The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่ม การเรียนรู้ผ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ratchadhorn Phromsin, 2021-10-17 15:07:26

กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC)

กลุ่ม การเรียนรู้ผ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

Keywords: PLC_OM_1.2564

คำนำ

รายงานผลการดำเนินงานการจดั กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional
Learning Community : PLC ) จัดทำข้ึนเพอื่ นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกลุ่ม การเรยี นรูผ้ ่านการ
ทำงานในศตวรรษที่ 21 (“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”) เพือ่
แก้ไขปญั หาเร่ือง ปญั หาการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ทำใหไ้ ม่สามารถจัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ ในการพฒั นารปู แบบการจดั กิจกรรม
การเรียนการสอน โดยการสร้างสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์ จากความรว่ มมือของครปู ระจำวชิ า และเป็น
การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจเรือ่ งการปฏิบัตดิ ว้ ยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาดา้ นพฤตกิ รรม รวมทั้ง
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลในการดำเนินงานของวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาแพร่

หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ เอกสารเล่มน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ครูผู้สอน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและบุคลากร
ทางการศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง
ดังกล่าวไดเ้ ปน็ อย่างดี

กลมุ่ การเรียนรผู้ า่ นการทำงานในศตวรรษท่ี 21
(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)

สารบญั หนา้

คำนำ ก
สารบญั ข
ปฏิทินการดำเนนิ งานชมุ ชนการเรยี นรวู้ ิชาชีพ (PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ค
รายงานผลการดำเนินกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี 1
แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 1 7
แบบบันทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครั้งท่ี 2 11
แบบบนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ครง้ั ท่ี 3 14
แบบบนั ทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ท่ี 4 18
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 5 22
แบบบนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 6 26
แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครัง้ ท่ี 7 30
แบบบันทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครง้ั ท่ี 8 33
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 9 37
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ครั้งท่ี 10 40
แบบบนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครั้งท่ี 11 44
แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครั้งที่ 12 47
แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 13 51
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ครั้งท่ี 14 54
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ที่ 15 59
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ครง้ั ที่ 16 64
แบบบนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครั้งท่ี 17 67
ภาคผนวก ง

บนั ทกึ ข้อความขออนญุ าตจัดกิจกรรม
ประกาศวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
ปฏิทินการดำเนินงานชมุ ชนการเรยี นรู้วิชาชพี (PLC) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
แบบสงั เกตการณจ์ ดั กิจกรรมการเรียนการสอน
แผนการจัดการเรยี นรู้ทพ่ี ัฒนาปรับปรุง/บนั ทึกหลงั การสอน

การเผยแพร่กจิ กรรม/ช้นิ งาน/นวตั กรรม

ปฏทิ ินการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
กลมุ่ การเรยี นรู้ผา่ นการทำงานในศตวรรษท่ี 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
ช่ือกจิ กรรม การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัส

โคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ และพฒั นาความรู้ความสามารถครบตาม
หลักสตู ร โดยการสรา้ งสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์

Model Teacher: ครรู ชั ต์ธร พรหมศิลป์ ตำแหน่ง ครูชำนาญการ

ชว่ งเวลา กิจกรรม ผู้รบั ผิดชอบ หมายเหตุ
สปั ดาห์ที่ 1 - รวมกล่มุ เพอ่ื จัดต้งั กล่มุ PLC และขอจัดต้งั กล่มุ - ครตู ัวแทนกลมุ่ /คณะกรรมการฯ
2 มิถนุ ายน 2564 - จดั ทำปฏทิ ินการดำเนินการงานชมุ ชนการเรยี นรวู้ ชิ าชพี (PLC)
ครง้ั ท่ี 1 : สปั ดาหท์ ี่ 2 - ประชมุ กลมุ่ PLC วิเคราะหป์ ัญหา - Model Teacher
9 มิถุนายน 2564 - การคน้ หาปัญหา และหาสาเหตขุ องปัญหา รว่ มกบั สมาชกิ ในกลุ่มPLC
ครง้ั ท่ี 2 : สปั ดาห์ที่ 3 - กจิ กรรมหาแนวทางแก้ปัญหา - สมาชิกกลุ่ม PLC
16 มถิ ุนายน 2564
ครง้ั ที่ 3 : สัปดาหท์ ่ี 4 - กจิ กรรมตดั สินใจเลือกรูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา - สมาชกิ กลมุ่ PLC
23 มิถนุ ายน 2564
คร้งั ที่ 4 : สปั ดาห์ท่ี 5 - ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา - สมาชกิ กลุ่ม PLC
30 มถิ นุ ายน 2564
ครั้งท่ี 5 : สปั ดาหท์ ี่ 6 - ออกแบบกจิ กรรมตามวิธกี าร/นวัตกรรมท่กี ลุ่มเลอื ก - สมาชกิ กลุ่ม PLC
7 กรกฎาคม 2564
ครง้ั ท่ี 6 : สัปดาหท์ ี่ 7 - กิจกรรมแลกเปล่ยี นเสนอแนะ (นำเสนอกิจกรรมการแก้ปญั หา - สมาชิกกลมุ่ PLC ครู รัชตธ์ ร
14 กรกฎาคม 2564 ให้ผู้เชยี่ วชาญหรือผู้ทม่ี ปี ระสบการณ์ให้ข้อเสนอแนะ) ครพู รหทยั
ครง้ั ที่ 7 : สัปดาหท์ ่ี 8 - การนำส่กู ารปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน วงรอบท่ี 1 - Model Teacher ครธู ัญชนก
21 กรกฎาคม 2564 (การทดลองของ Model Teacher) รว่ มกบั สมาชกิ ในกลุ่ม PLC
ครั้งที่ 8 : สปั ดาหท์ ี่ 9 - การสะท้อนผลการปฏิบตั ิของ Model Teacher - สมาชกิ กลมุ่ PLC
29 กรกฎาคม 2564 (After Action Review : AAR)
ครงั้ ท่ี 9 : สัปดาหท์ ่ี 10 - การนำสกู่ ารปฏิบัติ และ สังเกตการสอน วงรอบที่ 2 - ครูรว่ มเรียนรู้
4 สงิ หาคม 2564 (การทดลองของสมาชิก 1) ร่วมกบั สมาชิกในกลมุ่ PLC
ครั้งท่ี 10 : สัปดาหท์ ่ี 11 - การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ขิ องครูรว่ มเรียนรู้ - สมาชกิ กลุ่ม PLC
11 สงิ หาคม 2564 (After Action Review : AAR)
ครั้งที่ 11 : สัปดาห์ท่ี 12 - การนำส่กู ารปฏิบัติ และ สงั เกตการสอน วงรอบที่ 3 - ครูร่วมเรยี นรู้
18 สิงหาคม 2564 (การทดลองของสมาชกิ 2) ร่วมกับสมาชกิ ในกลมุ่ PLC
ครง้ั ที่ 12 : สปั ดาห์ที่ 13 - การสะท้อนผลการปฏิบตั ิของครูรว่ มเรยี นรู้ - สมาชกิ กลุ่ม PLC
25 สิงหาคม 2564 (After Action Review : AAR)
ครง้ั ท่ี 13 : สปั ดาหท์ ่ี 14 - สรปุ รายงานผล วงรอบท่ี 1 (การอภิปรายผล) - สมาชิกกลุม่ PLC
1 กันยายน 2564
คร้งั ท่ี 14 : สปั ดาหท์ ี่ 15 - สรปุ รายงานผล วงรอบที่ 2 (การสรุปผล และเสนอแนะแนวทาง - สมาชิกกลุม่ PLC
8 กนั ยายน 2564 ในการพัฒนา) - สมาชิกกลุ่ม PLC
ครั้งที่ 15 : สัปดาหท์ ่ี 16 - สรุปรายงานผล วงรอบท่ี 3 (การสรุปผล และเสนอแนะแนวทาง - สมาชกิ กลุ่ม PLC
15 กันยายน 2564 ในการพัฒนา)
ครั้งที่ 16 : สัปดาหท์ ี่ 17 - เผยแพรก่ ิจกรรม/ชน้ิ งาน/นวตั กรรม (Best Practices) คร้ังที่ 1
22 กันยายน 2564
ครั้งท่ี 17 : สัปดาห์ที่ 18 - เผยแพรก่ ิจกรรม/ชน้ิ งาน/นวตั กรรม (Best Practices) ครงั้ ที่ 2 - สมาชกิ กลมุ่ PLC
29 กันยายน 2564 ปรับปรงุ รายงาน

รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

โดย นางสาวรัชตธ์ ร พรหมศิลป์ ครูชำนาญการ
ช่อื กิจกรรม การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั

โคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อใหน้ กั เรียนได้เรยี นรู้ และพฒั นาความรูค้ วามสามารถครบตาม
หลักสูตร โดยการสร้างส่อื การเรยี นการสอนออนไลน์

1. หลักการและเหตุผล
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง

การรวมกลุ่มกันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมาย
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลีย่ น
เรยี นรู้ รว่ มกันอย่างต่อเน่ือง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558)

จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่การ
เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน
ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพ่ิม
ความร้สู กึ ผกู พนั ต่อพันธกิจและเปา้ หมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิม่ ความกระตือรือร้นท่จี ะปฏบิ ัติให้บรรลุพันธ
กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน
ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น รวมทั้งเข้าใจบทบาทและ
พฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ
ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้ำชั้น และจำนวนชั้นเรียนที่ต้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการ
เรยี นรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการ
อ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภมู ิหลัง
ไม่เหมอื นกันลดลงอย่างชดั เจน

จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทำจึงเกิดความคิดที่จะนำกระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ
ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้
ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินกิจกรรมกับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในห้องเรียน คือ “ปัญหาการจัดการเรียน
การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการ
เรียนการสอนได้ตามปกติ” เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จำเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียนในห้องเรียน
นอ้ ยลง ส่งผลให้การจัดการเรยี นการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเนื้อหาการเรยี นรู้

-1-

2. วตั ถุประสงค์
1. เพื่อใหน้ ักเรียนมีทักษะในการฟังและเห็นคุณคา่ ของการเปน็ ผู้ฟงั ที่ดี
2. เพ่อื ให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในระดบั ทส่ี ูงข้ึน
3. เพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถงึ เนื้อหาการเรยี นไดจ้ ากอปุ กรณต์ ่าง ๆ เชน่ เคร่อื งคอมพิวเตอร์
โทรศัพทม์ ือถือ ผา่ นทางระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
4. มนี วตั กรรมหรือคู่มอื การใชท้ ่ีมคี วามเหมาะสมและเร้าความสนใจของผู้เรียน

3. วิธีการดำเนินงาน
แนวทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการสรา้ งชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
1. แบง่ กลมุ่ ย่อย ตามความเหมาะสม
2. ให้แตล่ ะกล่มุ คดิ แนวทางแก้ไขปัญหา 1 เร่อื งจากประเด็นตอ่ ไปน้ี
2.1 ปญั หาการเรียนร้ขู องนักเรยี น 1 เรอ่ื ง/กลุ่ม
2.2 ปญั หาดา้ นการจัดการเรยี นการสอนของครู หรอื เทคนิควธิ ีการสอนที่ครูควรพัฒนา
จำนวน 1 เรือ่ ง/กลมุ่
3. จัดทำโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

กระบวนการของ PLC
ขน้ั ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู
ข้ันตอนท่ี 2 Practice จัดการเรยี นรู้ เชน่ การวิเคราะหห์ น่วยการเรยี นรู้ ร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนำสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน
เพื่อการสงั เกตการณ์สอน

เครือ่ งมอื ในการประเมิน
- แบบนิเทศ 01 แบบสังเกตการณ์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ขน้ั ตอนท่ี 3 Reflection สะท้อนคิดเพ่ือการพัฒนาการปฏิบัติ
ข้ันตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพ่ือพฒั นาสมรรถนะครู
ข้นั ตอนที่ 5 Network Development สร้างเครอื ข่ายการพัฒนา

บทบาทหนา้ ทีข่ องสมาชิกกล่มุ ตามกระบวนการ PLC
- Model Teacher หมายถึง ครผู ูร้ บั การนเิ ทศ หรือ ครูผู้สอน
- Buddy Teacher หมายถึง ครูคู่นิเทศ หรือ ครูรว่ มเรยี นรู้
- Mentor หมายถงึ หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้
- Expert หมายถึง ผเู้ ชีย่ วชาญ เช่น ครู คศ.3 นักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลยั ศึกษานเิ ทศก์
- Administrator หมายถึง ผูบ้ ริหาร
- Recorder หมายถึง ผบู้ นั ทกึ รายงานการประชุม

-2-

4. วัน เวลา สถานที่ ในการดำเนนิ งาน
ระยะเวลา : ต้ังแต่ วันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564 –29 กนั ยายน พ.ศ.2564
สถานท่ี : วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่

5. สรปุ ผลการดำเนินงาน
ประเดน็ ด้านผู้เรียน
- นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน/บทเรียน

ออนไลน์ และจากเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ท่คี รแู นะนำ ทำให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ และพัฒนาความรคู้ วามสามารถครบตาม
หลกั สตู ร

- นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หา
ความร้ใู หม่ ๆ ตรงกบั ระบบการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นศูนย์กลาง โดยมผี ูส้ อนเปน็ เพยี งผ้แู นะนำ ทป่ี รกึ ษา และ
แนะนำแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน
รู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่ทดสอบและการ
ประเมนิ ผลรวม ทใ่ี ชก้ ารสอบแบบปกติในห้องเรยี น เพือ่ เป็นการยืนยันว่าผู้เรียนเรียนจริงและทำข้อสอบจริงได้
หรือไมอ่ ยา่ งไร

- ส่งเสรมิ ให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใชส้ ื่อสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ในทางที่เหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วยให้นักเรียน
สามารถแยกแยะขา่ วสารหรือข้อมูลทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ให้รับรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ

- นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งครกู บั นักเรียน และนกั เรยี นกบั นักเรียนด้วยกนั เองเพิ่มมากขน้ึ

- นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับ
ฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่นมากขึ้น

ประเดน็ ดา้ นกจิ กรรม
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น

ลกั ษณะการเรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรนู้ อกชนั้ เรยี นที่ทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ทกุ ที่ทุกเวลา
- การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ ำใหก้ ารเรียนการสอนครอบคลุมตามเนือ้ หา
- ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นการสอนผา่ นส่ือเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน

เป็นลักษณะการเรียนร้จู ากแหล่งเรียนรนู้ อกช้นั เรยี นทีท่ ำใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นรู้ไดท้ ุกทที่ ุกเวลา
- ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไปโดย

เน้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้
ประเดน็ ดา้ นครู
- ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้

สามารถเรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง สร้างแรงจูงใจและแรงบนั ดาลใจในการเรยี น
-3-

ประเดน็ ส่อื การสอน
- สือ่ กจิ กรรมและแหล่งการเรียนรู้มคี วามถูกตอ้ งเหมาะสมมีประสิทธภิ าพ (ด้านคุณภาพ)
- สื่อมีความเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปริมาณ)
- ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้
ผู้เรียนสามารถเรยี นจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทใ่ี ดก็ได้ และในปัจจุบนั นกี้ ารเขา้ ถึงเครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ กระทำได้
งา่ ยขน้ึ มาก และยังมคี ่าเชือ่ มต่ออนิ เตอรเ์ น็ตท่ีมีราคาต่ำลงมากว่าแต่ก่อนอีกด้วย
- นักเรียนไดใ้ ช้เคร่ืองมือท่ตี นถนัดคือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เครอื ข่ายอนิ เตอร์เน็ตและสังคม
ออนไลน์ เมื่อได้ใช้หรือทำอะไรที่ตนชอบหรือถนัด จึงทำให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่าง
อตั โนมัติ ผู้เรียนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมเปน็ ไปตามทค่ี รูต้องการให้เกิดขนึ้ ในตัวผูเ้ รยี น
 ประเดน็ ด้านบรรยากาศ
- การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนให้ความสนใจ
ใคร่รู้และพร้อมทจี่ ะร่วมพดู คุยแลกเปลีย่ นเรยี นรู้อยา่ งมสี ่วนรว่ มมากข้ึน

6. อภิปรายผลการดำเนินงาน
6.1 ผลลัพธ์ทีเ่ กิดจากกระบวนการ
1) มอี งคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีนา่ สนใจ ทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของ

สมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้
อยา่ งเป็นรูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมีการนำไปใช้ไดอ้ ย่างชัดเจน)

2) มีร่องรอยการรายงานผลการนำองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และประเดน็ ความรู้ทน่ี า่ สนใจ ที่เกิดขึ้น
ของสมาชกิ เครือข่ายไปใชต้ ลอดระยะท่ีดำเนินโครงการทุกครั้งท่ีมีการแลกเปลย่ี นเรยี นรโู้ ดยสมาชิกทุกคน

3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา
อภิปรายเพือ่ แลกเปลย่ี นความคดิ โดยมคี รผู ้สู อนหลักเปน็ ผสู้ ะทอ้ นความคิดเกยี่ วกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุด
ทีต่ อ้ งพัฒนาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

6.2 ผลลัพธท์ เ่ี กดิ กับผูเ้ รียน / ครู / สมาชกิ ทเี่ ขา้ ร่วมเครอื ข่าย PLC
1) ผู้เรยี นได้การเรยี นรู้ตามเปา้ หมาย และวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้ทุกประการ และมีความชดั เจน

ทงั้ เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง

ชัดเจน
3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ

จัดการเรยี นรู้ และผู้สอนได้รับนวตั กรรมและเรมิ่ วางแผนจัดทำวิจัยปฏบิ ัตกิ ารในชัน้ เรียน
4) ผสู้ อนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รบั จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้

ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ไดร้ ับจากการทำวิจยั ปฏิบตั ิการใน
ชัน้ เรียนไปใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้

-4-

6.3 คณุ คา่ ท่เี กิดต่อวงการศกึ ษา
1) มเี ครือขา่ ยท่ีชดั เจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมคี วามชดั เจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโน้ม

การเกดิ เครอื ขา่ ยเพ่ิมขนึ้
2) การรว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรยี นรู้ท่ีต้องการให้เกดิ ขึ้นในตัว

นักเรยี น โดยครูที่เปน็ สมาชิกในชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี ทุกคนวางเป้าหมายรว่ มกนั

7. ผลที่เกดิ จากการดำเนนิ งาน
7.1 ไดน้ วัตกรรมในการแก้ไขปัญหา
7.2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นดขี ึน้ หรอื เปน็ ไปตามเกณฑท์ ต่ี กลงกันไว้
7.3 พฤตกิ รรมของนักเรียนทมี่ ีปญั หาเปลีย่ นไปในทางทด่ี ีขึน้ ตามข้อตกลงท่ีต้ังไว้
7.4 นำไปสกู่ ารอบรมคูปองพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพื่อเก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

8. ร่องรอย/หลกั ฐาน
8.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมบันทึกหลังการสอน
8.2 ภาพการพูดคุย ปรึกษากับสมาชิกกลุ่ม PLC
8.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน
8.4 แบบสงั เกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน

9. บทเรียนทไ่ี ดจ้ ากการดำเนนิ งาน
ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันใน

แต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการอภิปราย
รว่ มกันกับเพอ่ื นครูและนักเรียน

ชมุ ชนการเรียนรวู้ ชิ าชีพ (Professional Learning Community) เปน็ กระบวนการท่ีมีประโยชน์และ
คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผล
ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้
และส่งผลให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขึ้น

-5-

10. สง่ิ ทจี่ ะดำเนินการตอ่ ไป
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์มาใชใ้ นการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการ

สอน เพ่อื อำนวยความสะดวกใหผ้ ้สู อนสามารถจดั เตรียมการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย น่าสนใจ
โดยพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ แบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล
ใชส้ ื่อการเรยี นออนไลน์ เชน่ Google Classroom , Google Site , Microsoft teams , Padlet.com มา
ชว่ ยเพิ่มเตมิ จากการเรยี นในห้องเรยี นปกติ และทำให้ผ้เู รยี นสามารถอา่ นทบทวนเน้ือหาย้อนหลงั ได้และยังเปิด
โอกาสให้ผู้เรยี นเข้าถงึ แหลง่ เรียนรู้ได้ทกุ ท่ี ทุกเวลา จงึ ต้องการเผยแพร่เทคนคิ ในการดแู ลและบริหารชนั้ เรยี น
ใหก้ ับเพ่ือนครูในชั้นเรยี นอนื่ ๆ และผู้ทีส่ นใจต่อไป
11. ปัญหา /อปุ สรรค

การพบปะพูดคุยระหวา่ งครผู ู้สอนประจำวชิ าไม่ค่อยต่อเนื่องเทา่ ที่ควร เนือ่ งดว้ ยคาบสอนตรงกนั และ
ในบางครัง้ ครผู สู้ อนมภี าระนอกเหนืองานสอนมาก จงึ ไม่สะดวกในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
12. ขอ้ เสนอแนะ

ควรมีเครือขา่ ยออนไลน์เปน็ สื่อกลางในการติดต่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหวา่ งครูที่ทำงานร่วมกัน
เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ที่เหมาะสมกับการ
เรียนการสอนในแต่ละระดับชั้นปี เพื่อรองรับการเรียนการสอน เพราะครูผู้สอนในแต่ละวิชาและแต่ละ
ระดบั ชัน้ ปี ใช้สอื่ ทห่ี ลากหลาย จึงทำให้ผเู้ รียนแตล่ ะระดับช้นั ปี มดี ้านความรู้ และทกั ษะทีแ่ ตกตา่ งกนั

-6-







ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC



ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลุ่ม การเรยี นรู้ผ่านการทำงานในศตวรรษท่ี 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
ขนั้ ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

โดยดำเนินการในวันท่ี 9 มิถุนายน 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-10-





ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรียนร้ผู า่ นการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนนิ การในวนั ท่ี 16 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-13-



1) การวางแผน (Planning) การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือการ
พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใดในการเรียนการสอน และศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหน้าผ่านเว็บไซต์
https://deep.moe.go.th

2) การเตรียมการ (Preparation) เมื่อได้วางแผนเลือกใช้สื่อการสอนแล้ว ขั้นต่อมาคือการเตรียมการ
สิ่งต่างๆ เพื่อให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน
ผู้สอนควรเตรยี มความพรอ้ มในสงิ่ ต่าง ๆ ดังน้ี

2.1 การเตรียมความพรอ้ มของผู้สอน
2.2 การเตรยี มความพร้อมใหผ้ ู้เรียน
2.3 การเตรียมความพร้อมของส่ือและอปุ กรณห์ รือเคร่อื งมอื ทใี่ ช้รว่ มกัน
2.4 การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพแวดล้อมและห้องสอน
3) ศึกษาเครื่องมือสำหรับพัฒนาสื่อการสอนการพัฒนาสื่อการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งเกี่ยวข้อง
กบั การสร้างโปรแกรมในการนำเสนอเน้ือหาบทเรียน ในรปู แบบของขอ้ ความ ภาพน่ิง ภาพเคลือ่ นไหว เสียง ให้
สอดคลอ้ งกบั เน้อื หาและวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนดไว้
4) ตรวจสอบความก้าวหนา้ ของนักเรียนแต่ละคนในความรู้และทักษะแต่ละดา้ น
5) ครผู ูส้ อนนำผลการประเมนิ และการวจิ ารณข์ องครรู ว่ มเรยี นรู้ มาปรับปรงุ และพฒั นาใหด้ ีขึ้น
4. ประเด็น/ ความรูแ้ ละข้อเสนอแนะที่ไดร้ บั จากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ครงั้ น้ี
การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ New Normal ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
และสถานการณ์ปกติ โดยการผสมผสานการเรียนออนไลน์ การเรียนในชั้นเรียน ร่วมกับการจัดการเรีย นรู้
รูปแบบอ่ืน สามารถวดั และประเมนิ ผลลัพธ์การเรยี นรู้
5. ผลทไี่ ดจ้ ากการจัดกิจกรรม
นำผลการประชุมไปบนั ทกึ ใน Google Drive ของตนเอง เพื่อเกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

เลิกประชุมเวลา 18.00 น.

-15-



ภาพการปฏบิ ตั ิกิจกรรม PLC

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรียนรู้ผา่ นการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนนิ การในวันท่ี 23 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-17-







ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลุม่ การเรียนร้ผู ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนนิ การในวนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-21-







ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกล่มุ การเรยี นรูผ้ า่ นการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนินการในวนั ที่ 7 กรกฎาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-25-







ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรียนรู้ผ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนินการในวันท่ี 14 กรกฎาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-29-





ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรยี นรผู้ ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
ขนั้ ท่ี 2 การนาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และ สงั เกตการสอน ครงั้ ท่ี 1 (การทดลองของ Model Teacher)

โดยดำเนนิ การในวันท่ี 21 กรกฎาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-32-







ภาพการปฏิบตั กิ จิ กรรม PLC

–––
ภาพการจดั กิจกรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรยี นร้ผู ่านการทำงานในศตวรรษท่ี 21
(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
โดยดำเนนิ การในวนั ท่ี 29 กรกฎาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.

1. -36-





ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลมุ่ การเรียนรูผ้ า่ นการทำงานในศตวรรษท่ี 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
การปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ ครงั้ ท่ี 2 การทดลองของสมาชกิ : ครพู รหทยั วงั ซา้ ย

โดยดำเนนิ การในวนั ที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.

2. -39-







ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลุม่ การเรยี นร้ผู ่านการทำงานในศตวรรษที่ 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ขิ องครรู ว่ มเรยี นรู้

โดยดำเนนิ การในวันท่ี 11 สิงหาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-43-





ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC

ภาพการจัดกิจกรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC)
ของกลุม่ การเรียนรู้ผ่านการทำงานในศตวรรษท่ี 21

(“Work-Based Learning for the 21st Century:Skills for the Future”)
การปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ ครงั้ ท่ี 3 การทดลองของสมาชกิ : ครธู ญั ชนก วงษ์เวช

โดยดำเนนิ การในวนั ท่ี 18 สงิ หาคม 2564 เวลา 16.00 น. – 18.00 น.
-46-


Click to View FlipBook Version