแตล ะแหง มีอํานาจหนาที่บรหิ ารงาน
ยวุ กาชาดในสถานศกึ ษาท่ีรบั ผิดชอบ ไดร บั การแตงต้ังโดย นายกยวุ กาชาดเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
กลุมสง เสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 3
4.4 รองนายกหมูย วุ กาชาด หมายถงึ รองผูบริหารสถานศึกษา ไดรบั การแตง ตั้งโดย นายกหมูยุวกาชาด
4.5 ผูน ํากลุมยุวกาชาด หมายถึง ครูในสถานศึกษา ที่ไดร ับการแตงตัง้ โดย นายกหมยู วุ กาชาด
4.6 รองผูนํากลุมยุวกาชาด หมายถึง ครูในสถานศึกษา ท่ีไดรับการแตงตั้งโดย นายกหมู
ยวุ กาชาด
4.7 กรรมการผูทรงคุณธรรม หมายถึง ผูท่ีมีคุณสมบัติ ตามขอบังคับสภากาชาดไทย แกไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๘๒) พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ หมวดท่ี ๙ ยุวกาชาด ขอ ๗๔/๑ โดยมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ
๔ ป อาจไดรับการแตง ตง้ั อกี ได และมีคุณสมบตั ิดังตอ ไปน้ี
(๑) มีจติ ศรทั ธาในการกศุ ลสาธารณะและเปน ท่ีนับถอื ของประชาชนในทองถิน่
(๒) มคี วามเขาในวัตถุประสงคข องยุวกาชาด
(๓) มคี วามสนใจและเต็มใจชวยเหลือสนับสนุนกิจการยุวกาชาด
๔.๘ คณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา ประกอบดวย
(๑) นายกหมยู วุ กาชาด เปนประธานกรรมการ
(๒) รองนายกหมยู วุ กาชาด เปน รองประธานกรรมการ
(๓) ผทู รงคณุ ธรรมจํานวนไมเ กนิ หาคน เปนกรรมการ
(๔) ผูน าํ กลมุ รองผนู าํ กลมุ ทุกคนในสถานศกึ ษา เปนกรรมการ
(๕) ผูนํากลุมคนหนึ่งทไ่ี ดรับมอบหมายจากนายกหมยู วุ กาชาด เปน กรรมการและเลขานกุ าร
(๖) ผูนํากลุมหรือรองผูนํากลุม จํานวนไมเกินสองคน ที่ไดรับมอบหมายจากนายกหมู
ยุวกาชาด เปน กรรมการและผูชว ยเลขานกุ าร
5. ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน
5.1 ขัน้ ตอนการขอจัดตงั้ หมูยุวกาชาดสถานศกึ ษา (สว นภมู ิภาค) ประกอบดว ยขั้นตอนดงั นี้
๕.๑.๑ กรอกแบบ ยวุ . ๑, ยวุ . ๒ และ ยุว. ๓ โดยดาํ เนินการ ดังน้ี
๕.๑.๑.๑ ใหผูท่ีจะเปนผูบังคับบัญชายุวกาชาดสถานศึกษาของสถานศึกษาทุกคน
กรอกแบบ ยุว. ๓ คนละ 1 ใบ โดยระบุใหชัดเจนในสวนของคํารับรองวา จะใหเปนผูบังคับบัญชายุวกาชาด
ในตําแหนงใดตาํ แหนงหนึ่ง ดงั ตอ ไปน้ี
- รองนายกหมูย วุ กาชาด (ตามความเหมาะสม ไมจ ํากัดจาํ นวน)
- ผูน ํากลมุ ยุวกาชาด (จํานวนเทาจํานวนกลมุ ยวุ กาชาดที่ม)ี
- รองผูนาํ กลมุ ยวุ กาชาด (ไมจ าํ กัดจํานวน)
๕.๑.๑.๒ นํารายชื่อจากแบบ ยวุ . ๓ ทุกคน กรอกในแบบ ยุว. ๒ ขอ ๑
๕.๑.๑.๓ นํารายช่อื จากแบบ ยวุ . ๒ ขอ 1 กรอกในแบบ ยุว. ๑ ขอ 2 โดยหมายเลข ๑
คอื ผทู ่ีเปน นายกหมยู ุวกาชาดสถานศกึ ษา เปน ประธาน
๕.๑.๑.๔ กรอกแบบ ยวุ . ๒ ขอ ๒
๕.๑.๒ เสนอแบบ ยุว. ๑, ยุว. ๒ และแบบ ยุว. ๓ มายัง สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาลําปาง เขต ๑
๕.๑.๓ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต ๑ จัดทําคําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา และสําเนาคําสั่งแตง ตง้ั คณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา รวมทงั้ เอกสาร
การขอตั้งหมูยุวกาชาดสถานศึกษา เสนอไปยัง สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดลําปาง ในฐานะกรรมการและ
เลขานุการคณะกรรมการยุวกาชาดจังหวัด (ตามขอบังคับสภากาชาดไทย แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๘๒)
พุทธศักราช 256๒ หมวดท่ี ๙ ยุวกาชาด ขอ ๖๔) เปนผูรวบรวมเอกสารหลักฐานตาง ๆ เพื่อนําเสนอตอ
กลมุ สงเสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 4
นายกยุวกาชาดจังหวัด เปนผูลงนามในแบบ ยุว. ๑ และหนังสือสําคัญการตั้งหมูยุวกาชาด ตามขอบังคับ
สภากาชาดไทย แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๘๒) พุทธศักราช 2๕๖๒ หมวดท่ี 9 ยุวกาชาด ขอ ๗๔/๒ การต้ังหมู
ยวุ กาชาด
๕.๑.๔ เมื่อนายกยวุ กาชาดจังหวัด ลงนามเรียบรอยแลว สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดลําปาง
สงสําเนาคาํ ส่ังแตง ตั้งคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา และสาํ เนาหนังสือสําคัญการตั้งหมูยุวกาชาดไปยัง
สํานักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือขอรับเครื่องหมาย
กรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา
๕.๑.๕ สํานกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
เสนอขอเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา จากสภากาชาดไทย และสงมายัง สํานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั ลําปาง
๕.๑.๖ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดลําปาง จัดสงหนังสือสําคัญการตั้งหมูยุวกาชาด และ
เครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา มายัง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต ๑
๕.๑.๗ สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต ๑ จัดสงสําเนาคาํ สั่งแตง ต้ัง
กรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา หนังสือสําคัญการตั้งหมูยุวกาชาด และเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาด
สถานศึกษา ไปยังสถานศึกษาท่ีขอจัดตั้งหมูยุวกาชาดสถานศึกษาและแตงต้ังคณะกรรมการยุวกาชาด
สถานศึกษา
๕.๒ กรณีทสี่ ถานศกึ ษาไดดาํ เนินการจดั ตง้ั หมูยุวกาชาดสถานศึกษาแลว ตอมามีการเปล่ยี นแปลงนายก
หมูยุวกาชาด และคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษาชุดเดิมครบวาระ (วาระหน่ึง ๔ ป) ใหส ถานศึกษาขอ
แตง ต้ังคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษาใหม โดยใหดาํ เนินการ ดงั นี้
๕.๒.๑ สถานศึกษากรอกแบบ ยุว. ๒ และเสนอมายัง สํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ลําปาง เขต ๑
๕.๒.๒ สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาํ ปาง เขต ๑ จดั ทําคาํ สงั่ แตง ตง้ั คณะกรรมการ
ยุวกาชาดสถานศึกษา พรอมลงนามในแบบ ยุว. ๒ และสงสําเนาคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการ
ยุวกาชาดสถานศึกษาไปยัง สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ลาํ ปาง
๕.๒.๓ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดลําปาง ตรวจสอบและรวบรวมเอกสารสงไปยัง สํานัก
การลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื ขอรบั เครอ่ื งหมายกรรมการ
ยุวกาชาดสถานศกึ ษา
๕.๒.๔ สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เสนอขอเคร่ืองหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา จากสภากาชาดไทย และสงมายัง สํานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั ลําปาง
๕.๒.๕ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดลําปาง จัดสงเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา
มายัง สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต ๑
๕.๒.๖ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต ๑ จัดสงสําเนาคําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา และเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษาไปยัง สถานศึกษาท่ีขอ
แตง ตง้ั คณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศึกษา
กลมุ สงเสริมการจดั การศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 5
6. Flow Chart การปฏบิ ตั งิ าน
6.1 การขอจัดต้งั หมูยวุ กาชาด และการแตง ตั้งคณะกรรมการยวุ กาชาดสถานศึกษา
ผบู ังคับบญั ชายวุ กาชาด 1. ผบู ังคบั บัญชายุวกาชาด กรอกแบบ ยวุ . 3
2. นาํ รายชื่อจากแบบ ยวุ . 3 ทุกคนกรอกในแบบ ยุว. 2 ขอ ๑
3. นํารายชอื่ จากแบบ ยวุ .2 ขอ 1. กรอกในแบบ ยุว.1 ขอ 2
สถานศึกษา - ตรวจสอบและรวบรวมเอกสาร ทาํ หนังสือนําสงไปยัง สํานักงานเขต
พ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต ๑
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา 1. ตรวจสอบและรวบรวมเอกสาร การขอตง้ั หมยู วุ กาชาดสถานศกึ ษา
ลําปาง เขต ๑ 2. จดั ทําคาํ สง่ั แตง ตงั้ คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา และเสนอให
นายกยุวกาชาดเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ลงนามในแบบ ยวุ .2
สาํ นักงานศกึ ษาธิการจังหวัดลําปาง 3. จัดทําหนังสือนาํ สงพรอ มแนบเอกสารการขอจัดตงั้ หมูยวุ กาชาด
เสนอไปยงั สํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ลําปาง
1. ตรวจสอบและรวบรวมเอกสาร
2. จดั ทาํ หนังสือสําคัญการตงั้ หมูยวุ กาชาดสถานศกึ ษา
3. เสนอแบบ ยุว.1 และหนังสือสําคัญการต้ังหมูยุวกาชาด ตอนายก
ยวุ กาชาดจังหวดั (ผูวา ราชการจงั หวัด) ลงนามในเอกสาร
4. เมื่อนากยยุวกาชาดจังหวัดลงนามเรียบรอยแลว จัดทําหนังสือขอ
เคร่ืองหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา พรอมแนบสําเนาหนังสือ
สําคัญการต้ังหมูยุวกาชาดสถานศึกษา และสําเนาคําส่ังแตงตั้ง
คณะกรรมการสถานศึกษา สงไปยัง สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและ
กจิ การนกั เรยี น สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
สาํ นักการลกู เสือ ฯ - จัดทําหนังสือนําสง ขอเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา
ไปยัง สภากาชาดไทย
สภากาชาดไทย - ตรวจสอบ และจดั สงเครื่องหมายยวุ กาชาดสถานศึกษามายงั สาํ นกั การ
สาํ นักการลกู เสือ ฯ ลูกเสอื ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น สํานักงานปลดั กระทรวง
สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดลําปาง
- จัดทําหนังสือนําสงเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษากลับมา
ยัง สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ลาํ ปาง
- จัดทําหนังสือนาํ สง หนังสือสําคัญการต้ังหมูย ุวกาชาดสถานศึกษา และ
เคร่ืองหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษากลับมายัง สํานักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต ๑
สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา - จัดทําหนังสือนําสง หนังสือสําคัญการต้ังหมูยุวกาชาดสถานศึกษา
ลําปาง เขต ๑ เครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา และสําเนาคําส่ังแตงต้ัง
กรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา ไปยงั สถานศกึ ษา
กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 6
สถานศึกษา ๑. จัดพิธีรับมอบหนังสือสําคัญการต้ังหมูยุวกาชาดสถานศึกษาและพิธี
ประดับเครื่องหมายกรรมการยุวกาชาดสถานศกึ ษา
2. เมอ่ื ส้ินปการศึกษาภายในเดือน ก.พ. ใหจ ัดทํารายงานประจําปเสนอ
มายัง สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1
สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา - รวบรวมรายงานประจาํ ปของสถานศึกษา และจัดทําหนังสอื นําสงไปยัง
ลําปาง เขต ๑ สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ลําปาง
7. แบบฟอรม ทใ่ี ช
7.1 แบบคาํ รอ งขอจัดตง้ั หมยู ุวกาชาดสถานศกึ ษา แบบ ยวุ . 1
7.2 แบบคํารอ งขอจดั ต้งั กรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา แบบ ยวุ . 2
7.3 ใบสมัครเปน ผูบ งั คบั บญั ชายวุ กาชาด แบบ ยวุ . 3
7.4 แบบรายงานยุวกาชาดประจําป แบบ ยุว. 8 ข
8. เอกสาร/หลกั ฐานอางอิง
8.1 ขอบงั คบั สภากาชาดไทยแกไ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 82) พทุ ธศักราช 2562 หมวดท่ี 9 ยวุ กาชาด
8.2 คูมือการบริหารกิจกรรมยุวกาชาดในสถานศึกษา ของกลุมสงเสริมและพัฒนายุวกาชาด
สาํ นกั การลูกเสือ ยวุ กาชาด และกิจการนักเรียน สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
8.3 แนวปฏิบัติในการจัดตั้งหมูยุวกาชาดและแตงต้ังคณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา ของ
สาํ นกั การลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน
กลุมสง เสริมการจัดการศึกษา สพป.ลําปาง เขต ๑ 7
ภาคผนวก
- แบบคาํ รองขอจดั ต้งั หมยู ุวกาชาดสถานศกึ ษา (แบบ ยวุ . 1)
- แบบคาํ รอ งขอจดั ตงั้ กรรมการยวุ กาชาดสถานศกึ ษา (แบบ ยวุ . 2)
- ใบสมัครเปน ผบู งั คบั บญั ชายวุ กาชาด (แบบ ยวุ . 3 )
- แบบรายงานยวุ กาชาดประจาํ ป (แบบ ยวุ . 8 ข)
¬ÿ«. 8 (¢)
·∫∫√“¬ß“π¬ÿ«°“™“¥„π ∂“π»÷°…“
ª√–®”ªï°“√»°÷ …“........................................
À¡Ÿà¬ÿ«°“™“¥.......................................................................................................................................
∂“π∑µË’ ß—È ..................................................∂ππ...................................µ”∫≈/·¢«ß...................................
Õ”‡¿Õ/‡¢µ.................................................................®ß— À«—¥..............................................................
‚∑√»æ— ∑å.................................................................
¢âÕ 1 ß— °—¥Àπ«à ¬ß“π
”π°— ß“π§≥–°√√¡°“√°“√»°÷ …“¢—πÈ æπÈ◊ ∞“π
”π—°ß“π∫√À‘ “√ß“π§≥–°√√¡°“√ ßà ‡ √¡‘ °“√»÷°…“‡Õ°™π
°√ÿ߇∑æ¡À“π§√/‡∑»∫“≈
Õ◊πË Ê (√–∫ÿ)....................
¢âÕ 2 ®”π«π ¡“™‘°¬«ÿ °“™“¥
À≠‘ß...............................§π
™“¬.................................§π
√«¡.................................§π
¢Õâ 3 ®”π«πº∫Ÿâ ß— §∫— ∫≠— ™“¬«ÿ °“™“¥..............................§π
¢âÕ 4 ®”π«πºŸπâ ”°≈à¡ÿ ..............................§π √ÕߺŸâπ”°≈à¡ÿ ..............................§π
¢âÕ 5 ®”π«π‡®â“Àπâ“∑Ë’·≈–ºŸâ∫—ß§—∫∫—≠™“¬ÿ«°“™“¥∑’˺à“π°“√Õ∫√¡·≈–¬—߉¡àºà“π°“√Õ∫√¡
À≈°— Ÿµ√µ“à ßÊ
À≈—° Ÿµ√°“√Õ∫√¡ ®”π«π§π
º“à π°“√Õ∫√¡ ¬ß— ‰¡ºà à“π°“√Õ∫√¡
À≈°— µŸ √ºŸâ„À°â “√Õ∫√¡œ
À≈—° µŸ √ºŸâ∫√‘À“√ß“π¬«ÿ °“™“¥
À≈—° µŸ √ºŸâπ”¬ÿ«°“™“¥
À≈—° µŸ √Õ◊ËπÊ (√–∫ÿ)....................................
........................................................................
√«¡
131§Ÿ¡à Õ◊ °“√∫√‘À“√°®‘ °√√¡¬«ÿ °“™“¥„π ∂“π»°÷ …“
¢âÕ 6 °‘®°√√¡¬«ÿ °“™“¥∑ª’Ë Ø∫‘ —µ„‘ πªï°“√»°÷ …“..............................................................................
6.1 ...................................................................................................................................
6.2 ...................................................................................................................................
6.3 ...................................................................................................................................
6.4 ...................................................................................................................................
6.5 ...................................................................................................................................
œ≈œ
¢âÕ 7 ªí≠À“·≈–°“√·°âª≠í À“ (∂“â ¡)’
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
œ≈œ
≈ßπ“¡................................................................
(................................................................)
º√⟠“¬ß“π
«π— ∑Ë’...........‡¥Õ◊ π..............................æ.». ...........
≈ßπ“¡................................................................
(................................................................)
𓬰À¡àŸ¬«ÿ °“™“¥ (™Õ◊Ë ∂“π»°÷ …“).....................
À¡“¬‡Àµÿ
- «à π°≈“ß ßà ‰ª¬ß— ”π°— °“√≈°Ÿ ‡ Õ◊ ¬«ÿ °“™“¥ ·≈–°®‘ °“√π°— ‡√¬’ π À√Õ◊ ”π°— °“√»°÷ …“
°√ÿ߇∑æ¡À“π§√
- à«π¿¡Ÿ ¿‘ “§ à߉ª¬—ß ”π—°ß“π‡¢µæ◊Èπ∑˰’ “√»°÷ …“
132 §¡Ÿà Õ◊ °“√∫√À‘ “√°®‘ °√√¡¬ÿ«°“™“¥„π ∂“π»°÷ …“