สารบัญ
01 สารจากปลัดกระทรวงมหาดไทย
02 เม่ือโลกกําลังจะละลาย เราจะใช้ชีวิตอยู่อย่างไร
04 ประเทศไทยกับการส่ งเสริมปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
05 “ปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)”
ช่ วยลดโลกร้ อนได้ อย่ างไร
06 วิธีการใช้งานปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
08 มาตรฐานและการรับรองปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
09 เปรียบเทียบคุณสมบัติ ม่ันใจใช้ดีจริง
10 ที่ ไหนใช้ปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
12 ทําความรู้จักปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
14 กระทรวงมหาดไทยร่วมขับเคลื่อนลดโลกร้อน
Change for Good
18 มาร่วมใจใช้ปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
24 คณะผู้จัดทํา
สารจากปลั ดกระทรวงมหาดไทย
เปน็ ท่ีทราบกันดีว่าภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นสาเหตุของการเกิดสภาวะ
อากาศสดุ ข้ัว (Extreme Weather) ในทกุ วันน้ี ซ่ึงเป็นผลมาจากการดําเนนิ กิจกรรม
ของมนุษย์ท่ีทําใหป้ ริมาณก๊าซเรอื นกระจก (Greenhouse Gases) ในช้ันบรรยากาศสูงข้นึ
จนกอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะเรอื นกระจกและอณุ หภมู ขิ องโลกทส่ี งู ขน้ึ ตามมา การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว
สามารถกระทําได้โดยอาศยั ความรว่ มมือทุกภาคสว่ นรว่ มกันลดปริมาณการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก
กระทรวงมหาดไทยมคี วามมุง่ ม่นั ในการรว่ มเปน็ ภาคีสาํ คัญเพ่ือ Change for Good
สร้างสง่ิ ท่ีดีให้เกิดข้นึ กับประเทศไทยและโลกใบน้ี จึงได้บูรณาการความรว่ มมอื ในการ
ขบั เคล่ือนลดก๊าซเรอื นกระจก ลดการเกิดโลกรอ้ น ด้วยการสง่ เสริมและสนบั สนนุ
การนําปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก มาตรฐาน มอก. ๒๕๙๔ มาใชใ้ นการก่อสร้างของสว่ นราชการ
และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ตามมาตรฐานกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ
ใชใ้ นงานโครงสรา้ งอาคาร (มยผ. ๑๑๐๑-๖๔ ถึง มยผ. ๑๑๐๖-๖๔) ของกรมโยธาธกิ าร
และผังเมือง รวมถึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์คอนกรีตท่ีมปี ูนซีเมนต์ไฮดรอลิกเป็นสว่ นผสม
เพ่ือใหเ้ กิดงานก่อสรา้ งท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ในการน้ี กระทรวงมหาดไทยจึงจัดทํา “คมู่ อื ประชาชน ลดโลกรอ้ น ดว้ ยปนู ลดโลกรอ้ น
(ปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก)” ข้ึน โดยการสนบั สนุนของสมาคมอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์ไทย
(TCMA) เพ่อื เปน็ การสรา้ งความเขา้ ใจ และกระตนุ้ ใหท้ กุ ภาคสว่ นรว่ มกนั ลดกา๊ ซเรอื นกระจก
ลดโลกรอ้ น ด้วยปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก เพ่อื สนองตอบต่อนโยบายการลดการปล่อย
ก๊าซเรอื นกระจกของประเทศ
กระทรวงมหาดไทยหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ “คมู่ อื ประชาชน ลดโลกรอ้ นดว้ ยปนู ลดโลกรอ้ น
(ปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก)” จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ท่ีใชง้ านปูนซีเมนต์และประชาชนท่ัวไป
สามารถใชป้ ูนซีเมนต์ไฮดรอลิก หรือปูนลดโลกร้อนได้อยา่ งม่นั ใจยง่ิ ข้นึ และขอเชญิ ชวน
ทกุ คนชว่ ยกันขบั เคล่ือน ชว่ ยกันผลักดัน และดําเนนิ การโดยทันที เพ่อื ให้ประเทศไทย บรรลุ
Net Zero Emission ได้ตามเป้าหมายภายในปี พ.ศ. ๒๖๐๘ และโลกของเราอยูค่ ่กู ับ
มนุษยชาติเพ่อื ลกู หลานของเราอยา่ งย่ังยนื ต่อไป
(นายสทุ ธิพงษ์ จุลเจริญ)
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
โลกร้อนข้ึนทุกวัน
จนทําให้ส่ิ งต่างๆ รอบตัวเรา
เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายและรุนแรง
“ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases)”
ตัวการสํ าคัญที่ทําให้ โลกร้อน
เกิดจากกิจกรรม และการกระทําที่มนุษย์เราสร้างข้ึน
แล้วคุณรู้ ไหมว่า ถ้าโลกร้อนมากกว่าน้ี
จะกระทบต่อการใช้ชีวิตของพวกเราอย่างไร
เราจะ
ใช้ชีวิตอยู่
อย่างไร
02
โลเมกื่อ
กําลังจะ
ละลาย
การแก้ ไขปั ญหาโลกร้อน
ต้องแก้ท่ีต้นเหตุ นั่นคือ
การพยายามลดก๊าซเรือนกระจก
ในทุกๆ กิจกรรมเท่าที่ จะทําได้
โดยต้องช่วยกันท้ั งในระดับประชาคมโลก
ระดับประเทศ ไปจนถึงระดับครัวเรือน
03
รฐั บาลไทยไดป้ ระกาศคาํ มน่ั ในทป่ี ระชมุ ผนู้ าํ ระดบั โลก COP 26
ในการรว่ มลดโลกร้อนกับประชาคมโลกด้วยเปา้ หมายท่ีชัดเจน
หน่ึงในนโยบายท่ีกําหนด คือ การสง่ เสริมการใชว้ ัสดกุ ่อสรา้ ง
ประเภท “ปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก” เพ่ือช่วยลดก๊าซเรือนกระจก
ช่วยลดโลกร้อน จึงเรียกให้เข้าใจกันง่ายๆ ว่า “ปูนลดโลกร้อน”
ประเทศไทย
กับการส่ งเสริม
ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
ปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก หมายถึง ปูนซเี มนต์ท่ีก่อตัวและแขง็ ตัว
เน่อื งจากการทาํ ปฎกิ รยิ ากบั นาํ้ และมคี วามสามารถทาํ นองเดยี วกนั
เม่ืออยู่ในนํ้า มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน มอก. 2594 ซ่ึงอ้างอิง
มาตรฐาน ASTM C1157: Standard Performance Specification
for Hydraulic Cement เนน้ ควบคมุ ท่ีคณุ สมบัติและประสิทธภิ าพ
04
ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
ช่วยลดโลกร้อนได้อย่างไร
กระบวนการผลติ ปนู ลดโลกรอ้ น (ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ) ใชห้ นิ ปนู
เป็นวัสดุทดแทนปูนเมด็ เน่อื งจากความพร้อมด้านปรมิ าณสาํ รอง
และคุณภาพ จึงลดการเผาหินปูน ซ่ึงเป็นวัตถุดิบหลัก ทําให้ลด
การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกระบวนการผลติ ออกสชู่ น้ั บรรยากาศ
ไดอ้ ยา่ งมนี ยั สาํ คญั
05
วิธีการใช้งาน
ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
คอนกรีตผสมมือ
สั ดส่ วนผสม
ปูนซีเมนต์ 1 สว่ น ทราย 2 สว่ น
หนิ 4 สว่ น นํา้ 0.5-1 ถัง
สัดสว่ นผสมดังกล่าวใชส้ าํ หรับงานโครงสร้าง
ท่ีไมไ่ ด้ระบุค่ากําลังอัดคอนกรตี เท่าน้ัน
06
คอนกรีตผสมเสร็จ
07
มาตรฐานและการรับรอง
ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
ตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหก
ย สิ
รรมมา
อม
สิ นค้ าที่ ผลิ ตในประเทศไท นค้าที่เป็ นมิตรกับส่ิ งแวดล้
เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชม้ น่ั ใจในคณุ ภาพปูนลดโลกรอ้ น (ปนู ซเี มนต์ไฮดรอลิก)
จึงมีมาตรฐานและการรบั รองต่างๆ มาเป็นเคร่อื งยืนยัน
08
เปรี ยบเที ยบคุ ณสมบั ติ
ม่ันใจใช้ดีจริง
ปูนลดโลกรอ้ น (ปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก) มาตรฐาน มอก. 2594 เนน้ ควบคมุ
ท่ีคุณสมบตั ิและประสิทธภิ าพ เพ่ือให้ตอบสนองแต่ละประเภทงานก่อสร้าง
ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์
การนาํ เทคโนโลยกี ารบดปนู ซเี มนตม์ าใช้ ชว่ ยเพมิ่ คณุ สมบตั ขิ องคอนกรตี
ใหด้ ีข้นึ ท้ังด้านความสามารถรบั กําลังอัด การไหลและความเปน็ เน้อื เดียวกัน
ของคอนกรตี ลดโอกาสแตกรา้ ว คอนกรตี ทึบแนน่ และคงทน
09
ที่ ไหนใช้ ปู นลดโลกร้ อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก) แล้วบ้าง
10
ประเทศไทยมีการใช้ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก) มาอย่างต่อเน่ือง
โดยในปี พ.ศ. 2564
มีปริมาณการใช้กว่า 6 ล้านตัน
ช่วยลดก๊าซเรือนกระจกได้
กว่า 300,000 ตัน CO2
เทียบเท่าไม้พ้ืนเมืองเพื่อดูดซับ CO2 กว่า 35 ล้านต้น
11
ทําความรู้จัก
ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
ข้ อมู ลเพ่ิ มเติ ม 12
มีวิธีผลิตเช่นเดียวกับ วิจัย พัฒนาด้านวัสดุศาสตร์ กําลังอัดสู ง
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ใช้เทคโนโลยีการบดปูนซีเมนต์ เหมาะสํ าหรับงานท่ัวไป
โดยใช้หินปูนเป็ นวัสดุทดแทน และงานโครงสร้างขนาดใหญ่
ปูนเม็ด ลดการปล่อย เพื่อให้มีคุณสมบัติ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามมาตรฐานท่ีกําหนด สามารถใช้แทน
ในกระบวนการผลิต ปู นซี เมนต์ ชนิ ดเดิ มได้
ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป็ นสิ นค้า ได้รับการรับรองสิ นค้า
มอก.2594 ท่ีเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ที่ผลิตในประเทศไทย
(Made in Thailand: MiT)
ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก 1 ตัน ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทยทุกราย พร้ อมจํ าหน่ ายที่
ลดก๊าซเรือนกระจกได้ สามารถผลิตปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก ร้านค้าวัสดุก่อสร้าง
ประมาณ 40 กิ โลกรัม สนองตอบความต้องการใช้งาน
คาร์บอนไดออกไซด์ ท่ัวประเทศ
ได้อย่างเพียงพอ
13
กระทรวงมหาดไทย
ร่วมขับเคล่ือน
ลดโลกร้อน
Change for Good
กระทรวงมหาดไทยมคี วามมุง่ ม่นั ในการรว่ มเป็นภาคีสําคัญ
เพ่ือ Change for Good สร้างสง่ิ ท่ีดีให้เกิดข้นึ กับประเทศไทย
และโลกใบน้ี เพ่อื ชว่ ยรักษาโลกใบเดียวของเราท่ีมีอยูใ่ หค้ งอยู่
มอี ายุยืนยาว อยูร่ อดปลอดภัยจากภาวะโลกรอ้ น
กระทรวงมหาดไทย และหนว่ ยงานในสงั กัด ได้รว่ มขบั เคล่ือน
นโยบายลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ เพ่ือบรรลุเป้าหมาย
การปลดปล่อยคารบ์ อนสทุ ธเิ ปน็ ศูนย์ (Net Zero Emission)
ในปี พ.ศ. 2608 ตามทน่ี ายกรฐั มนตรี พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา
ได้ประกาศเจตนารมณ์ไว้ในท่ีประชุมผนู้ ําระดับโลก COP 26
14
หนง่ึ ในการดาํ เนนิ งานทส่ี าํ คญั คอื “การสง่ เสรมิ ใชว้ สั ดกุ อ่ สรา้ ง
ประเภทปนู ลดโลกรอ้ น (ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ) ในทกุ งานกอ่ สรา้ ง”
ต้ังเป้าหมายดําเนินการร่วมกับภาคี ภาครัฐ ภาควิชาชีพ
ภาคอุตสาหกรรม และภาคการศกึ ษา ลดก๊าซเรือนกระจกใหไ้ ด้
1,000,000 ตัน CO₂ ภายในปี พ.ศ. 2566
15
กระทรวงมหาดไทย
ร่วมขับเคลื่อน
ลดโลกร้อน
Change for Good
กรมโยธาธิการและผังเมือง ในฐานะ
ผู้กําหนดมาตรฐานวิศวกรรมงานก่อสร้าง
ของประเทศ ไดด้ าํ เนนิ การปรบั แกไ้ ข “มาตรฐาน
กําหนดคณุ ลักษณะเฉพาะของวัสดใุ ช้ในงาน
โครงสร้างอาคาร มยผ. 1101-64 ถึง มยผ.
1106-64” เพ่ือให้สามารถนาํ ปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก) มาใชใ้ นงานก่อสร้าง
ประเภทตา่ งๆ ของภาครฐั ได้
นอกจากน้ี ได้นํารอ่ งใช้งานปูนลดโลกร้อน
(ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก) ในการก่อสร้าง
ศนู ย์ราชการกระทรวงมหาดไทย
16
ถนนคอนกรีต
• ถนนเทศบาล 2 อ.บางเลน จ.นครปฐม
• ถนนเทอดดําริ (อบต.) จ.นครปฐม
• ถนนบ้านรางปลาหมอ จ.ราชบุรี
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น ได้สง่ เสริมและสนับสนุน
ให้หนว่ ยงานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นท่ัวประเทศ ท้ัง
องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารสว่ นตําบล
ใชป้ นู ลดโลกรอ้ น (ปนู ซเี มนตไ์ ฮดรอลกิ ) แทนปนู ซเี มนตช์ นดิ เดมิ
17
วันท่ี 9 สงิ หาคม 2565 : การบูรณาการความรว่ มมือในการจัดการ
ด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เพ่อื ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมาย
ลดก๊าซเรอื นกระจก ด้วยการสง่ เสรมิ การใช้วัสดกุ ่อสร้างประเภท
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก สาํ หรับการก่อสรา้ งของสว่ นราชการและองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น
วันท่ี 29 มีนาคม 2565 : การบูรณาการความรว่ มมือในการจัดการ
ด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เพ่อื ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมาย
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สาขากระบวนการทางอุตสาหกรรม
และการใช้ผลิตภัณฑ์: มาตรการทดแทนปูนเม็ด
18
วันท่ี 31 สิงหาคม 2563 : การบูรณาการความรว่ มมือในการจัดการ
ด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศเพ่อื ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมาย
ลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก สาขากระบวนการทางอุตสาหกรรม
และการใช้ผลิตภัณฑ์: มาตรการทดแทนปูนเม็ด
หากเราทุกคนร่วมใจใช้ปูนลดโลกร้อน (ปูนซีเมนต์ ไฮดรอลิก)
จะทําให้ปี พ.ศ. 2566 สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ได้ ไม่น้อยกว่า 1,000,000 ตัน CO2 เทียบเท่าไม้พ้ืนเมือง
เพื่อดูดซับ CO2 110 ล้านต้น
ขอเชิญชวนให้พวกเราทุกคนช่วยกันขับเคล่ือน ช่วยกัน
ผลักดัน และดําเนินการโดยทันที เพ่ือให้ โลกของเรายั่งยืน
อยู่ คู่ กั บมนุ ษยชาติ เพื่ อลู กหลานของเราต่ อไป
19
พธิ ลี งนามบนั ทึกความเขา้ ใจ
การบูรณาการความรว่ มมอื ในการจัดการด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
เพ่อื ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมายลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก
ด้วยการสง่ เสรมิ การใชว้ ัสดกุ ่อสรา้ งประเภทปูนซเี มนต์ไฮดรอลิก
สาํ หรบั การก่อสรา้ งของสว่ นราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
20
21
22
23
คณะผู้จัดทํา
ทป่ี รกึ ษา จุลเจรญิ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
นายสุทธิพงษ์ เพญ็ พาส อธบิ ดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง
นายพรพจน์ รัตนเสนีย์ อธิบดีกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น
นายประยูร ภมู ี นายกสมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย
นายชนะ
ผจู้ ัดทํา
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง
นายสุเมธ มีนาภา รองอธบิ ดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
ผ้อู ํานวยการสาํ นกั ควบคมุ และตรวจสอบอาคาร
นายสนิ ิทธิ์ บุญสิทธ์ิ ผู้อํานวยการสาํ นกั วิศวกรรมโครงสรา้ งและงานระบบ
หวั หน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาอาคาร
นายวิบูลย์ ลีพฒั นากิจ สาํ นักควบคมุ และตรวจสอบอาคาร
วิศวกรโยธาชํานาญการ สํานักควบคมุ และตรวจสอบอาคาร
ดร.ธนติ ใจสอาด
ดร.สวุ ัฒน์ รามจันทร์
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น
นายทวี เสรมิ ภักดีกลุ รองอธบิ ดีกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น
ผู้อํานวยการกองพัฒนาและสง่ เสริมการบริหารงานท้องถิ่น
นางคณิตา ราษฎร์นุย้
สาํ นักงานงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
นางสาววริษฐา สงวนเสริมศรี ผอู้ ํานวยการสาํ นกั นโยบายและแผน
นางสาวอัญชลี นาคยา ผ้อู ํานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณภัยและพฒั นาเมือง สาํ นักนโยบายและแผน
นายทชากร หอมหวล นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์ด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง
สาํ นกั นโยบายและแผน
สมาคมอุตสาหกรรมปูนซเี มนต์ไทย
นางสาวภัทราวรรณ สุขคันธรักษ์ ผ้อู ํานวยการบริหาร
ประธานคณะทํางาน TCMA on Sustainability
ดร.วันเฉลิม ชโลธร คณะทํางาน TCMA on Sustainability
เจ้าหนา้ ท่ีสง่ เสริมอุตสาหกรรม
นายมงคล พรช่นื ชูวงศ์
นางสาวทิพยว์ ัลย์ โชคประยูรเธียร
พมิ พค์ ร้ังท่ี 1 เดือนตลุ าคม 2565
จํานวน 20,000 เล่ม
(ลิขสิทธส์ิ มาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย)
24
25
ภายใต้ การบู รณาการความร่ วมมื อ
ในการจั ดการด้ านการเปล่ี ยนแปลงสภาพภู มิ อากาศ
เพ่ือประเทศไทยบรรลุเป้ าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สาขากระบวนการทางอุ ตสาหกรรมและการใช้ ผลิ ตภั ณฑ์
มาตรการทดแทนปู นเม็ ด