The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินการโครงการส่งเสริมพัฒน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Trainingspk, 2021-11-23 06:58:19

รายงานผลการดำเนินการโครงการส่งเสริม

รายงานผลการดำเนินการโครงการส่งเสริมพัฒน

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
เพื่อมุ่งสู่นกั เรียนในศตวรรษท่ี 21
ปีการศกึ ษา 2564

เครือขา่ ยส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจัดการมัธยมศกึ ษา
จงั หวดั สมุทรปราการ

สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสมทุ รปราการ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

รายงานผลการดำเนินกงานโครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมุ่งสู่
นักเรียนในศตวรรษที่ 21 ปีการศึกษา 2564 ดำเนินการโดยคณะกรรมการเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการมัธยมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์ปัจจุบัน
2. เพื่อยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษาสู่คุณภาพผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

โครงการนี้เป็นโครงการที่มีประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาของจังหวัดสมุทรปราการ ได้รับความร่วมมือ
จากโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 25 โรงเรียน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสมุทรปราการเป็นอย่างดี สำเร็จตามวัตถุประสงค์ทุกกิจกรรม คณะผู้รับผิดชอบได้จัดทำรายงาน
ผลการดำเนนิ งาน ดังรายละเอียดท่ีปรากฏในรายงานฉบบั นี้

(นายจิราพงศ์ จตุ ธิ นะเสฏฐ)์
ผู้อำนวยการโรงเรียนราชวนิ ิตบางแก้ว
ประธานเครือข่ายสง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจดั การมัธยมศกึ ษา

จังหวดั สมทุ รปราการ

สารบัญ หนา้
1
เร่ือง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
2
หลักการและเหตผุ ล 2
วัตถปุ ระสงค์ 2
เป้าหมาย 3
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 3
แผนการปฏิบตั งิ าน/กจิ กรรม 3
รายละเอียดการใชง้ บประมาณ
การติดตามผลและประเมินผล 4
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั 5

บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง 17
รายละเอยี ดกิจกรรม 17
17
บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ งาน 17
ระยะเวลาดำเนนิ การ 18
แผนการปฏิบตั งิ าน
วิธดี ำเนนิ งาน 19
เคร่ืองมอื สำหรบั การดำเนินกิจกรรม/โครงการ 20

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน 59
สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจ

ภาคผนวก

บทท่ี 1
บทนำ

หลกั การและเหตผุ ล

การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชิต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 นั้น ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและตามศักยภาพ โดยมีการจัดเนื้อหากิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของ
ผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ ม สือ่ การเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ จัดการเรียน
การสอนให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ ดังนั้นผู้สอนจะต้องพัฒนาตนเอง พัฒนาความรู้ความสามารถทั้งด้าน
เน้ือหาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มหี นา้ ทีร่ ับผิดชอบการสอนด้านการถ่ายทอดความรสู้ ู่การเรียนด้วยวิธีต่าง ๆ
ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ากท่ีสุด

การศึกษาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทีเกิดขึ้น
สามารถดำรงชีวิตในสังคมยคุ ศตวรรษที่ 21 ท่ีมคี วามเจริญก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลงเกดิ ข้ึนอย่างรวดเร็วได้
อย่างมีประสิทธิภาพ การปรับเปลี่ยนทางสังคมในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของคนในสังคม
อย่างหลากหลาย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคนให้มีคุณภาพเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ
ดังนั้น การจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาเป็นพื้นฐานการพัฒนาสู่อาชีพหรือระดับอุดมศึกษา จึงต้องเน้นให้
นักเรียน มีศักยภาพ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
เชือ่ มโยงความรู้ทกั ษะและค่านยิ มที่ดงี าม มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รจู้ กั พึง่ ตนเองเพื่อการดำเนนิ ชวี ติ อย่างมีความสุข
ปรับตัวให้ทนั กบั การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในสังคม การจัดการเรียการสอนต้องนำศาสตร์ทั้ง 4 สาขาวิชา ได้แก่
วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์
(Mathematics) เป็นองค์ความรู้หลักทางวิชาการที่เชื่อมโยงบูรณาการเข้าด้วยกันกับทุกสาระการเรียนรู้
ซึ่งจะส่งผลพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษศาสตร์
ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความร้ดู ้านเปน็ พลเมอื งที่ดี (Civic Literacy) ความรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literacy) และความรูด้ ้านสิง่ แวดล้อม
(Environmental Literacy) เพ่ือนำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ และการทำงาน

เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงภารกิจในการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ดังนั้น เพื่อพัฒนาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใหม้ คี วามรูค้ วามสามารถ เพอ่ื พฒั นาตนเองอยา่ งเตม็ ศักยภาพ ตลอดจนการเพ่มิ ทกั ษะกระบวนการจดั การเรียนรู้
ให้บุคลากรมีความเป็นครูมืออาชีพ มีสื่ออุปกรณ์ที่เพียงพอและทันสมัย เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในยุคปัจจุบัน
จงึ จัดทำโครงการส่งเสรมิ พฒั นาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเพื่อมุ่งสู่นักเรียนในศตวรรษท่ี 21 ขน้ึ

วตั ถุประสงค์ของโครงการ

1. เพ่ือส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรูใ้ นสถานการณ์ปจั จุบนั
2. เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 2,400 คน

เชิงคุณภาพ
1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการ

พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณป์ ัจจุบัน
2. ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจังหวดั สมุทรปราการ ที่เข้ารว่ มโครงการไดร้ ับความรู้

ความเข้าใจเพ่อื ยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาสู่ศตวรรษท่ี 21

ขน้ั ตอนการดำเนินงาน

ที่ งาน/กจิ กรรม เวลา ผู้รับผิดชอบ

1 ประชุมวางแผนการทำงาน กนั ยายน 2564 คณะกรรมการเครอื ข่ายฯ

2 แต่งตงั้ คณะกรรมการ กันยายน 2564 คณะกรรมการเครือขา่ ยฯ

3 ดำเนนิ งานตามโครงการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา

- กิจกรรมอบรมเรื่อง วิทยาการคำนวณและcoding รุ่น 1 28 กนั ยายน 2564 ของโรงเรยี น สงั กดั สำนักงาน

- กจิ กรรมอบรมเรอ่ื ง หลักสตู รสมรรถนะ 18 ตลุ าคม 2564 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

- กจิ กรรมอบรมเรอื่ ง วจิ ยั ในชั้นเรยี น 19 ตุลาคม 2564 สมุทรปราการ ทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม

- กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่ 20 ตลุ าคม 2564

การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 รนุ่ 1

- กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่ 21 ตุลาคม 2564

การประเมนิ วิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 รนุ่ 2

- กจิ กรรมอบรมเร่ือง วิทยาการคำนวณและcoding รุน่ 2 22 ตุลาคม 2564

4 นิเทศ กำกบั ตดิ ตามผล 18-22 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

5 สรุปผลการจัดโครงการ 23 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

6 รายงานผลการจัดโครงการ 25 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

แผนการปฏบิ ตั งิ าน/กจิ กรรม

ที่ งาน/กิจกรรม วธิ กี าร เวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ

1 วทิ ยาการคำนวณและcoding รุน่ 1 จดั อบรมรูปแบบ online 28 กนั ยายน 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

2 หลักสูตรสมรรถนะ จดั อบรมรูปแบบ online 18 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการเครือขา่ ยฯ

3 วจิ ยั ในชนั้ เรยี น จดั อบรมรูปแบบ online 19 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

4 การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสกู่ าร จัดอบรมรูปแบบ online 20 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการเครือขา่ ยฯ

ประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 รุน่ 1

5 การเตรียมตัวเพ่ือกา้ วเขา้ สกู่ าร จดั อบรมรูปแบบ online 21 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

ประเมนิ วทิ ยฐานะแนวใหม่ ว 9 ร่นุ 2

6 วทิ ยาการคำนวณและcoding รุ่น 2 จัดอบรมรปู แบบ online 22 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการเครือข่ายฯ

รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ

คำชีแ้ จง/รายการ จำแนกตามหมวดรายจา่ ย

ที่ การใช้งบประมาณ บคุ ลากร ดำเนนิ งาน ลงทุน รวม

และทรพั ยากร ค่าจ้าง ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ สาธารณปู โภค ครุภัณฑ์ ท่ีดินฯ

1 คา่ วิทยากรภายนอก - 43,200 - - - - - 43,200

สำหรับการอบรม 4

หลกั สูตร 6 วัน 6 รนุ่

2 ค่าอาหารว่างและอาหาร - - 11,800 - - - - 11,800

กลางวันคณะทำงาน 6

วนั

3 สรุปและรายงานผลการ - - -- - --

ดำเนินการ

รวม 43,200 11,800 55,000

การติดตามและประเมนิ ผล

ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ วธิ วี ดั และประเมินผล เครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล ผูร้ บั ผิดชอบ

เชิงปริมาณ การประเมินความพงึ แบบสอบถาม แบบประเมิน ครผู ู้สอนทเ่ี ขา้ รว่ ม

ครแู ละผ้บู ริหารโรงเรียนมธั ยมศึกษา พอใจ การนเิ ทศ แบบนิเทศติดตาม การ โครงการและ

สมุทรปราการ สมัครเขา้ อบรม จำนวน ติดตาม การพัฒนา พฒั นาวิชาการ การพฒั นา คณะกรรมการเครือขา่ ยฯ

1,400 คน วิชาการ การพัฒนา ทักษะในศตวรรษท่ี 21

เชงิ คณุ ภาพ ทักษะในศตวรรษ

รอ้ ยละ 60 ของครูผสู้ อนและ ที่ 21

ผบู้ รหิ ารโรงเรียนมธั ยมศึกษาจังหวัด

สมทุ รปราการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการไดร้ ับ

การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้สู่

มาตรฐานสากล

ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั

1. ครูและผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ มีความสามรถในการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเอง และประสานความร่วมมอื ในการพัฒนาวชิ าการได้อย่างประสทิ ธภิ าพ

2. ครแู ละผบู้ รหิ ารโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวดั สมุทรปราการ มีความรคู้ วามสามารถมีทักษะเหมาะสม
กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่าง
ประสิทธิภาพ

บทที่ 2
เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมุ่งสู่นักเรียนในศตวรรษที่ 21
ปีการศึกษา 2564 มีเอกสารทเี่ กี่ยวข้องกบั การดำเนินงาน และรายละเอยี ดกิจกรรม ดังนี้

รายละเอยี ดกจิ กรรม
1. ตารางอบรม เร่ือง วทิ ยาการคำนวณ และcoding ร่นุ ท่ี 1



2. ตารางอบรม เร่อื ง หลกั สตู รสมรรถนะ



3. ตารางอบรม เรื่อง หลักสตู รวิจยั ในช้นั เรยี น



4. ตารางอบรม เรื่อง การเตรียมตวั เพ่อื กา้ วเขา้ สู่การประเมินวทิ ยฐานะแนวใหม่ ว 9 ร่นุ 1



5. ตารางอบรม เรื่อง การเตรียมตวั เพ่อื กา้ วเขา้ สู่การประเมินวทิ ยฐานะแนวใหม่ ว 9 ร่นุ 2



6. ตารางอบรม เร่อื ง สเตม็ ศกึ ษาและcoding



บทที่ 3
วธิ ีการดำเนนิ งาน

โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมุ่งสู่นักเรียนในศตวรรษที่ 21
ปกี ารศึกษา 2564 มีวิธีการดำเนินงาน ดงั นี้

ระยะเวลาดำเนนิ การ

1. กจิ กรรมอบรมเรื่อง วทิ ยาการคำนวณและcoding รนุ่ 1 กำหนดวันที่ 28 กนั ยายน 2564
2. กิจกรรมอบรมเรื่อง หลักสตู รสมรรถนะ กำหนดวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2564
3. กจิ กรรมอบรมเรื่อง วิจัยในชัน้ เรยี น กำหนดวันที่ 19 ตุลาคม 2564
4. กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวทิ ยฐานะแนวใหม่ ว 9 รุ่น 1 กำหนด
วันที่ 20 ตลุ าคม 2564
5. กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 รุ่น 2 กำหนด
วนั ที่ 21 ตุลาคม 2564
6. กจิ กรรมอบรมเรอ่ื ง วิทยาการคำนวณและcoding รุ่น 2 กำหนดวันท่ี 22 ตลุ าคม 2564

แผนการปฏิบตั ิงาน

โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมุ่งสู่นักเรียนในศตวรรษที่ 21

ปีการศึกษา 2564 มแี ผนงานทกี่ ำหนดไว้ ดังนี้

ที่ งาน/กจิ กรรม วิธกี าร เวลา ผรู้ บั ผิดชอบ

1 วทิ ยาการคำนวณและcoding รนุ่ 1 จัดอบรมรูปแบบ 28 กนั ยายน คณะกรรมการ

online 2564 เครอื ข่ายฯ

2 หลักสตู รสมรรถนะ จดั อบรมรูปแบบ 18 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการ

online เครอื ข่ายฯ

3 วิจัยในช้ันเรยี น จัดอบรมรปู แบบ 19 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการ

online เครอื ข่ายฯ

4 การเตรียมตวั เพื่อก้าวเข้าสกู่ าร จดั อบรมรปู แบบ 20 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการ

ประเมนิ วทิ ยฐานะแนวใหม่ ว 9 รุ่น 1 online เครือข่ายฯ

5 การเตรยี มตวั เพื่อกา้ วเขา้ สูก่ าร จัดอบรมรปู แบบ 21 ตลุ าคม 2564 คณะกรรมการ

ประเมนิ วิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 ร่นุ 2 online เครือข่ายฯ

6 วิทยาการคำนวณและcoding รุ่น 2 จดั อบรมรปู แบบ 22 ตุลาคม 2564 คณะกรรมการ

online เครือข่ายฯ

วิธกี ารดำเนนิ งาน

มรี ายละเอยี ดการดำเนนิ การ ดังน้ี
1) ประชุมวางแผนการปฏบิ ัติงาน
- กำหนดดกิจกรรม
- กำหนดแนวทางการดำเนนิ งาน/ระยะเวลา/งบประมาณ
- กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบ

2) ออกแบบการจดั กจิ กรรม
3) จัดทำรายละเอยี ดและตารางกำหนดการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
4) แต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ การกจิ กรรม
5) จัดเตรียมเอกสารที่ใชใ้ นกิจกรรม
6) จัดเตรียมระบบการจัดกจิ กรรมในรปู แบบ Online ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
7) ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมตามกำหนดการ

- กิจกรรมอบรมเร่ือง วทิ ยาการคำนวณและcoding รุ่น 1 กำหนดวนั ที่ 28 กันยายน 2564
- กิจกรรมอบรมเรื่อง หลักสตู รสมรรถนะ กำหนดวนั ที่ 18 ตุลาคม 2564
- กิจกรรมอบรมเรอ่ื ง วิจัยในช้นั เรยี น กำหนดวนั ท่ี 19 ตลุ าคม 2564
- กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9
ร่นุ 1 กำหนดวนั ท่ี 20 ตุลาคม 2564
- กิจกรรมอบรมเรื่อง การเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9
รนุ่ 2 กำหนดวันท่ี 21 ตลุ าคม 2564
- กจิ กรรมอบรมเรื่อง วิทยาการคำนวณและcoding รุ่น 2 กำหนดวันท่ี 22 ตุลาคม 2564
8) นิเทศ กำกบั ติดตามผลโดยใช้
- แบบสอบถามความคิดเหน็ ของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
9) สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งทราบ

เครอื่ งมือสำหรับการดำเนินกิจกรรม/โครงการ

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจโดยใช้ QR Code

วทิ ยาการคำนวณและcoding หลกั สตู รสมรรถนะ วจิ ัยในช้ันเรยี น
ร่นุ 1

การเตรียมตวั เพื่อกา้ วเขา้ สูก่ าร การเตรียมตัวเพ่ือกา้ วเข้าสกู่ าร วิทยาการคำนวณและcoding
ประเมนิ วิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 ประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว 9 รนุ่ 2

รนุ่ 1 รุ่น 2

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมุ่งสู่นักเรียนในศตวรรษที่ 21
ปกี ารศึกษา 2564 ผลการจดั กจิ กรรมปรากฏ ดังน้ี

ที่ หลักสูตร วันที่ จำนวนท่ี จำนวนท่เี ขา้ จำนวนผู้ผา่ น
สมัคร อบรม การอบรม
1 หลักสูตรวิทยาการคำนวณและ
coding รนุ่ 1 28 กนั ยายน 2564 135 คน 135 คน 135 คน

2 หลกั สตู รสมรรถนะ 18 ตลุ าคม 2564 473 คน 472 คน 381 คน
3 หลกั สตู รวิจยั ในชน้ั เรียน 19 ตลุ าคม 2564 467 คน 414 คน 403 คน
4 หลกั สตู รการเตรยี มตัวเพอ่ื ก้าวเข้าสู่ 20 ตลุ าคม 2564 463 คน 394 คน 389 คน

การประเมินวทิ ยฐานะแนวใหม่ ว.9 21 ตลุ าคม 2564 254 คน 192 คน 188 คน
รนุ่ 1
5 หลกั สูตรการเตรยี มตวั เพื่อก้าวเข้าสู่ 22 ตุลาคม 2564 252 คน 145 คน 145 คน
การประเมิน 2,044 คน 1,752 คน 1,641 คน
วทิ ยฐานะแนวใหม่ ว.9 รุ่น 2
6 หลักสูตรวทิ ยาการคำนวณและ
coding รนุ่ 2

รวม

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
การจดั อบรมสัมมนาดว้ ยรูปแบบออนไลน์ เพื่อพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดย เครือขา่ ยส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั การมธั ยมศึกษาจังหวดั สมุทรปราการ

1. หลกั สูตรวทิ ยาการคำนวณและ Coding ร่นุ ที่ 1 วันที่อบรม 28 กันยายน 2564

ตอนที่ 1 การวิเคราะหข์ อ้ มูลพื้นฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 119 คน

ตารางที่ 1 ข้อมลู พ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงจำนวนและค่าร้อยละ (n =119)

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

1. เพศ

ชาย 35 29.41

หญงิ 84 70.59

รวม 119 100.00

2. กล่มุ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย 13 10.92

คณติ ศาสตร์ 18 15.14

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25 21.01

สังคมศึกษา 11 9.24

สขุ ศึกษาและพละศกึ ษา 8 6.72

ศิลปะ 10 8.40

การงานอาชีพ 4 3.36

ภาษาต่างประเทศ 25 21.01

แนะแนว 5 4.20

ผู้บริหาร 0 0.00

รวม 119 100.00

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมอบรม
ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรม หลักสูตรวิทยาการคำนวณและ Coding รุ่นที่ 1
นำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง กำหนดค่าความหมายของค่าเฉลี่ย โดยใช้เกณฑ์ของช่วงคะแนน
(class interval) (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2553) 5 ระดบั ดังนี้
ค่าเฉลย่ี ตั้งแต่ 4.51 – 5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่ีสดุ
คา่ เฉลย่ี ตั้งแต่ 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก
ค่าเฉลย่ี ต้ังแต่ 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ระดบั ปานกลาง
คา่ เฉล่ยี ต้ังแต่ 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับนอ้ ย
คา่ เฉลยี่ ต้ังแต่ 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั นอ้ ยทีส่ ุด

นำเสนอผลการวิเคราะห์ดังตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณและ Coding รุ่นที่ 1

(n =119)

ข้อที่ รายการ ระดับ ลำดบั

1 เนื้อหาท่สี อนตรงตามหลักสตู ร 4.56 มากที่สดุ 7

2 กจิ กรรมการเรียนรู้เทคนิคและวิธีสอนน่าสนใจ 4.57 มากที่สดุ 6

3 วิทยาการใช้สอื่ ประกอบการสอน 4.58 มากที่สุด 5

4 วทิ ยากรใหโ้ อกาสในการซักถามปัญหา 4.66 มากท่สี ดุ 3

5 วทิ ยากรคอยกระตนุ้ ให้ตืน่ ตัวในการเรียนเสมอ 4.65 มากท่สี ุด 4

6 วทิ ยากรให้ความสนใจทั่วถึงทุกคน 4.55 มากที่สดุ 8

7 วิทยากรเข้าสอนและออกตรงตามเวลา 4.69 มากทส่ี ดุ 2

8 บคุ ลิกภาพ การแต่งกายและการพูดจาของ 4.70 มากที่สุด 1
วทิ ยากรเหมาะสม

รวม 4.62 มากทสี่ ดุ

จากตารางที่ 2 ค่าเฉลยี่ ความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณและ Coding รุ่น
ที่ 1 พบว่า ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.62) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้ออยู่ในระดับ
มากที่สุดทุกข้อ และพบว่า บุคลิกภาพ การแต่งกายและการพูดจาของวิทยากรเหมาะสม อยู่ในอันดั บสูงสุด
( =4.70) รองลงมาคือ วทิ ยากรเขา้ สอนและออกตรงตามเวลา ( =4.69) ส่วน วิทยากรให้ความสนใจทั่วถึง
ทกุ คน มคี วามพึงพอใจอยใู่ นอันดบั ต่ำสดุ ( =4.55)

แผนภูมิแสดงขอ้ มลู ตอนท่ี 1 และขอ้ เสนอแนะ

ข้อเสนอแนะ
- วิทยากรและทีมงานมคี ณุ ภาพ
- ในการจัดการอบรมออนไลน์อย่างเป็นทางการ คณะทำงานควรมีการประชุมเตรียมการต่าง ๆ ให้

พร้อม ควรมีผู้ทำหน้าที่พิธีกร มีการเชิญผู้บริหารกล่าวเปิด-กล่าวปิดเป็นกิจลักษณะ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม
ตระหนักและเห็นความสำคัญของการอบรม วิทยากรมีความสามารถถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ ได้ดีเป็นกันเอง แต่
ควรปรับระดับภาษาและการสื่อสารเป็นลักษณะทางการอีกนิดเพราะเป็นการอบรมในภาพรวมทั้งองค์กรไม่ใช่
การแลกเปล่ียนในกลุ่มสาระฯ วิทยากรและทีมงานควรลดการส่ือสารถามความพร้อมต่าง ๆ กนั ตอ่ หน้าผู้เข้ารับ
การอบรม กฎเกณฑ์กตกิ าต้องมใี หช้ ัดเจน เปน็ กำลงั ให้ในการพัฒนาต่อไปครับ

2. หลกั สตู รฐานสมรรถนะ วันทอี่ บรม 18 ตลุ าคม 2564

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำนวนผูต้ อบแบบสอบถาม 383 คน

ตารางที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงจำนวนและคา่ ร้อยละ (n =383)

รายการ จำนวน ร้อยละ

2. เพศ

ชาย 99 25.85

หญงิ 284 74.15

รวม 383 100.00

2. กล่มุ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย 40 10.44

คณิตศาสตร์ 56 14.62

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 83 21.67

สงั คมศึกษา 51 13.32

สขุ ศกึ ษาและพละศกึ ษา 17 4.44

ศลิ ปะ 18 4.70

การงานอาชพี 24 6.27

ภาษาต่างประเทศ 62 16.19

แนะแนว 12 3.13

ผู้บรหิ าร (สนับสนุนการสอน) 20 5.22

รวม 383 100.00

นำเสนอผลการวิเคราะห์ดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมอบรมหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (n =383)

ข้อท่ี รายการ ระดบั ลำดับ
5
1 เน้อื หาทสี่ อนตรงตามหลักสตู ร 4.83 มากที่สุด 7
6
2 กิจกรรมการเรยี นรเู้ ทคนคิ และวิธสี อนน่าสนใจ 4.78 มากที่สุด 10
8
3 วิทยาการใช้สอื่ ประกอบการสอนเหมาะสม 4.81 มากทีส่ ุด
9
4 วทิ ยากรเปิดโอกาสในการซกั ถามปัญหา 4.54 มากที่สุด 3
2
5 วิทยากรคอยกระตุ้นให้ตื่นตัวในการร่วม 4.73 มากท่สี ุด
1
กิจกรรมเสมอ 4

6 วทิ ยากรใหค้ วามสนใจผู้อบรมทวั่ ถึงทกุ คน 4.66 มากที่สุด

7 วิทยากรมีความตรงต่อเวลาในการอบรม 4.86 มากที่สดุ

8 บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของ 4.88 มากที่สุด

วทิ ยากรเหมาะสม

9 ความรู้ความเช่ยี วชาญของวทิ ยากร 4.91 มากทส่ี ุด

10 องค์ความรู้ที่ได้รับและการนำไปใช้ประโยชน์ 4.84 มากท่สี ุด

รวม 4.78 มากที่สุด

จากตารางที่ 2 คา่ เฉลี่ย ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมอบรมหลักสูตรฐานสมรรถนะ พบวา่ ในภาพรวมมี
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.78) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกขอ้ และพบว่า
ความรู้ความเชี่ยวชาญของวิทยากร อยู่ในอันดับสูงสุด ( =4.91) รองลงมาคือ บุคลิกภาพ การแต่งกายและ
การสื่อสารของวิทยากรเหมาะสม ( =4.88) ส่วนวิทยากรเปิดโอกาสในการซักถามปัญหา มีความพึงพอใจอยู่
ในอันดับต่ำสุด ( =4.54)

แผนภูมแิ สดงข้อมูลตอนท่ี 1 และขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะ
- เป็นโครงการท่ีดี
- วิทยากรอธิบายเขา้ ใจง่าย ชัดเจน และสามารถนำไปใชไ้ ด้จรงิ

3. หลกั สูตรวิจัยในช้ันเรียน วนั ทอี่ บรม 19 ตุลาคม 2564

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหข์ อ้ มลู พ้ืนฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 422 คน

ตารางที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐานของผูต้ อบแบบสอบถามแสดงจำนวนและคา่ ร้อยละ (n =422)

รายการ จำนวน ร้อยละ

3. เพศ

ชาย 105 24.88

หญงิ 317 75.12

รวม 422 100.00

2. กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย 52 12.32

คณติ ศาสตร์ 58 13.74

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 93 22.04

สงั คมศกึ ษา 59 13.98

สุขศกึ ษาและพละศึกษา 24 5.69

ศิลปะ 29 6.87

การงานอาชีพ 23 5.45

ภาษาตา่ งประเทศ 63 14.93

แนะแนว 11 2.61

ผู้บรหิ าร (สนบั สนุนการสอน) 10 2.37

รวม 422 100.00

นำเสนอผลการวิเคราะห์ดังตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มอบรมหลกั สตู รวจิ ัยในชั้นเรยี น (n =422)

ข้อท่ี รายการ ระดับ ลำดับ
4
1 เน้อื หาทส่ี อนตรงตามหลกั สูตร 4.86 มากที่สุด 8
6
2 กิจกรรมการเรียนรเู้ ทคนิคและวธิ สี อนน่าสนใจ 4.80 มากที่สดุ 9
9
3 วทิ ยาการใชส้ ื่อประกอบการสอนเหมาะสม 4.82 มากที่สดุ
7
4 วิทยากรเปดิ โอกาสในการซักถามปญั หา 4.78 มากทีส่ ดุ 2
1
5 วิทยากรคอยกระตุ้นให้ตื่นตัวในการร่วม 4.78 มากทส่ี ดุ
2
กิจกรรมเสมอ 4

6 วทิ ยากรใหค้ วามสนใจผู้อบรมทัว่ ถึงทุกคน 4.81 มากท่ีสดุ

7 วทิ ยากรมคี วามตรงตอ่ เวลาในการอบรม 4.90 มากที่สุด

8 บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของ 4.91 มากทีส่ ดุ

วิทยากรเหมาะสม

9 ความร้คู วามเชี่ยวชาญของวิทยากร 4.90 มากทีส่ ุด

10 องค์ความรู้ท่ไี ด้รับและการนำไปใช้ประโยชน์ 4.86 มากทส่ี ุด

รวม 4.84 มากที่สดุ

จากตารางท่ี 2 ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมอบรมหลักสูตรวจิ ัยในชั้นเรียน พบว่า ในภาพรวม
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.84) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ และ
พบว่า บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของวิทยากรเหมาะสม อยู่ในอันดับสูงสุด ( =4.91) รองลงมา
คือ วิทยากรมีความตรงต่อเวลาในการอบรม ( =4.90) และความรู้ความเชี่ยวชาญของวิทยากร ( =4.90)
ส่วนวิทยากรเปิดโอกาสในการซักถามปัญหาและวิทยากรคอยกระตุ้นให้ตืน่ ตัวในการร่วมกิจกรรมเสมอ มีความ
พงึ พอใจอยู่ในอันดบั ต่ำสุด ( =4.78)

แผนภมู แิ สดงขอ้ มูลตอนท่ี 1 และข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะ
- ให้ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง และการอบรมออนไลน์มีประโยชน์ดีมาก ไม่เสียค่าใช้จ่ายและการ

เดนิ ทาง พรอ้ มไดร้ บั ความรเู้ หมือนกับอบรมด้วยเทคโนโลยี เปรียบเสมอื นอยู่ในสถานทีจ่ ริง
- วิทยากรมีความรู้อย่างลกึ ซ้ึง สามารถชีแ้ นะแนวทางไดอ้ ยา่ งกระจา่ งแจ่มชดั ทกุ เนื้อหา

4. หลักสูตรการเตรียมตวั เพ่อื กา้ วเขา้ สกู่ ารประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว.9 : รุ่นท่ี 1 วนั ทีอ่ บรม 20 ตุลาคม 2564

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ข้อมูลพ้นื ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถาม 406 คน

ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดงจำนวนและคา่ ร้อยละ (n =406)

รายการ จำนวน ร้อยละ

4. เพศ

ชาย 88 21.67

หญงิ 318 78.33

รวม 406 100.00
2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย 50 12.32
คณติ ศาสตร์ 71 17.49
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 89 21.92
สงั คมศกึ ษา 49 12.07
สขุ ศึกษาและพละศึกษา 13 3.20
ศิลปะ 26 6.40
การงานอาชพี 31 7.64
ภาษาตา่ งประเทศ 50 12.32
แนะแนว 11 2.71
ผ้บู รหิ าร (สนบั สนุนการสอน) 16 3.94
406 100.00
รวม

นำเสนอผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวิทย

ฐานะแนวใหม่ ว.9 : ร่นุ ที่ 1 (n =406)

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ลำดับ

1 เนือ้ หาที่สอนตรงตามหลกั สตู ร 4.84 มากท่สี ดุ 3

2 กจิ กรรมการเรียนรู้เทคนคิ และวธิ สี อนนา่ สนใจ 4.80 มากที่สุด 8

3 วิทยาการใช้ส่อื ประกอบการสอนเหมาะสม 4.82 มากทส่ี ดุ 6

4 วทิ ยากรเปดิ โอกาสในการซักถามปญั หา 4.82 มากท่สี ุด 6

5 วิทยากรคอยกระตุ้นให้ตื่นตัวในการร่วม 4.74 มากทีส่ ดุ 9

กจิ กรรมเสมอ

6 วทิ ยากรใหค้ วามสนใจผู้อบรมท่วั ถึงทกุ คน 4.74 มากทสี่ ุด 9

7 วทิ ยากรมคี วามตรงต่อเวลาในการอบรม 4.87 มากทส่ี ุด 1

8 บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของ 4.87 มากทสี่ ุด 1

วิทยากรเหมาะสม

9 ความรคู้ วามเชีย่ วชาญของวิทยากร 4.84 มากทีส่ ุด 3

10 องค์ความรู้ทไ่ี ดร้ บั และการนำไปใชป้ ระโยชน์ 4.84 มากที่สดุ 3

รวม 4.82 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การ

ประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว.9 : รุ่นที่ 1 พบว่า ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.82)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ และพบว่า วิทยากรมีความตรงต่อเวลาในการอบรม และ

บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของวิทยากรเหมาะสม อยู่ในอันดับสูงสุด ( =4.87) รองลงมาคือ
เนื้อหาที่สอนตรงตามหลักสูตร ความรู้ความเชี่ยวชาญของวิทยากร และองค์ความรู้ที่ได้รับและการนำไปใช้

ประโยชน์ ( =4.84) ส่วนวิทยากรคอยกระตุ้นให้ต่ืนตวั ในการร่วมกจิ กรรมเสมอ และวิทยากรให้ความสนใจผู้

อบรมทั่วถงึ ทุกคน มีความพงึ พอใจอยูใ่ นอันดับตำ่ สุด ( =4.74)

แผนภูมแิ สดงขอ้ มลู ตอนที่ 1 และขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะ
- วทิ ยากรอธิบายเขา้ ใจง่าย และชัดเจน สนกุ และสามารถนำไปปรบั ใชไ้ ด้จริง
- ควรขยายระยะเวลาการอบรม
- ได้รับความรู้ครบถว้ น

5. หลักสตู รการเตรียมตัวเพอ่ื กา้ วเขา้ สู่การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว.9 : รนุ่ ท่ี 2
วนั ทอ่ี บรม 21 ตลุ าคม 2564

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ข้อมลู พนื้ ฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 213 คน

ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดงจำนวนและค่าร้อยละ (n =213)

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

5. เพศ

ชาย 43 20.19

หญงิ 170 79.81

รวม 213 100.00

2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 23 10.80
ภาษาไทย 27 12.68
คณติ ศาสตร์ 57 26.76
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 37 17.37
สงั คมศกึ ษา 11 5.16
สุขศึกษาและพละศกึ ษา 11 5.16
ศลิ ปะ 16 7.51
การงานอาชพี 17 7.98
ภาษาต่างประเทศ 7 3.29
แนะแนว 7 3.29
ผู้บริหาร (สนบั สนนุ การสอน) 213 100.00

รวม

นำเสนอผลการวเิ คราะหด์ งั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การประเมินวิทย

ฐานะแนวใหม่ ว.9 : ร่นุ ท่ี 2 (n =213)

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ลำดับ

1 เนื้อหาท่สี อนตรงตามหลักสูตร 4.85 มากทส่ี ดุ 2

2 กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ทคนิคและวธิ ีสอนน่าสนใจ 4.79 มากที่สุด 7

3 วทิ ยาการใช้สือ่ ประกอบการสอนเหมาะสม 4.80 มากทส่ี ุด 6

4 วทิ ยากรเปิดโอกาสในการซักถามปญั หา 4.79 มากทส่ี ดุ 7

5 วิทยากรคอยกระตนุ้ ใหต้ ื่นตวั ในการรว่ ม 4.77 มากทส่ี ดุ 9

กจิ กรรมเสมอ

6 วิทยากรให้ความสนใจผู้อบรมทั่วถึงทุกคน 4.76 มากท่ีสดุ 10

7 วทิ ยากรมีความตรงตอ่ เวลาในการอบรม 4.84 มากทีส่ ุด 3

8 บุคลิกภาพ การแตง่ กายและการสือ่ สารของ 4.86 มากที่สุด 1

วทิ ยากรเหมาะสม

9 ความรคู้ วามเช่ียวชาญของวทิ ยากร 4.82 มากที่สุด 4

10 องค์ความรู้ที่ไดร้ ับและการนำไปใช้ประโยชน์ 4.81 มากที่สุด 5

รวม 4.81 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการเตรียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การ
ประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ ว.9 : รุ่นที่ 2 พบว่า ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.81)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ และพบว่า บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสา รของ
วทิ ยากรเหมาะสม อยู่ในอนั ดับสงู สุด ( =4.86) รองลงมาคือ เน้อื หาที่สอนตรงตามหลักสตู ร ( =4.85) ส่วน
วิทยากรให้ความสนใจผูอ้ บรมทั่วถงึ ทุกคน มีความพึงพอใจอย่ใู นอนั ดับต่ำสุด ( =4.76)

แผนภูมแิ สดงขอ้ มลู ตอนที่ 1 และขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะ
- วิทยากรบรรยายดี มตี วั อย่างทำให้เขา้ ใจชดั เจน
- เป็นการอบรมทดี่ ้รับความรูม้ าก

6. หลกั สตู รวิทยาการคำนวณและ Coding รุ่นที่ 2 วนั ท่อี บรม 22 กันยายน 2564

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลพืน้ ฐานของผ้ตู อบแบบสอบถาม จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 140 คน

ตารางท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของผตู้ อบแบบสอบถามแสดงจำนวนและค่าร้อยละ (n =140)

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

6. เพศ

ชาย 26 18.57

หญิง 114 81.43

รวม 140 100.00

2. กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย 23 16.43

คณติ ศาสตร์ 28 20.00

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 48 34.29

สงั คมศึกษา 8 5.71

สุขศกึ ษาและพละศึกษา 3 2.14

ศลิ ปะ 2 1.43

การงานอาชีพ 8 5.71

ภาษาตา่ งประเทศ 17 12.14

แนะแนว 1 0.71

ผ้บู ริหาร (สนบั สนนุ การสอน) 2 1.43

รวม 140 100.00

นำเสนอผลการวเิ คราะห์ดงั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณและ Coding รุ่นที่ 2

(n =140)

ข้อท่ี รายการ ระดับ ลำดบั

1 เนอ้ื หาท่สี อนตรงตามหลกั สูตร 4.70 มากที่สุด 6

2 กิจกรรมการเรียนรูเ้ ทคนิคและวิธสี อนนา่ สนใจ 4.66 มากที่สุด 10

3 วิทยาการใช้สือ่ ประกอบการสอนเหมาะสม 4.68 มากทส่ี ุด 8

4 วทิ ยากรเปิดโอกาสในการซกั ถามปัญหา 4.69 มากที่สุด 7

5 วิทยากรคอยกระตุ้นให้ตื่นตัวในการร่วม 4.72 มากทส่ี ดุ 4

กจิ กรรมเสมอ

6 วิทยากรให้ความสนใจผู้อบรมทว่ั ถึงทกุ คน 4.67 มากทส่ี ดุ 9

7 วทิ ยากรมีความตรงต่อเวลาในการอบรม 4.75 มากที่สุด 3

8 บุคลิกภาพ การแต่งกายและการสื่อสารของ 4.81 มากที่สดุ 1

วิทยากรเหมาะสม

9 ความรคู้ วามเชยี่ วชาญของวิทยากร 4.78 มากทสี่ ุด 2

10 องค์ความรทู้ ไี่ ด้รบั และการนำไปใช้ประโยชน์ 4.71 มากท่ีสุด 5

รวม 4.72 มากทส่ี ดุ

จากตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจในการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรวิทยาการคำนวณและ Coding
รุ่นท่ี 2 พบว่า ในภาพรวมมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ุด ( =4.72) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ อยู่ในระดับ
มากทีส่ ุดทุกข้อ และพบว่า บุคลิกภาพ การแต่งกายและการส่ือสารของวิทยากรเหมาะสม อยูใ่ นอนั ดับสูงสุด (
=4.81) รองลงมาคือ ความรู้ความเชี่ยวชาญของวิทยากร ( =4.78) ส่วนกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิคและวิธี
สอนนา่ สนใจ มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นอนั ดบั ตำ่ สดุ ( =4.66)

แผนภูมแิ สดงข้อมลู ตอนท่ี 1 และข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะ
- เนือ้ หาดีมากค่ะ ไม่มาก ไมน่ อ้ ย สามารถใชไ้ ดจ้ ริง
- วิทยากรให้ความรดู้ ี เข้าใจง่าย


















Click to View FlipBook Version