โครงการ no Ctrl+c
โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบุรี
จดั ทาโดย
คณะกรรมการสภานักเรียน โรงเรียนปากเกรด็
เสนอ
คณะกรรมการพจิ ารณาคัดเลือกโครงการ
โครงการน้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการเยาวชนไทย
“ไมล่ อกการบา้ น ไมล่ อกข้อสอบ” กจิ กรรม STRONG CAMP
เยาวชนไทย “ไม่ลอกการบ้าน ไมล่ อกข้อสอบ”
2
โรงเรยี นปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี
โครงการ no Ctrl+c
1. หลกั การและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาการคอร์รัปชันถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ท่ีเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ไม่ว่าจะเป็น
ประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศท่ีดอ้ ยพัฒนา และการคอร์รัปชันก็ได้กลายมาเป็นปัญหาท่ีมีความสาคัญเป็น
อย่างมากปญั หาหนึง่ ของหลายประเทศ
ปัญหาการคอร์รัปชันในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนานและส่งผลกระทบต่อ
การพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ.2563 องค์การเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency
International) เผยแพร่ผล CPI ค่าดัชนีรับรู้การทุจริตประจาปี พ.ศ.2563 พบว่า ประเทศไทย ถูกจัดอยู่ใน
อันดับที่ 104 จากจานวนทั้งหมด 180 ประเทศ และได้ค่าเฉลี่ยดัชนีที่ 36 ซึ่งเท่ากับค่าดัชนีในปี พ.ศ.2562
และอยู่ในอันดับท่ี 5 ของกลุ่มประเทศอาเซียนเท่ากับประเทศเวียดนาม ซ่ึงประเทศสิงค์โปร ได้คะแนนสูงสุด
คือ 85 คะแนน จัดอยู่ในอันดบั ที่ 3 ของโลก แม้ปัจจุบันในหลาย ๆ รัฐบาลท่ีผ่านมาจะได้พยายามแก้ไขปัญหา
ดังกล่าว โดยได้กาหนดปัญหาคอร์รัปช่ันอยู่ในแนวนโยบายแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
หรอื มีการกาหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาคอร์รัปชน่ั ในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบับตา่ ง ๆ แต่ทั้งนี้
การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชันก็ยังไม่เกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง อีกท้ังยังได้มีความรุนแรงและมีความซับซ้อน
ยากตอ่ การตรวจสอบมากข้ึนเรอ่ื ย ๆ (สานักงาน ป.ป.ช. 2564: 1) ตัวอย่างการทุจรติ คอรร์ ัปชนั ระดบั ประเทศ
เช่น การทุจริตในตาแหน่งหน้าที่ การฉ้อราษฎร์บังหลวง การติดสินบน การลอกบทความของบุคคลอื่น
การทาวุฒปิ ลอม การลอกเลยี นผลงานทางวิชาการ การซ้ือสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตง้ั เป็นต้น
เร่ืองของการทุจริต คอร์รัปชัน ในระดับโรงเรียน ที่เห็นอย่างเด่นชัดที่สุด คงหนีไม่พ้นเรื่องของ
การสอบ เพราะเป็นการวัดผลที่มีความสาคัญต่อตัวผู้เรียน เช่น การเลื่อนชั้น หรือการตัดเกรด
จึงมักจะมีนักเรียนบางคนหาทางทุจริต เพื่อให้ตัวเองได้คะแนนที่ดีขึ้น ซ่ึงการกระทาเช่นน้ีนอกจากจะทาให้
ตัวเองมีความผิดแล้ว ยังเป็นความเสี่ยงท่ีตัวเองอาจโดนลงโทษจากสถานศึกษาอีกด้วย นอกจากนี้การคดโกง
ทีเ่ หน็ ได้ชัดอีกอยา่ งหนึ่งคือ การลอกเลียนงานหรือการบ้าน ซึง่ มนั จะเปน็ เร่อื งที่นกั เรยี นมักจะปฏบิ ัติ และ
หลายคร้งั ตวั นักเรียนเองก็ไม่คิดว่าเป็นการคดโกง จงึ เป็นสาเหตุท่ีทาให้นักเรยี นนั้นยังปฏิบตั ิสง่ิ เหลา่ นี้เป็นปกติ
(นรรชั ต์ ฝนั เชียร. 2563: ออนไลน)์
จากการสารวจ Academic Dishonesty Surveys in the U.S. and the UK ของ Dr. Donald
McCabe and The International Center for Academic Integrity. พ บ ว่ า ส ถิ ติ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ทุ จ ริต
ในการเรยี นการศกึ ษา จากความคิดเห็นของนกั เรียนประมาณ 70,000 คน มคี วามคิดเห็น ดังนี้ ยินยอมให้ลอก
การบ้านได้แต่ไม่ยินยอมให้ลอกข้อสอบคิดเป็นร้อยละ 44 ไม่ยินยอมให้ลอกการบ้านและลอกข้อสอบ
คิดเป็นร้อยละ 39 ยินยอมให้ลอกการบ้านและลอกข้อสอบคิดเป็นร้อยละ 16.5 และยินยอมให้ลอกข้อสอบ
แต่ไม่ยินยอมให้ลอกการบ้านคิดเป็นร้อยละ 0.5 ซ่ึงมีความสอดคล้องกับแบบสารวจของปัญหา
3
การลอกการบ้าน การลอกข้อสอบท่สี ภานักเรียนโรงเรียนปากเกรด็ จัดทาขึ้น (ภคั ศรณั ย์ โอสถสงเคราะห์ และ
พัทธ์ธีรา แช่มชน่ื . 2562)
จากแบบสารวจท่สี ภานักเรียนจัดทาขึ้นพบว่านักเรียนโรงเรียนปากเกร็ดมพี ฤตกิ รรมการลอกการบ้าน
การลอกข้อสอบ ในปริมาณท่ีมากพอสมควรอย่างต่อเนื่องเป็นประจา ซ่ึงปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นจากหลายหลาย
ปัจจัย อาทิ ปริมาณการบา้ นท่ีเยอะจึงไมส่ ามารถทาการบา้ นได้ทนั ความไม่เข้าใจในเน้ือหาของบทเรยี นท่ีเรียน
ทาให้ต้องลอกการบ้านเพื่อน การขาดความรับผิดชอบต่อตัวของนักเรียนเอง และที่สาคัญของปัญหาน้ีคือ
นักเรียนเห็นว่าการลอกการบ้าน การลอกข้อสอบเป็นเร่ืองปกติที่ทากันเป็นประจาจึงไม่ตระหนักรู้ว่า
การลอกการบ้าน การลอกข้อสอบ เป็นการทุจริตอย่างหนึ่ง ปัจจัยเหล่าน้ีจึงเป็นสาเหตุของปัญหา
การลอกการบ้านท่ีตามมา และสามารถต่อยอดไปเป็นการลอกข้อสอบได้ในอนาคต เน่ืองมาจาก
ความไม่เข้าใจในเนื้อหาของบทเรียนท่ีเรียนจึงทาให้ไม่สามารถท่ีจะทา ข้อสอบด้วยตัวของนักเรียนเองได้
เเละในบางสถานศึกษามีการควบคุมการสอบของนักเรียนอย่างยืดหยุ่น ปล่อยผ่าน ไม่เคร่งครัดต่อระเบียบ
การคมุ การสอบ ทาใหน้ กั เรยี นเกดิ ความไมเ่ กรงกลวั ตอ่ ความผดิ ท่ีกระทา เเละกล้าทจ่ี ะทาสงิ่ เหล่าน้ัน ใน
คร้ังต่อ ๆ ไป ปัจจุบันเทคโนโลยีต่าง ๆ ก็เอ้ือประโยชน์ให้นักเรียนคัดลอกงานได้ง่ายขึ้น ด้วยฟังก์ช่ันคัดลอก
ข้อความทาให้นักเรียนใช้ประโยชน์จากความสามารถดังกล่าวในการคัดลอกงานต่าง ๆ ซึ่งถ้าครูผู้สอนไม่ได้
สนใจหรือใส่ใจกับข้อความทีน่ กั เรยี นสง่ มา อาจจะไม่ทราบเลยวา่ นกั เรยี นกาลังคดโกงอยู่
วัยรุ่นและเยาวชนไทยมากกว่ากว่า 90% สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่เป็นการเข้าถึงผ่าน
อุปกรณ์ส่ือสารเคล่ือนที่ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ท่ีมีความสะดวก สามารถใช้ได้ทุกท่ีทุกเวลา วัยรุ่นและ
เยาวชนสามารถใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีสารสนเทศและช่องทางการตดิ ต่อสื่อสารบนโลกออนไลน์ในการหา
ความรแู้ ละข้อมลู ต่าง ๆ (เฉลมิ พล แจม่ จนั ทร์. 2563: ออนไลน)์ ช่ือโครงการ no Ctrl+c มีความสอดคลอ้ งกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัส ( Covid-19 ) ในปัจจุบันท่ีไม่สามารถเรียนในรูปแบบ On-site
ได้ จงึ ตอ้ งทาใหเ้ รียนในรปู แบบของ Online ซ่ึงเปน็ เทคโนโลยีและส่ิงอานวยความสะดวก การต้งั ชอื่ โครงการนี้
มีการเชื่อมโยงมาจากการเข้าถึงเทคโนโลยีและสิ่งอานวยความสะดวก ซึ่งมีการใช้ท้ังในทางท่ีควรและไม่ควร
อย่างการคัดลอกงาน ด้วยการกด Ctrl+c เป็นสิ่งท่ีสะดวกและรวดเร็ว แต่นักเรียนมักจะนาไปใช้ในทางท่ีผิด
ยกตัวอย่างเช่น การคัดลอกงานส่งให้เพ่ือน การคัดลอกงานของบุคคลคนอ่ืน เป็นต้น จึงเป็นที่มาของชื่อ
โครงการ no Ctrl+c (การไม่คัดลอก) แนวทางในการอธบิ ายถึงความสมั พันธ์ระหว่างสอื่ โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
ในขณะเดียวกันก็เป็นการแสดงขั้นตอนของประสบการณ์การเรียนรู้ และการใช้สื่อแต่ละประเภทใน
กระบวนการเรียนร้ขู องเอดการ์ เดลจงึ สามารถนามาปรับใช้เพื่อพัฒนาเพิม่ ศกั ยภาพและทกั ษะที่เป็นประโยชน์
ต่อการใชช้ ีวติ และการทางานในอนาคตได้ การใช้ทฤษฎีกรวยประสบการณ์ (Cone of Experience) ของเอด
การ์ เดล ที่ได้แสดงถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ือโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ และข้ันตอนของประสบการณ์การเรียนรู้
และการใช้สอ่ื เพ่อื ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
เอดการ์ เดล (Edgar Dale) ได้จัดแบ่งสื่อการสอน เพ่ือเป็นแนวทางในการอธิบายถึงความสัมพันธ์
ระหว่างโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ในขณะเดียวกันก็แสดงข้ันตอน ของประสบการณ์การเรียนรู้ และการใช้สื่อ
แต่ละประเภทในกระบวนการเรียนรู้ด้วย โดยพัฒนาความคิดของบรุนเนอร์ (Bruner) ซ่ึงเป็นนักจิตวิทยา
ก่อนนาสร้างเป็น “กรวยประสบการณ์” (Cone of Experience) โดยสามารถแบ่งเป็นขั้นตอนดังนี้
4
ประสบการณ์ตรง ประสบการณจ์ าลอง ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง การสาธิต การศึกษานอกสถานท่ี
นิทรรศการ โทรทัศน์และภาพยนตร์ การบันทึกเสียงวิทยุและภาพนิ่ง ทัศนสัญลักษณ์ วจนสัญลักษณ์
เหล่าน้ีเข้ามาใช้เป็นแนวทางในการสอน เพ่ือให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไพศาล สุวรรณ
นอ้ ย 2553: 41-43) (วันวิสาข์ เฉลมิ พล 2554: ออนไลน)์
ดั งนั้น ทา งสภานักเรียนโร งเรียนปากเกร็ด จึงได้เข้า ร่วมโครงการ เยา วช นไทยไม่ลอกการบ้าน
ลอกข้อสอบ ของ สานกั งาน ป.ป.ช. ภาค1 และจดั ทาโครงการ...ขึน้ เพอ่ื ลดปญั หาการทุจรติ คอร์รัปชนั ในระดบั
โรงเรียน คือ การลอกการบ้าน ลอกข้อสอบ ให้มีจานวนน้อยลงก่อน เพ่ือมิให้นักเรียนสามารถมีพ้ืนฐานหรือ
วิธีการทุจริตที่จะต่อยอดไปเป็นปัญหาการทุจริต คอร์รัปชันระดับประเทศในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์ให้
นักเรียนเกิดจิตสานึก เรียนรู้ถึงสิ่งท่ีตนเองกระทาตระหนักถึงผลท่ีตามมาของการทุจริต สามารถเป็น
กระบอกเสียงเพื่อต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชันในสังคมให้เกิดขึ้นน้อยลง โดยใช้ทฤษฎีกรวยประสบการณ์
ของ เอดการ์ เดล (Edgar Dale) เข้ามาเป็นแนวทางในการศึกษาเร่ืองของการทุจริต คอร์รัปชัน
อาศัยขั้นตอนต่าง ๆ ของกรวยประสบการณ์ เพื่อให้นักเรยี นเข้าใจและอธิบายการทจุ ริต คอร์รัปชนั ในสังคมได้
และเกิดการเรยี นรูอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถอธิบายปญั หาและผลกระทบเรอื่ งการทจุ รติ คอร์รัปชนั ในสังคมได้
2.2 เพื่อแกป้ ญั หาการลอกการบ้าน ลอกขอ้ สอบ ทีเ่ กิดข้นึ ในระดบั โรงเรียน
2.3 เพ่ือส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดการปัญหาการลอกการบ้าน การลอก
ข้อสอบ
2.4 เพือ่ สรา้ งเสริมจติ สานึกใหน้ ักเรียนตระหนักถึงปญั หา เข้าใจและประพฤติปฏิบัตใิ นประเดน็ การไม่
ลอกการบ้าน ไม่ลอกข้อสอบ
3. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
3.1 นกั เรียนสามารถอธิบายปญั หาเร่ืองการทจุ รติ คอรร์ ัปชันในสงั คมได้
3.2 ปญั หาการลอกการบา้ น ลอกข้อสอบ ท่เี กิดขึ้นในระดบั โรงเรยี นลดน้อยลง
3.3 นักเรยี นมสี ่วนร่วมในกระบวนการจัดการปญั หาการลอกการบ้าน การลอกขอ้ สอบ
3.4 นักเรียนตระหนักถึงปัญหา เข้าใจและประพฤติปฏิบัติในประเด็นการไม่ลอกการบ้าน ไม่ลอก
ขอ้ สอบ
4. เปา้ หมายของโครงการ
4.1 เชิงปรมิ าณ/ผลผลิต (Output)
4.1.1 นักเรยี นสามารถอธบิ ายปัญหาเรื่องการทุจรติ คอร์รปั ชนั ในสงั คมได้
4.1.2 นักเรยี นมสี ว่ นร่วมในกระบวนการจดั การปัญหาการลอกการบา้ น การลอกขอ้ สอบ
5
4.2 เชิงคุณภาพ/ผลลพั ธ์ (Outcome)
4.2.1 แกไ้ ขปัญหาการลอกการบา้ น ลอกขอ้ สอบ ท่ีเกิดข้ึนในระดบั โรงเรยี น
4.2.2 นักเรยี นตระหนกั ถึงปญั หา เข้าใจและประพฤติปฏิบตั ิในประเดน็ การไมล่ อกการบ้าน
ไมล่ อกข้อสอบ
5. กลุ่มเปา้ หมาย
นกั เรียนโรงเรยี นปากเกรด็ จานวนทั้งหมด 3,278 คน
- กลุม่ เปา้ หมาย มธั ยมศึกษาตอนต้น 1,817 คน
- กล่มุ เป้าหมาย มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1,461 คน
6. สถานท่ดี าเนินการ
โรงเรียนปากเกร็ด และแอพพลิเคชั่นทางการศึกษา เช่น Zoom, Line, Google Meet, Google
Classroom
7. ขัน้ ตอนและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ
โมเดล 3ร 1.ตรวจเรว็ 2. รกั ษาเรว็ 3. หายเรว็ ภายใตเ้ งอื่ นไขความรูแ้ ละคณุ ธรรม มขี น้ั ตอน ดังนี้
1. ข้ันวางแผนการดาเนินการ (P) ประชุมตัวแทนคณะกรรมการสภานักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเพื่อ
กาหนดแนวทาง ต่อมานาเสนอโครงการเพ่ือขออนุมัติ ประชุมเพื่อวางแผนงานแบ่งหน้าที่ตามความรบั ผิดชอบ
และดาเนินการการจดั โครงการในขั้นต่อไป
6
2. ข้ันการดาเนินการจัดโครงการ (D) ร ที่ 1 ตรวจเร็ว สร้างแบบสารวจ เพื่อตรวจหานักเรียนท่ีมี
ปัญหาการลอกการบ้าน การลอกข้อสอบ ร ที่ 2 รักษาเร็ว ดาเนินโครงการตามแผนงานท่ีกาหนดไว้ โดยนา
ทฤษฎีกรวยประสบการณ์ (Cone of Experience) ของ เอดการ์ เดล มาประยุกต์ใช้ เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียน
ตระหนักถึงปัญหาและลด ละ เลิกพฤติกรรมการลอกบ้าน การลอกข้อสอบซ่ึงเป็นหน่ึงในปัญหาการทุจริต
คอรร์ ัปชันที่เกิดขึ้นในโรงเรยี นและสงั คมไทย
3. ขั้นการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน (C) ร ท่ี3 หายเร็ว โดยกากับติดตาม ประเมินผล
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการโดยการสัมภาษณ์และการสารวจจากครูท่ีปรึกษา ครูผู้สอนและเพ่ือนร่วมช้ันเรียน
หากปัญหาน้ียังไม่ลดลงนักเรียนคนดังกล่าวจะกลับไปสู่กระบวนการ ร ที่ 2 อีกครั้งหน่ึง จนกว่าจะบรรลุ
จุดประสงคท์ ต่ี ัง้ ไว้
4. ขั้นปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A) ติดตามผลสารวจจากโครงการท่ีทาเพื่อดูผลลัพธ์
ปัญหา ขอ้ ผิดพลาด แล้วนามาปรบั ปรงุ แก้ไข และพัฒนาตอ่ ไป
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะสามารถอธิบายปัญหาเรื่องการทุจริต คอร์รัปชันในสังคมได้ มีส่วนร่วม
ในกระบวนการจัดการปัญหาการลอกการบ้าน การลอกข้อสอบท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน เกิดความตระหนักถึง
ปัญหา เข้าใจและประพฤติปฏิบัติในประเด็นการไม่ลอกการบ้าน ไม่ลอกข้อสอบ ประกอบกับเป็นนักเรียนที่มี
ความรู้ ทั้งทางด้านวิชาการและปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันเพ่ิมข้ึน และเป็นนักเรียนท่ีมีคุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจรติ อดทน เพียรพยายาม ต่อการทางานต่าง ๆ ท่ีได้รับมอบหมายไดอ้ ย่างบรรลุผลโดยไม่กระทาการ
ทุจริต ดังนั้น เม่ือพฤติกรรมของนักเรียนได้รับการแก้ไขและเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึนปัญหาการลอก
การบ้าน ลอกขอ้ สอบ ทเี่ กิดขึ้นในระดับโรงเรยี นก็จะลดนอ้ ยลงตามลาดบั
ท่ี ขั้นตอนการดาเนินงาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผรู้ บั ผิดชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1 ข้นั วางแผนการดาเนินการ (P)
- ประชมุ ตัวแทนคณะกรรมการสภา คณะ
นักเรียนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ เพ่อื กาหนด กรรมการ
แนวทาง สภานักเรยี น
- นาเสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ
- ประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรียน เพือ่
ร่วมกนั วางแผนงาน และแบง่ หน้าท่ตี าม
ความรับผดิ ชอบ (ดำเนินกำรแล้ว)
2 ข้ันการดาเนินการจดั โครงการ (D)
ข้ันต อนก า รจัด ทาโครงการ มีการ
ประเมินผลก่อนการเข้าร่วมโครงการ และนา
ท ฤ ษ ฎี ก ร ว ย ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ( Cone of
Experience) ของ เอดการ์ เดล มาประยุกต์ใช้
7
ท่ี ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผรู้ ับผิดชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
โดยคณะกรรมการสภานักเรียนได้สร้างรูปแบบ
กระบวนการโดยใช้หลัก 3ร มขี ั้นตอนดังนี้
ร ตรวจเรว็
- ทาการสารวจ สอบถามครูและนักเรียน
ในโรงเรียนเพ่ือตรวจหานักเรียนที่มี
ปัญหาการลอกการบ้าน การลอก
ขอ้ สอบ หากมีแนวโน้มไปทางเดียวกันจงึ
สรุปได้ว่าข้อมูลที่มาเป็นข้อเท็จจริง
จากนั้นให้นักเรียนทาแบบทดสอบเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจ เร่ือง การทุจริต คณะ
คอรร์ ปั ชนั (ดำเนินกำรแลว้ ) กรรมการ
ร รกั ษาเร็ว สภานักเรยี น
- วจนสัญลักษณ์ : เผยแพร่ Brochure
ออนไลน์ ผ่านช่องทางกระจายข่าวสาร
ของโรงเรียน อาทิ เพจสภานักเรียน
โรงเรียนปากเกร็ด อินสตาแกรม
ส ภ า นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น ป า ก เ ก ร็ ด
เว็บไซต์PAKKRED LEARNING CYBER
ในหัวข้อ การรณรงค์ให้นักเรียนไม่ลอก
การบ้าน ไม่ลอกข้อสอบ พร้อมท้ัง
สนับสนุนใ ห้ก ร ร มก า ร คุมส อ บ ใ น
โรงเรียนเคร่งครัดต่อระเบียบการคุม
สอบ ไม่ยืดหยุ่น ละเลย เพิกเฉย และ
ปล่อยผ่าน (ดำเนินกำรแล้ว)
- ทัศนสัญลักษณ์ : ผลสารวจท่ีได้จาก
การสารวจในข้ันแรก พบว่ามีปัจจัยที่
เป็นสาเหตุของการลอกการบ้าน ลอก
ข้อสอบ อาทิ ปริมาณการบ้านท่ีเยอะจึง
ไม่สามารถทาการบ้านได้ทัน นักเรียน
เห็นว่าการลอกการบ้าน การลอก
ข้อสอบเป็นเรื่องปกติที่ทากนั เป็นประจา
จึงไม่ตระหนักรู้ว่า การลอกการบ้าน
8
ท่ี ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผ้รู บั ผิดชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
การลอกข้อสอบ เป็นการทุจริตอย่าง
หนึ่ง หรือ ความไม่เข้าใจในเน้ือหาของ
บทเรียนที่เรียน จึงทาให้ต้องลอก
การบ้าน ลอกข้อสอบเพ่ือน ทาการ
นาเสนอเป็นโปสเตอร์แสดงแผนภูมิแท่ง
จากผลสารวจนี้ผ่านช่องทางกระจาย
ข่าวสารของโรงเรียน อาทิ เพจสภา
นักเรียนโรงเรียนปากเกร็ด อนิ สตาแกรม
ส ภ า นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น ป า ก เ ก ร็ ด
เว็บไซต์PAKKRED LEARNING CYBER
(กำลังดำเนินกำร)
- การบันทึกเสียงวทิ ยุและภาพนิง่ :
ทา Infographic แนะนาเกย่ี วกับสมุดจด
การบ้าน ว่ามีประโยชน์และการใช้งาน
อย่างไร ผ่านช่องทางกระจายข่าวสาร
ของโรงเรียน อาทิ เพจสภานักเรียน
โรงเรียนปากเกร็ด อินสตาแกรมสภา
นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น ป า ก เ ก ร็ ด
เวบ็ ไซต์PAKKRED LEARNING CYBER
- ภาพยนตร์ : ลงคลิปสั้น การเตรียม
ความพร้อมกบั การเรียนออนไลน์ วา่ ควร
มี ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น เ ช่ น ไ ร ใ ห้ พ ร้ อ ม กั บ
การเรียนและ กระตุ้นให้นักเรียนตื่นตัว
กับการเรียนออนไลน์ ผ่านช่องทาง
กระจายข่าวสารของโรงเรียน อาทิ เพจ
สภานักเรียนโรงเรียนปากเกร็ด อินสตา
แกรมสภานักเรียนโรงเรียนปากเกร็ด
เวบ็ ไซต์PAKKRED LEARNING CYBER
- โ ท ร ทั ศ น์ : ส ร้ า ง ก ลุ่ ม Google
Classroom และ Applications ทาง
การศึกษา เพ่ือให้กลุ่มนักเรียนหันมา
ทบทวนเนื้อหาบทเรียนก่อนสอบ อาจ
9
ท่ี ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผ้รู บั ผดิ ชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
เป็นวิธีการแบบเพ่ือนช่วยเพื่อน หรือ
ติ ด ต่ อ คุ ณ ค รู ร า ย วิ ช า นั้ น ม า ท บ ท ว น
เนื้อหาเพ่ิมเตมิ ในเวลาวา่ ง
- นิ ท ร ร ศ ก า ร : น า เ ส น อ ผ ล ง า น
จ า ก ก า ร เ ปิ ด Applications ท า ง
การศึกษา โดยใช้ Infographic ผ่าน
ช่องทางกระจายข่าวสารของโรงเรียน
อ า ทิ ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง โ ร ง เ รี ย น
PAKKRED LEARNING CYBER
- การศึกษานอกสถานท่ี : ยื่นเรื่องจัด
อบรมรณรงค์การไม่ลอกการบ้าน ไม่
ลอกข้อสอบ กับทาง ผู้อานวยการ
โรงเรียน โดยจะจัดข้ึนท่ีโรงเรียน
ปากเกร็ด แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ของ
ไวรัสโคโรนา จึงต้องคอยติดตาม
สถานการณ์ หากสถานการณ์ไม่คลี่คลาย
จาเป็นจะต้องจดั ผา่ น Zoom
- การสาธิต : จัดอบรมรณรงค์การ ไม่ลอก
การบ้าน ไม่ลอกข้อสอบ ผ่านระบบ
Zoom ( หมายเหตุ สถานการณ์ Covid-
19 ไม่คล่ีคลาย ) โดยนาเสนอคลิปสาธิต
ข้ั น ต อ น ก า ร จั ด ก า ร กั บ ก า ร บ้ า น ผ่ า น
ช่องทางกระจายข่าวสารของโรงเรียน
อาทิ เพจสภานักเรียนโรงเรียนปากเกร็ด
อิ น ส ต า แ ก ร ม ส ภ า นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น
ป า ก เ ก ร็ ด แ ล ะ เ ว็ บ ไ ซ ต์ PAKKRED
LEARNING CYBER
- ประสบการณ์นาฏการกับการแสดง :
นาเสนอคลิปละครส้ัน เรื่อง คนทุจริต
VS คนซือ่ สตั ย์ ทสี่ ะท้อนให้เหน็ ถึงปญั หา
การทจุ รติ คอร์รปั ชนั ต่างๆ จาก การ
10
ท่ี ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผ้รู ับผิดชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
เปรียบเทียบของสองการกระทาน้ี ผ่าน
ระบบ Zoom ในการจดั อบรมคร้ังนี้
- ประสบการณ์จาลอง: อภิปราย เก่ียวกับ
หัวข้อ ถ้าโลกน้ีไม่มีการทุจริตจะมี
การดาเนินชีวิตไปในทิศทางใด ผ่าน
ระบบ Zoom
- ประสบการณ์ตรง : ผลลัพธ์ท่ีได้จาก
การทาตามขั้นตอนการดาเนินโครงการ
ครบแล้ว อ้างอิงจากทฤษฎีกรวย
ประสบการณ์ท่ีนามาจัดข้ึน นักเรียน
นาไปต่อยอดได้ อาทิ การท่ีเพ่ือนช่วย
เ พื่ อ น คื อ ก า ร ท่ี นั ก เ รี ย น ช่ ว ย กั น
แลกเปล่ียนความรู้ และการทบทวน
บทเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการลอกการบ้าน
การลอกข้อสอบ และเป็นกระบอกเสียง
เพ่ือลดปัญหาการทุจริต คอร์รัปชันใน
อนาคต
3 ขั้นการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
(C)
ร หายเรว็
- ทาการสารวจและสอบถามครูและ
นั ก เ รี ย น ร ว ม ถึ ง ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้ คณะ
ความเข้าใจนักเรียนในเรื่องปัญหาการ กรรมการ
ทุจริต คอร์รัปชัน โดยเกณฑ์การผ่าน สภานักเรียน
แบบทดสอบร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงถือว่า
ครูและนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจ
การทุจริต คอร์รัปชัน จึงถือว่าอาการ
ของปัญหาการลอกการบ้าน ลอก
ข้อสอบ ทุเลาลง หลังจากจบข้ันตอน
การดาเนินโครงการ เพ่ือติดตามและ
ประเมินผล
11
ท่ี ข้ันตอนการดาเนนิ งาน ก.ค. ระยะเวลา ( พ.ศ. 2564 ) ธ.ค. ผูร้ ับผดิ ชอบ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
4 ขั้นปรับปรงุ /พฒั นา/แก้ไขจากผลการตดิ ตาม (A) คณะ
-ประชุมสภานกั เรียนสรุปผลการดาเนนิ งาน กรรมการ
สภานักเรยี น
8. ตัวช้วี ดั การดาเนนิ โครงการ (ผลผลติ /ผลลัพธ์)
ผลผลติ (Output) / ตัวชีว้ ัด ค่าเป้าหมาย ระยะเวลา
ผลลพั ธ์ (Outcome)
1. นกั เรยี นโรงเรียนปากเกรด็ สงิ หาคม – กนั ยายน
ผลผลิต (Output) 1. นักเรยี นสามารถ ทั้งหมด 3,278 คน พ.ศ. 2564
นกั เรยี นระดบั ชน้ั
อธิบายปญั หาการ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ท่เี ข้า
รว่ มโครงการ สามารถ
ทจุ ริต คอร์รัปชันใน อธิบายปญั หาการทจุ รติ
คอร์รัปชันในสงั คมได้
สังคมได้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ของ
นักเรยี นทเี่ ข้าร่วมโครงการ
2. นักเรียนมีสว่ นรว่ ม ทง้ั หมด จานวน 2,623 คน
ในกระบวนการ - ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-
3 จานวน 1,817 คน คดิ
จัดการปญั หาการ เป็นรอ้ ยละ 80 ของ
นักเรียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ
ลอกการบ้าน ลอก เป็นจานวน 1,454 คน
ขอ้ สอบ - ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่
4-6 จานวน 1,461คน คดิ
เป็นรอ้ ยละ 80 ของ
นักเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ
เปน็ จานวน 1,169 คน
2. นกั เรียนโรงเรียนปากเกรด็
ทั้งหมด 3,278 คน
นกั เรยี นระดับชั้น
12
ผลผลิต (Output) / ตัวชีว้ ดั ค่าเป้าหมาย ระยะเวลา
ผลลพั ธ์ (Outcome)
มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ท่เี ขา้
รว่ มโครงการ มสี ว่ นร่วมใน
กระบวนการจดั การปัญหา
การลอกการบ้าน ลอก
ขอ้ สอบ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80
ของนกั เรยี นท่เี ขา้ ร่วม
โครงการทง้ั หมด จานวน
2,623 คน
- ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-
3 จานวน 1,817 คน คดิ
เปน็ รอ้ ยละ 80 ของ
นักเรียนที่เขา้ รว่ มโครงการ
เป็นจานวน 1,454 คน
- ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-
6 จานวน 1,461คน คิด
เป็นร้อยละ 80 ของ
นักเรยี นทเ่ี ข้าร่วมโครงการ
เปน็ จานวน 1,169 คน
ผลลพั ธ์ (Outcome) 1. แกไ้ ขปัญหาการลอก 1. นักเรียนโรงเรยี นปากเกรด็ ตลุ าคม – ธนั วาคม
ก า ร บ้ า น ล อ ก ทัง้ หมด 3,278 คน พ.ศ. 2564
ข้อสอบ ท่ีเกิดข้ึนใน นกั เรียนระดบั ช้ัน
ระดบั โรงเรียน มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ทเี่ ขา้
2. นักเรียนตระหนักถงึ ร่วมโครงการ สามารถ
ปญั หา เข้าใจและ แกป้ ัญหาการลอกการบา้ น
ประพฤตปิ ฏบิ ัติใน การลอกขอ้ สอบให้มี
ประเดน็ การไม่ลอก ปรมิ าณลดนอ้ ยลง คดิ เป็น
การบา้ น ไมล่ อก ร้อยละ 80 ของนกั เรยี นท่ี
ขอ้ สอบ เข้าร่วมโครงการทงั้ หมด
จานวน 2,623 คน
- ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่
1-3 จานวน 1,817 คน คิด
เป็นร้อยละ 80 ของ
13
ผลผลิต (Output) / ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย ระยะเวลา
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรยี นท่ีเข้าร่วมโครงการ
เปน็ จานวน 1,454 คน
- ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-
6 จานวน 1,461คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 80 ของ
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
เป็นจานวน 1,169 คน
2. นกั เรียนโรงเรยี นปากเกรด็
ท้งั หมด 3,278 คน
นักเรยี นระดบั ช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ทเี่ ขา้
ร่วมโครงการ สามารถ
ตระหนักถึงปญั หา เขา้ ใจ
และประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ น
ประเดน็ การไม่ลอก
การบ้าน ไม่ลอกข้อสอบ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ของ
นกั เรยี นทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ
ทัง้ หมด จานวน 2,623 คน
- ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี
1-3 จานวน 1,817 คน คดิ
เป็นร้อยละ 80 ของ
นักเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ
เป็นจานวน 1,454 คน
- ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่
4-6 จานวน 1,461คน คดิ
เปน็ ร้อยละ 80 ของ
นักเรยี นที่เข้าร่วมโครงการ
เปน็ จานวน 1,169 คน
9. งบประมาณ และทรัพยากรอื่นๆ
ไม่มีค่าใชจ้ ่าย
14
10. ผู้รับผิดชอบโครงการ
สภานกั เรียน โรงเรยี นปากเกร็ด
11. การติดตามประเมนิ ผล
ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมาย วธิ ีการประเมิน เครื่องมอื
ความสาเร็จ แบบทดสอบ
การทดสอบ แบบสารวจ
1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายปญั หาการ การสารวจ
แบบสอบถาม
ทจุ ริต คอร์รปั ชันในสังคมได้
เชิงปรมิ าณ/ 2. นกั เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ
ผลผลติ
จัดการปญั หาการลอกการบา้ น
ลอกขอ้ สอบ
เชิงคณุ ภาพ/ 1. แก้ไขปัญหาการลอกการบ้าน ลอก
ผลลพั ธ์ ขอ้ สอบ ที่เกดิ ข้ึนในระดับโรงเรยี น
2. นักเรียนตระหนักถึงปัญหา เข้าใจ การสอบถาม
และประพฤตปิ ฏิบัติในประเด็นการ
ไม่ลอกการบา้ น ไม่ลอกข้อสอบ
รายชือ่ คณะผูจ้ ดั ทา นักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/1
1. นนาายยยภศวู ธนนตั ถน์าหคอู มผกา นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1
2. นายธนชาติ พรมเหยี ง นักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/1
3. นายบูรพา สุระมณี นักเรยี นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1
4. นางสาวฌาณศิ า สนเล็ก นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/1
5. นายภยวูศนธตันถน์ หาอคมู ผกา นักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/2
6. นายกฤษฎา เจือจันทร์ นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
7. นางสาว พมิ มาดา คุ้มทองอนิ นกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/4
8. นายธนวัฒน์ ปรุ ะศริ ิ นักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/8
9. นางสาวกมลลกั ษณ์ โคตรนกุ ุล นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5/10
10. นางสาวชมพูนุช คาขวา
นักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/3
รายช่ือคณะนักเรียนที่ให้คาปรึกษา นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/3
1. นางสาวกญั ญาพชั ร จอมคาสิงห์ นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/3
2. นางสาวปนดั ดา เตียวสกุล
3. นางสาวอภิชญา โพธสิ ิทธ์ิ
15
4. นางสาวปภัสสร พิกลุ ทอง นักเรยี นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/4
5. นางสาวกญั ญา รุง่ อินทร์ นกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/6
6. นางสาวประภสั สร มาทอง นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/7
7. นางสาวกัญญาภัค วิลัยเลศิ นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/11
8. นางสาวปาริฉตั ร ไวยกจิ จา นักเรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/11
9. นางสาววิจิตรา วัดพุ่มพวง นักเรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/11
10. นางสาววมิ ลรัตน์ กลันทกสวุ ณั ณ์ นักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/11
ครูท่ีปรกึ ษา ตาแหนง่ ครู
นายนวพล เสนยี ว์ งศ์ ณ อยุธยา
ชอ่ งทางติดตามโครงการ
เพจสภานกั เรียนโรงเรียนปากเกร็ด อินสตาแกรมสภานกั เรยี นโรงเรยี น
ปากเกรด็
เอกสารอา้ งองิ
เฉลิมพล เเจม่ จนั ทร์. (2563). วยั ร่นุ เเละเยาวชนกับสอื่ สังคมออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2564,
จาก https://www.thaihealthreport.com/article-july03-2020
นรรัชต์ ฝนั เชียร. (2563). วา่ ด้วยเร่อื งการคดโกงในวัยเรยี น. สืบค้นเม่ือ 23 กรกฎาคม 2564,
จาก https://www.trueplookpanya.com/blog/content/78280/-blog-teaartedu-teaart-
ไพศาล สวุ รรณนอ้ ย. (2553). ส่อื การเรยี นการสอนทฤษฎีกรวยประสบการณ์. สืบคน้ เม่อื 23 กรกฎาคม
2564, จาก http://fed.bpi.ac.th/2013/images/files/elearning/3%20(2).pdf
ภัคศรัณย์ โอสถสงเคราะห์,พัทธ์ธีรา เเชม่ ช่นื . (2562). โครงการเยาวชนไทย "ไม่ลอกการบา้ น ไมล่ อก
ข้อสอบ" กจิ กรรม STRONG CAMP เยาวชนไทย "ไมล่ อกการบ้าน ไมล่ อกข้อสอบ". สบื คน้ เม่อื
16
23 กรกฎาคม 2564, จาก https://sites.google.com/view/strongcampnon1/home
วนั วิสาข์ เฉลมิ พล. (2554). คลังความรู้ทฤษฎีกรวยประสบการณ์. สืบคน้ เม่ือ 23 กรกฎาคม 2564,
จาก http://computereducation52.blogspot.com/2011/09/blog-post_27.html
สานกั งาน ป.ป.ช. (2564). ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ ้านทจุ ริต. สบื คน้ เมื่อ 24 กรกฎาคม 2564,
จาก https://www.nacc.go.th