The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ นักเรียน นักศึกษา วก.มหาราช ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorobun, 2022-06-20 05:44:57

คู่มือ นักเรียน นักศึกษา วก.มหาราช ปีการศึกษา 2565

คู่มือ นักเรียน นักศึกษา วก.มหาราช ปีการศึกษา 2565

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 1

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 2

สาสนจากผูอํานวยการ
นายณฐั พงศ แกวงศ
ผอู ํานวยการวทิ ยาลัยการอาชีพมหาราช
การศกึ ษาเลาเรยี นสายอาชพี เปน การสรางทางเลือกสูการมีงานทําในอนาคตอยางแทจริง เพราะเปน
การเรียนรแู บบเนนปฏิบตั จิ รงิ ในสาขาวชิ าทีเ่ ลอื ก กอนสําเรจ็ การศึกษานักเรียน-นักศกึ ษาทุกคน จะผา นฝกงาน
ในสถานประกอบการหรือการฝก อาชีพในสถานประกอบการ เพอื่ เปนการการนั ตีวา ผูเรียนทุกคนจะตอ งความรู
และทักษะในการทํางาน และเปนผูท มี่ ีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคสําหรับสถานประกอบการและสังคม โดยจะ
เปนผทู ส่ี ามารถทํามาหาเลยี้ งชพี ตัวเองและดูแลคนรอบขางไดใ นอนาคต นับวาเปนการตัดสินใจท่ีดีสําหรับการ
เลือกเขา ศึกษาตอกบั วทิ ยาลัยการอาชีพมหาราช
อนาคตของลกู หลานของเราทุกคน มคี วามสําคัญอยา งยิ่ง โดยโลกในยุคแหงศตวรรษที่ ๒๑ เศรษฐกิจ
สังคม วฒั นธรรม และสิ่งแวดลอม เกิดการเปลีย่ นแปลงไปตามเทคโนโลยีที่มีการปรับเปล่ียนอยางรวดเร็วแบบ
ชนดิ ท่วี าคาดการณล วงหนา ไมไดเ ลย นักเรยี น นกั ศกึ ษา จงึ จําเปนตองเตรียมพรอมดานอาชพี ใหเร็ว การศึกษา
จะตอ งเปนการเรยี นรทู กั ษะท่หี ลากหลาย ไมใ ชแ คการเรยี นในตําราเพยี งอยางเดียว การจะเกิดทักษะตองผาน
การฝก ปฏิบตั ิบอยๆ กับเครื่องมอื และอปุ กรณจรงิ เทานนั้ โดยมคี รูเปนผูสอน ผูกํากับ ผูและนํา และคอยเปนพี่
เลย้ี ง หรือคอยเปน โคช เพ่ือใหคําปรึกษาอยางใกลชิดสําหรับการฝกฝนใหผูเรียนมีทักษะทํางานไดทํางานเปน
โดยวิทยาลัยการอาชีพมหาราช เนน “ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาแบบองครวมโดยใช
พน้ื ทเ่ี ปนฐาน” ตามนโยบายและจดุ เนน ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระผมตองขอขอบคุณผูปกครองทุกทาน ที่ไววางใจสงบุตรหลานเขามาเรียนท่ีวิทยาลัยการอาชีพ
มหาราช ทางวิทยาลัยฯ จะดูแลใหการศึกษาแกบุตรหลานของทานดวยความมุงมั่นในการพี่จะพัฒนาใหเขา
เปนคนดี คนเกง และเปนบุคคนที่พึงประสงคของสถานประกอบการและสังคม พรอมการสรางอาชีพใหกับ
ตัวเองใหส าํ เร็จไดใ นอนาคต ขอสงิ่ ศักดส์ิ ิทธ์ไิ ดจ งปกปอ งคุมครองตัวทานและบตุ รหลานและใหประสบแตส่ิงดีๆ
ตลอดไป

คูมือนักเรียน นักศึกษา ปการศกึ ษา 2565 | 3

คํานาํ

หนังสือคูมอื นักเรียน นักศึกษา ปก ารศึกษา 2565 จัดทําขึ้นเพ่ือใหนักเรียน นักศึกษา และผูปกครอง
ระดับชนั้ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.), ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) และระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูงภาคสมทบ(ปวส.ภาคสมทบ) ทุกคน ไดศึกษาขอมูลกฎระเบียบตางๆ ของวิทยาลัยการอาชีพ
มหาราช ท่ีนักเรียน นักศึกษา ตองปฏิบัติ เชน ระเบียบเก่ียวกับเคร่ืองแตงกาย งานทะเบียน การวัดผล และ
ประเมนิ ผล รวมถงึ โครงสรางหลกั สตู รการเรียนของแตล ะสาขาวิชา อนั จะนําไปสคู วามเขา ใจและการปฏิบัติที่
ถูกตอ งระหวางท่ศี ึกษาอยใู นวทิ ยาลยั ฯ

วิทยาลัยฯ หวังวาหนังสือคูมือนักเรียน นักศึกษา เลมนี้จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา และ
ผูปกครอง ทีท่ ําใหเ กดิ ความเขาใจทต่ี รงกนั และใหค วามรว มมอื ในการปฏิบัติท่ีถูกตองและกํากับดูแลบุตรหลาน
ใหสามารถอยูร ว มกับผูอน่ื ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสุข

ดวยความปรารถนาดี
คณะผูจัดทํา

คมู ือนกั เรยี น นักศึกษา ปการศึกษา 2565 | 4

สารบญั 6
9
ขอมูลเกยี่ วกบั วิทยาลยั การอาชีพมหาราช 9
ประวัติวิทยาลยั การอาชพี มหาราช 10
แผนผงั และสถานที่ตงั้ 14
บคุ ลากรวิทยาลัย 15
หลักสตู รท่ีเปดสอน 18
งานทะเบยี น 19
โครงสรา งหลักสูตร ปวช. ปก ารศึกษา 2562 20
โครงสรา งหลักสูตร ปวส. ปก ารศึกษา 2563 21
โครงสรางหลักสูตร ปวส. ภาคสมทบ ปก ารศึกษา 2563 25
งานวดั ผลและประเมนิ ผล 31
งานปกครอง 33
การจดั อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและการฝก งาน 34
งานหอ งสมุด
งานแนะแนวอาชพี และการจดั หางาน

คมู ือนักเรียน นักศึกษา ปการศกึ ษา 2565 | 5

ตราสญั ลกั ษณ

ตราสญั ลักษณของ วทิ ยาลยั การอาชีพมหาราช
เปนรูปเสมาธรรมจกั ร ประกอบดว ย ท.ุ ส. นิ. ม. ยอ มาจาก

ทุ = ทกุ ข
ส = สมทุ ยั
นิ = นิโรธ
ม = มรรค
อยูภายในวงกลม วงในลอ มรอบดว ยวงกลมอีกวง
ในระหวางวงกลม ดานบนมีคําวา วิทยาลัยการอาชีพมหาราช
ดา นลางมคี าํ วา สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

ปรัชญาวทิ ยาลยั

ทกั ษะเปน เลิศ เชิดชูคณุ ธรรม
กา วนาํ บริการ เช่ียวชาญวชิ าชีพ

เอกลกั ษณ

“บรกิ ารวชิ าชพี สูชุมชน”

อัตลักษณ

“รูหนา ท่ี มที กั ษะ จติ อาสา”

คูม ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปการศึกษา 2565 | 6

สีประจําวิทยาลัย

“นํ้าเงิน – เหลอื ง”

สีนํา้ เงนิ หมายถึง พลังแหงความเขม แข็งนําไปสูความสาํ เร็จ
สีเหลือง หมายถึง แสงสวางนําทางสปู ญ ญา

ตน ไมประจาํ วทิ ยาลยั

คูมือนักเรียน นกั ศึกษา ปการศึกษา 2565 | 7

วิสัยทศั นข องวิทยาลยั

วิทยาลัยการอาชีพมหาราช มุงพัฒนาและผลิตกําลังคนสายอาชีพใหมีคุณภาพเพื่อตอบสนองความ
ตองการของตลาดแรงงานและสังคม สามารถรองรบั การพฒั นาประเทศสู Thailand 4.0

พันธกจิ ของวิทยาลัยการอาชีพมหาราช

1. ผลิตและพัฒนากําลังคนตรงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ตามความตองการของชุมชนและสถาน
ประกอบการ

2. ยกระดบั คณุ ภาพครแู ละบุคลากร ทาํ งานการศึกษาดว ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย
3. พัฒนางานวจิ ยั สงิ่ ประดษิ ฐ นวตั กรรมและเทคโนโลยีสเู ชิงพาณชิ ย
4. จดั การศึกษาและขยายโอกาสดา นวชิ าชพี รว มภาคีเครอื ขาย
5. เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การและสภาพแวดลอ มท่เี อ้อื ตอการเรียนรู
6. พัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การแนวใหม

คมู ือนกั เรียน นกั ศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 8

ประวตั วิ ทิ ยาลัยการอาชีพมหาราช

ความเปนมาของวิทยาลัย

“อาตมามีความรูนอ ย อา นหนังสือไมค อ ยออก จบแค ป.4 ไมอยากใหลูกหลานเปนด่ังอาตมาจึงสราง
วิทยาลัยการอาชีพมหาราช เพื่อลูกหลานจะไดมีภูมิปญญาและมีอาชีพเล้ียงตัวและครอบครัวได"
พระสุวรรณศีลาจารย(หลวงพอเสงย่ี ม) อดีตเจาอาวาสวดั สวุ รรณเจดยี  ผูกอตง้ั วทิ ยาลัย ไดก ลา วไว

วทิ ยาลัยการอาชีพมหาราช เกิดจากการรวมกลุมของ พระภกิ ษสุ งฆ ขา ราชการ พอคา และประชาชน
ในบริเวณใกลเคียง ไดย่ืนคํารอง ขอใหกรมอาชีวศึกษา จัดต้ังเปนสถานศึกษา บนท่ีดินที่พระสุวรรณศีลา
จารย(หลวงพอเสงี่ยม) อดีตเจาอาวาสวัดสุวรรณเจดีย ที่ไดจัดซื้อ มอบใหกรมอาชีวศึกษาจัดตั้งสถานศึกษา
เพอื่ ใหลูกหลาน ชาวอาํ เภอมหาราชและใกลเ คยี งไดมีสัมมาชีพ หารายไดเ ลีย้ งครอบครัวไดอยา งมัน่ คง

วิทยาลยั การอาชีพมหาราช จัดตงั้ ขึ้นเม่อื วันท่ี 4 สงิ หาคม 2541 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ปจจบุ นั วทิ ยาลัยการอาชีพมหาราชสงั กัดสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปน
สถาบันดานวิชาชีพ และเปน หนว ยงานทร่ี ับผดิ ชอบในดานการจัดการศึกษาเก่ียวกับอาชีวศึกษา เพ่ือผลิตและ
พัฒนากําลังคนใหท ักษะวิชาชพี เพือ่ แขง ขนั ในเวทโี ลก ตามนโยบายของรัฐบาล

คูม ือนกั เรยี น นักศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 9

สถานที่ตงั้

วทิ ยาลยั การอาชีพมหาราช เลขท่ี 71 หมู 2 ถนนโพธ์ิพระยา-ทาเรือ ตําบลบานขวาง อําเภอมหาราช
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา รหสั ไปรษณยี  13150

หมายเลขโทรศัพท 035-611959 โทรสาร 035-611959
เวบ็ ไซต : www.mice.ac.th
Facebook : ประชาสมั พันธวทิ ยาลยั การอาชพี มหาราช

แผนผงั ของ วทิ ยาลยั การอาชพี มหาราช

คูม อื นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปก ารศึกษา 2565 | 10

บคุ ลากรวทิ ยาลัยการอาชพี มหาราช
ผูบริหารวิทยาลยั การอาชพี มหาราช

นายณัฐพงศ แกววงศ
ผูอาํ นวยการวทิ ยาลัยการอาชีพมหาราช

คณะผบู รหิ ารวทิ ยาลยั การอาชพี มหาราช

นายนภดล เกิดคง นายอาํ นาจ พิขุนทด

ครทู ําหนา ท่ี รองผอู าํ นวยการฝายวชิ าการ / ครทู ําหนาท่ี รองผูอํานวยการฝายแผนงานและความรว มมอื /
ฝา ยบรหิ ารทรพั ยากร ฝายกิจการนกั เรียน นักศึกษา

ขาราชการครู/พนกั งานราชการครแู ละครูพิเศษสอน
แผนกวิชาชางยนต

นายนภดล เกิดคง นายมงคล ดีรกั ษา นายสนั ทัด พรทพิ ยศิริกลู นายณฐพนธ หอมกลนุ

คูม อื นักเรียน นักศกึ ษา ปก ารศึกษา 2565 | 11

แผนกวิชาชางกลโรงงาน

วา ทีร่ อยตรมี นตรี แกวแสง นายขวญั ชัย เดชพจน นางสาวสนุ ยี พร อนิ ทน าท นายนพชัย ถอื สตั ยเ ที่ยง
แผนกวชิ าชา งไฟฟา กําลัง

นายธนะชยั วงษว ริ ยิ ะพาณชิ ย นางสาวกฤษณา แยมเกษร
แผนกวชิ าการบัญชี

นางสาวศริ ิกาญจน สุขพันธ นางกฤตยาวรรณ สังขส วัสดิ์ นางสาววรารักษ หอมนาน
แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธรุ กิจ

นายศิรวิ ฒั น มูลสาร นางสาวรัชรินทร เฉลยชนม นายพงศกร โพธิ์รม เยน็ นางสาวณฐั กานต สาระพันธ

คูมือนกั เรียน นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 12

แผนกวชิ าสามัญสมั พันธ

นายอาํ นาจ พิขนุ ทด นางสาวอธชิ า ฉตั รยทุ ธนา นายปรชี า ไชยศรีษะ

เจาหนา ท่ี นกั การภารโรง ยามรักษาการณ

นางสาวปาริชาติ สังขทอง นางสาวอาจรีย กีรตมิ งั คละนนท นางสาวพชั รา พรหมเช้ือ นางสาวภาวิณี ถอนโพธิ์

นางสาวเสาวลักษณ เฉลยโภชน นายวรี ะ วรี ะสัย นางสุนทรี บวั บุศย นางสาวยุพา แตงดี

นายแกร ฉมิ พาลี นายอนิ ทรสวัสดิ์ พิณสุวรรณ นายสรุ ินทร ออ นละมูล นายวรเวทย อุนละมาย

นายอภวิ ตั ร คําสอนทา นางสาวหทยั รตั น ใจคง

คมู ือนกั เรยี น นักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2565 | 13

หลักสตู รทีเ่ ปดสอน

วิทยาลัยการอาชีพมหาราช เปดทําการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.),
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง(ปวส.) หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) ภาคสมทบ ดังน้ี

1. หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ใชระยะเวลาเรียน 3 ปการศึกษา รับผูสําเร็จการศึกษา
จากชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 3 (ม.3) หรอื เทียบเทา ดงั นี้

1.1 ระบบปกติ
1.1.1 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม 3 สาขาวชิ า
- สาขาวชิ าชางยนต / สาขางานยานยนต
- สาขาวิชาชางกลโรงงาน / สาขางานเครื่องมอื กล
- สาขาวิชาชา งไฟฟา กาํ ลัง / สาขางานไฟฟา กาํ ลัง
1.1.2 ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม 2 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าการบญั ชี / สาขางานการบญั ชี
- สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ ุรกิจ / สาขางานคอมพวิ เตอรธ รุ กิจ

2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใชระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา รับผูสําเร็จ-
การศกึ ษา ปวช.ตรงสาขา, ตางสาขา และมธั ยมศึกษาปท่ี 6 (ม.6) ดังน้ี

2.1 ระบบทวภิ าคี
2.1.1 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม 3 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าเทคนคิ เครื่องกล / สาขางานเทคนคิ ยานยนต
- สาขาวิชาไฟฟา / สาขางานไฟฟา กาํ ลงั
- สาขาวชิ าเทคนิคอุตสาหกรรม/สาขางานเทคโนโลยวี ิศวกรรมอตุ สาหกรรมการผลิต
2.1.2 ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ 2 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าการบญั ชี / สาขางานการบญั ชี
- สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล / สาขางานเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทลั

3. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ภาคสมทบ ใชระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา
เรยี นนอกเวลาราชการ วนั จันทร– วนั ศุกร รูปแบบออนไลน พบกลุมเรยี นวันเสาร– วันอาทติ ย รูปแบบออนไซด

3.1 ระบบทวิภาคี
3.1.1 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม 3 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าเทคนิคเครอื่ งกล / สาขางานเทคนิคยานยนต
- สาขาวิชาไฟฟา / สาขางานไฟฟา กําลัง
- สาขาวชิ าเทคนคิ อุตสาหกรรม/สาขางานเทคโนโลยวี ิศวกรรมอุตสาหกรรมการผลิต
3.1.2 ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ 2 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าการบญั ชี / สาขางานการบัญชี
- สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัล / สาขางานเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปการศึกษา 2565 | 14

งานทะเบยี น

การลงทะเบยี นรายวิชา
1. นักเรียน นักศึกษาทุกคนตองลงทะเบียนเรียนในวันเวลาท่ีวิทยาลัยฯ กําหนดโดยจะประกาศให
ทราบลว งหนา
2. ขัน้ ตอนการลงทะเบยี นรายวิชา
- ขอรบั บตั รลงทะเบยี นทคี่ รูท่ปี รกึ ษา
- ปฏบิ ตั ติ ามลาํ ดบั ขัน้ ตอนในเอกสารแจงขั้นตอนการลงทะเบยี น
- คืนบตั รลงทะเบยี น ถาไมคืนบัตรลงทะเบียน ถือวา การลงทะเบียนไมส มบรู ณห รอื เปนการ
ลงทะเบยี นที่ไมม ีผล
3. การผอนผนั ชาํ ระเงินบาํ รุงการศกึ ษาตองทําในวันลงทะเบียนโดยขอคํารอ งผอนผนั ไดท ่งี านทะเบียน
4. ผทู ่ีเขา เรียนโดยไมชาํ ระเงนิ คาบํารงุ การศกึ ษาและไมย่นื บัตรลงทะเบยี นคนื งานทะเบียน ผลการ
เรยี นทไ่ี ดจ ะเปนโมฆะ

การลงทะเบยี นเพ่มิ รายวชิ า
1. ลงทะเบยี นตามทีว่ ทิ ยาลยั กําหนด
2. ตรวจสอบรายวชิ าและตารางเรียนของรายวิชาท่ีจะเรียนเพม่ิ กับงานหลักสูตร
3. ขอรับบตั รลงทะเบยี นเพมิ่ วชิ าเรยี นจากงานทะเบียน
4. พบครทู ี่ปรึกษาเพือ่ ใหล งนามอนุมตั กิ ารลงทะเบียนเรียนเพิม่
5. พบหวั หนางานหลกั สูตรและการสอน ตรวจสอบตารางเรียน (ตองไมซอนกับตารางเรียนเดิมของ-
นักเรียน นกั ศึกษา) และลงรายวิชาเพิ่มโดยทีม่ ีจาํ นวนชวั่ โมงเรยี นตอ งไมเกนิ ตามทก่ี าํ หนด
6. พบเจาหนาทีง่ านการเงนิ เพ่ือชาํ ระคา ลงทะเบยี นรายวิชา
7. คนื บตั รลงทะเบียนเรียนเพิ่มที่งานทะเบียน

การถอนรายวชิ า
1. นกั เรยี น นกั ศึกษาท่ีมปี ญ หาเรื่องการเรยี น สามารถถอนรายวิชาไดภายใน 30 วนั นับจากวันทเ่ี ปด
ภาคเรียน
2. ขั้นตอนการขอถอนรายวชิ า
- ขอรบั คํารองขอถอนรายวชิ า จากงานทะเบยี นตามวิทยาลยั กําหนด
- พบครผู สู อน เพ่อื ลงนามถอนรายวชิ า
- พบครูที่ปรึกษาลงนามอนมุ ัตคิ าํ รอ งขอถอนรายวชิ า
- สง คํารอ งขอถอนรายวิชาทง่ี านทะเบยี นและรับหลักฐานแสดงการถอนรายวชิ า

คูม ือนักเรียน นกั ศกึ ษา ปก ารศึกษา 2565 | 15

การขอพักการเรยี น/การขอรักษาสภาพการเปนนกั เรียน นักศกึ ษา
1. การขอลาพักการเรยี นทําได 4 กรณี
- ถูกเกณฑทหาร
- ปว ยไมส ามารถมาเรยี นได โดยมใี บรบั รองแพทยมาแสดง
- วิทยาลยั ฯ มคี ําสั่งใหพ กั การเรยี น ในกรณที นี่ ักเรียน นักศกึ ษาทําผิดกฎและระเบียบของวทิ ยาลยั
และถูกพจิ ารณาโทษใหพกั การเรียน
- ไมม วี ิชาลงเรียนในภาคเรยี นนั้น (ในกรณีทีย่ ังเรียนไมค รบโครงสรา งของหลักสตู ร)
2. ขั้นตอนการขอพักการเรียน/การรกั ษาสภาพ
- ขอรบั คํารอ งทงี่ านทะเบยี น พรอมนําผปู กครองมาดว ย กรอกขอ มลู และรายละเอียด
- เสนอลงนามตามลําดับขน้ั ตอนในคาํ รอ ง
- ยน่ื คาํ รอ งท่งี านทะเบียน เพื่อเสนอผอู าํ นวยการ
- ชําระเงินคา รักษาสภาพการเปน นักเรยี น นกั ศึกษา
3. การพกั การเรียนทาํ ไดครั้งละ 1 ภาคเรียนติดตอกนั ไมเกิน 2 คร้งั
4. เมือ่ ขอพักการเรยี นครบภาคเรียนแลว ใหก ลบั มาขอคนื สภาพนกั เรียน นักศึกษา โดยย่ืนคํารองขอ-

กลับเขาเรยี นที่งานทะเบยี นและชําระเงนิ คา คนื สภาพนักเรียน นกั ศกึ ษาตามระเบยี บ
5. เม่อื ทาํ เรื่องคนื สภาพแลว ใหตดิ ตอลงทะเบยี นเรียนได
***นักเรียน นักศึกษาที่ขอพักการเรียนหรือนักเรียน นักศึกษา ที่ยังเรียนไมครบโครงสรางของ

หลักสูตร แตมีคะแนนเฉล่ยี ผา นตามเกณฑแ ละยังไมม ีรายวิชาที่จะลงทะเบยี น ในภาคเรียนนั้น จะตองมาทํา
การขอรกั ษาสภาพการเปนนักเรียน นกั ศกึ ษา ตามเวลาท่ีวิทยาลยั ฯกาํ หนด มฉิ ะนั้นจะถูกส่ังพนสภาพการเปน
นกั เรยี น นกั ศกึ ษา

การลาออก
นักเรียน นักศึกษาที่ประสงคจะลาออก ตองใหผูปกครองเปนผูรับรองการลาออก โดยการนํา

ผปู กครองซึง่ เปน ผูท ําการมอบตัวนักเรียน นกั ศกึ ษาไว หรอื บดิ า มารดา มายืน่ คํารองขอลาออกท่ีงานทะเบียน

การขอกลบั เขา เรียน
1. นกั เรียน นกั ศึกษาทลี่ าพักการเรียนหรือถกู สถานศึกษาสัง่ ใหพักการเรยี นมีความประสงคจะขอกลับ

เขา เรียนตอ งย่ืนคาํ รอ งขอกลบั เขาเรยี นพรอ มหลักฐานการอนญุ าตใหลาพักการเรียนหรือถูกสั่งใหพักการเรียน
ภายใน 15 วัน นับตั้งแตว นั ถัดจากวันครบกาํ หนดหรอื วนั เวลาท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด

2. นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท่พี น สภาพการเปนนักเรียน นกั ศกึ ษา อนั เน่ืองมาจากกรณีใดกรณหี นง่ึ
- ลาออก
- ขาดเรียนติดตอกันเกนิ 15 วนั โดยไมมเี หตุอนั สมควร
- ไมมาติดตอเพื่อรักษาสภาพนักเรียน นักศึกษา ภายในระยะเวลาที่สถานศึกษากําหนด ตองยื่น

คํารองขอกลบั เขา เรยี นตอสถานศกึ ษาภายใน 1 ป นับแตวนั ถัดจากวนั พน สภาพการเปนนักเรยี น นักศึกษา

คูม ือนักเรียน นักศึกษา ปการศึกษา 2565 | 16

3. ขัน้ ตอนการขอกลบั เขาเรียน
- ขอรบั คํารอ งทง่ี านทะเบียน พรอมนําผูปกครองมาดว ย
- กรอกรายละเอียดและย่ืนคาํ รองทง่ี านทะเบยี น เพอ่ื เสนอผูอํานวยการ
- เม่อื ไดร บั การอนมุ ตั แิ ลว ลงทะเบยี นเรียนในภาคเรียนปกติ

การขอใบรบั รองการเปนนักเรียน นกั ศกึ ษา
ขัน้ ตอนการขอใบรบั รอง/ขอใบ รบ. (5 ภาคเรียน/ 3 ภาคเรยี น)
- ขอรบั แบบฟอรมขอใบรบั รองที่งานทะเบยี น
- กรอกรายละเอยี ด ยนื่ คํารองพรอ มรูปถา ยเครอ่ื งแบบนกั เรยี น นักศึกษา ขนาด 1 น้ิว
จาํ นวน 1 รปู ทงี่ านทะเบียน
- ตดิ ตอ ขอรบั ใบรับรอง

ขั้นตอนการแจง จบการศกึ ษา (รบ.ฉบบั สมบูรณ)
1. ขอรบั คํารองแจง จบการศกึ ษาที่งานทะเบยี น
2. กรอกรายละเอียด
3. สงคํารองขอจบการศึกษา พรอมรูปถายที่งานทะเบียน (รูปถายตองเปนเคร่ืองแบบนักเรียน

นักศกึ ษาขนาด 1 นว้ิ จํานวน 4 รูป
การขอรบั รบ. ฉบบั จบหลกั สตู ร

1. ติดตอขอรบั ใบ รบ. ตามวันและเวลาที่งานทะเบียนกาํ หนด
2. นาํ บตั รประจาํ ตัวนกั เรยี น นักศกึ ษามาย่นื เพื่อขอรบั ใบ รบ.
3. หากบตั รประจําตัวสญู หายตองนําหลกั ฐานใบแจง ความมารับแทน
4. ขอรบั ใบ รบ. ดว ยตนเอง

คมู อื นักเรยี น นักศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 17

โครงสรา งหลกั สตู ร ปวช. ปก ารศึกษา 2565

1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไมน อ ยกวา 22 หนวยกิต

2. หมวดวิชาชีพสมรรถนะวชิ าชีพ ไมนอยกวา 71 หนวยกิต

- ฝกประสบการณส มรรถนะวิชาชีพ( 4 หนว ยกิต)

- โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพ( 4 หนว ยกิต)

3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน อยกวา 10 หนว ยกติ

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 2 ชว่ั โมงตอสัปดาห

รวมไมน อ ยกวา 103 หนวยกติ

ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน 1. หมวด ิวชาสมรรถนะแกนกลาง(ห นวยกิต)
2.หมวด ิวชาสมรรถนะ ิวชาชีพ(ห นวย ิกต)
- 2.1 สมรรถนะ ิวชาชีพ ้ืพนฐาน(ห นวย ิกต)
- 2.2 สมรรถนะ ิวชาชีพเฉพาะ(ห นวย ิกต)
- 2.3 สมรรถนะ ิวชาชีพเลือก(ห นวย ิกต)
- 2.4 ฝกประสบการ ณสมรรถนะ ิวชาชีพ
- 2.5 โครงงาน ัพฒนาสมรรถนะ ิวชาชีพ
3. หมวด ิวชาเลือกเสรี(ห นวย ิกต)
รวม(ห นวย ิกต)

1. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม

1.1 สาขาวิชาชางยนต 22 71 21 24 18 4 4 10 103
- สาขางานยานยนต 4 10 103
4 10 103
1.2 สาขาวิชาชางกลโรงงาน 22 71 21 24 18 4
- สาขางานเครอ่ื งมือกล 4 10 103
4 10 103
1.3 สาขาวิชาชางไฟฟา กาํ ลงั 22 71 21 24 18 4
- สาขางานชางไฟฟากําลงั

2. ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม

2.1 สาขาวิชาการบญั ชี 22 71 21 24 18 4
- สาขางานการบัญชี

2.2 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกจิ 22 71 21 24 18 4
- สาขางานคอมพวิ เตอรธรุ กจิ

คมู อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2565 | 18

โครงสรา งหลกั สตู ร ปวส. ปการศกึ ษา 2565

1. หมวดวชิ าทกั ษะชวี ติ ไมนอยกวา 21 หนว ยกติ

2. หมวดวชิ าทักษะวิชาชพี ไมนอ ยกวา 56 หนว ยกิต

- ฝกประสบการณท ักษะวิชาชพี ( 4 หนว ยกติ )

- โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ ( 4 หนว ยกติ )

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน อยกวา 6 หนว ยกติ

4. กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 2 ชั่วโมงตอ สัปดาห

รวมไมนอ ยกวา 83 หนว ยกิต

ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน 1. หมวดวิชา ัทกษะ ีชวิต (หนวยกิต)
2.หมวดวิชา ัทกษะวิชา ีชพ (หนวยกิต)
- 2.1 วิชา ีชพพ้ืนฐาน(หนวยกิต)
- 2.2 วิชา ีชพเฉพาะ (หนวยกิต)
- 2.3 วิชา ีชพเลือก (หนวยกิต)
- 2.4 ฝกประสบการ ณ ัทกษะะวิชา ีชพ
- 2.5 โครงการพัฒนา ัทกษะวิชา ีชพ
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (หนวยกิต)
รวม (หนวยกิต)

1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 21 56 15 21 12 4 4 6 83
1.1 สาขาวิชาเทคนิคเคร่อื งกล 21 56 15 21 12 4 4 6 83
21 56 15 21 12 4 4 6 83
- สาขางานเทคนิคยานยนต
21 56 15 21 12 4 4 6 83
1.2 สาขาวิชาไฟฟา 21 56 15 21 12 4 4 6 83
- สาขางานไฟฟา กําลัง

1.3 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม
- สาขางานเทคโนโลยีวศิ วกรรม-
อตุ สาหกรรมการผลติ

2. ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม
2.1 สาขาวิชาการบัญชี

- สาขางานการบญั ชี

2.2 สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทลั
- สาขางานเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทลั

คูม ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 19

โครงสรา งหลกั สูตร ปวส.ภาคสมทบ ปก ารศึกษา 2565

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมน อ ยกวา 21 หนว ยกติ

2. หมวดวิชาทักษะวิชาชพี ไมนอยกวา 56 หนวยกิต

- ฝก ประสบการณทักษะวชิ าชพี ( 4 หนวยกิต)

- โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ( 4 หนว ยกติ )

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน อ ยกวา 6 หนวยกติ

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ช่วั โมงตอสปั ดาห

รวมไมน อ ยกวา 83 หนวยกติ

ประเภทวชิ า/สาขาวิชา/สาขางาน 1. หมวดวิชา ัทกษะ ีชวิต (หนวยกิต)
2.หมวดวิชา ัทกษะวิชา ีชพ (หนวยกิต)
- 2.1 วิชา ีชพพ้ืนฐาน(หนวยกิต)
- 2.2 วิชา ีชพเฉพาะ (หนวยกิต)
- 2.3 วิชา ีชพเลือก (หนวยกิต)
- 2.4 ฝกประสบการ ณ ัทกษะะวิชา ีชพ
- 2.5 โครงการพัฒนา ัทกษะวิชา ีชพ
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (หนวยกิต)
รวม (หนวยกิต)

1. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม 21 56 15 21 12 4 4 6 83
1.1 สาขาวิชาเทคนคิ เครือ่ งกล 21 56 15 21 12 4 4 6 83
21 56 15 21 12 4 4 6 83
- สาขางานเทคนคิ ยานยนต
21 56 15 21 12 4 4 6 83
1.2 สาขาวิชาไฟฟา 21 56 15 21 12 4 4 6 83
- สาขางานไฟฟากาํ ลงั

1.3 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม
- สาขางานเทคโนโลยีวศิ วกรรม-
อตุ สาหกรรมการผลิต

2. ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม
2.1 สาขาวิชาการบัญชี

- สาขางานการบัญชี

2.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั
- สาขางานเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทลั

คูมอื นักเรียน นักศึกษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 20

งานวดั ผลและประเมนิ ผล

การประเมนิ ผลการเรยี นรูตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ(ปวช.) พุทธศกั ราช 2562
หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสูง(ปวส.) และปวส.ภาคสมทบ พทุ ธศกั ราช 2563

งานวัดผลและประเมินผล
งานวัดผลและประเมนิ ผล ทําหนา ท่ี เก็บรวบรวมขอมูลหลกั ฐานการประเมินผลการเรียน ประกาศผล

การประเมิน แจงผลการเรียนใหผูปกครองทราบ จัดทําเอกสารเก่ียวกับการประเมินผลการเรียน ตรวจสอบ
ระบบการใหคะแนน พิจารณาเกี่ยวกับการโอนผลการเรียนการสอบเทียบประสบการณความรูดําเนินการ
จัดการประเมินผลการเรยี นทกุ ภาคเรียน ดาํ เนนิ การสอบมาตรฐานวิชาชีพ และปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนๆ ตามท่ีไดรับ
มอบหมายระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั การในการประเมินผลการเรยี นและวธิ ีการประเมินผลการเรียน
สถานศึกษาและสถานประกอบการจะทําการประเมินผลการเรียนเปนรายวิชาเม่ือสิ้นภาคเรียน หรือ

เมื่อส้ินสุดการเรียน หรอื การปฏิบตั ิงานในทกุ รายวิชา
การประเมินผลการเรียนเปนรายวิชาจะดําเนินการประเมินตามสภาพจริงอยางตอเน่ืองตลอดภาค

เรยี น, ความสามารถและเจตคติจากกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานที่มอบหมาย ซ่ึงครอบคลุม
จดุ ประสงคแ ละเนื้อหาวิชาโดยใชเครื่องมือและวิธีการหลากหลายตามความเหมาะสม ตัวเลขที่ใชแสดงระดับ
ผลการเรยี นในแตล ะรายวิชา มีดงั ตอไปน้ี

4.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู นเกณฑ ดีเย่ยี ม
3.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยใู นเกณฑ ดมี าก
3.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยูในเกณฑ ดี
2.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยูในเกณฑ ดีพอใช
2.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยูในเกณฑ พอใช
1.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู นเกณฑ ออน
1.0 หมายถงึ ผลการเรียนอยใู นเกณฑ ออ นมาก
0 หมายถงึ ผลการเรยี นต่ํากวา เกณฑ (ตก)
ตวั อักษรทใ่ี ชแสดงผลการเรยี นอืน่ ๆ มีดงั น้ี
ข.ป. หมายถึง ขาดการปฏบิ ัติงานหรือปฏิบตั ิงานไมค รบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว เหน็ วา ไมม ี

เหตผุ ลสมควร
ข.ส. หมายถึง ขาดการวดั ผลปลายภาคเรยี น โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแลว เห็นวาไมมีเหตุผลสมควร
ถ.ล. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายหลังกาํ หนด โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแลวเห็นวาไมม เี หตุผลสมควร
ถ.น. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายในกาํ หนด
ท. หมายถงึ ทุจริตในการสอบ หรืองานที่มอบหมายใหทํา

คมู ือนักเรยี น นักศึกษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 21

ม.ส. หมายถงึ ไมสมบรู ณเน่ืองจากไมสามารถเขารบั การวดั ผลปลายภาคเรยี นโดยไดรับอนุญาตจาก
หวั หนา สถานศกึ ษาไมสง งานอนั เปนสวนประกอบของการเรยี นรายวิชาตามกาํ หนด

ม.ท. หมายถึง ไมสามารถเขารับการวดั ผลปลายภาคเรยี นทดแทนภายในเวลาที่สถานศึกษากําหนด
ผ. หมายถึง ไดเ ขารวมกิจกรรมตามกําหนด หรือผลการประเมนิ ผาน
ม.ผ. หมายถึง ไมเขา รว มกิจกรรม หรอื ผลการประเมิน ไมผ า น
ม.ก. หมายถงึ การเรียนโดยไมน ับจาํ นวนหนว ยกติ มารวมเพอื่ การสาํ เร็จการศึกษาตามหลักสูตร และ
ผลการประเมินผา นใหร ะดบั ผลการเรียนเปน ๐ (ศนู ย) เฉพาะรายวิชาท่ีได

(1) ได ข.ร.
(2) ได ข.ป.
(3) ได ข.ส.
(4) ได ถ.ล.
(5) ได ท.
(6) ได ม.ท.

การตดั สนิ ผลการเรียน
1. ตัดสินผลการเรียนเปนรายวชิ า
2. รายวิชาที่มีระดับผลการเรียนตั้งแต 1.0 ข้ึนไป ถือวาประเมินผานและใหนับจํานวน หนวยกิต ของ

รายวชิ านั้นเปน จาํ นวนหนวยกิตสะสม
3. นกั เรียนระดบั ปวช. ทีไ่ ดรบั ผลการเรียนระดับ 0 (ศูนย) ใหร บั การประเมินใหมได 1 คร้ัง ภายใน

เวลาท่ีสถานศึกษากําหนด ไมเกิน 10 วันนับแตวันประกาศผล หากไมผานถาเปนรายวิชาเลือกจะเรียนซ้ํา
หรอื เรียนวชิ าอน่ื แทนกไ็ ดการประเมินใหมระดบั ผลการเรียนไดไมเ กิน 1 (หนงึ่ )

4. นักเรียนระดับชั้น ปวส. ท่ีไดรับผลการเรียนระดับ 0 ถาเปนวิชาบังคับใหเรียนซํ้า ถาเปนวิชา
เลอื กจะเรยี นซํา้ หรอื เรียนวิชาอ่นื แทน

การตัดสินผลการเรียนเพื่อสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562
และหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สงู พุทธศกั ราช 2563 ใหถ ือตามเกณฑต อ ไปนี้

1. ประเมินผานทุกรายวชิ าในหลกั สูตร
2. ไดจํานวนหนวยกิตสะสมครบตามโครงสรา งที่กําหนดไวใ นหลกั สูตร
3. ไดรบั ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต ่าํ กวา 2.00
4. ตอ งผา นกจิ กรรมทุกภาคเรยี น
5. ตองผา นการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ

คูม ือนักเรียน นักศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 22

การพน สภาพนกั เรยี น
ใหป ฏิบตั ิตามกรณใี ดกรณหี นึ่ง ดังตอไปนี้
1. สาํ เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร
2. ลาออก
3. ถงึ แกกรรม
4. สถานศึกษาสั่งใหพ น สภาพนักศึกษากรณีใดกรณีหนง่ึ ดังน้ี
4.1 ขาดเรียนหรือการฝกอาชีพติดตอ กันเกนิ 15 วัน
4.2 ไมม าติดตอเพือ่ รักษาสภาพนกั ศึกษา
4.3 ประพฤตฝิ าฝน ระเบยี บขอบังคับของสถานศึกษา หรือสถานประกอบการ หรอื
ประพฤตผิ ดิ ศีลธรรมอยางรายแรง
4.4 ตอ งโทษคดีอาญา
4.5 ขาดคณุ สมบัตขิ องผูเขาเรียนตามทกี่ ําหนด

ระดับ ปวช.
- เมอื่ ลงทะเบยี นครบ 2 ภาคเรียน คะแนนเฉลย่ี สะสมตองไมต ํา่ กวา 1.5
- เมอื่ ลงทะเบยี นครบ 4 ภาคเรยี น คะแนนเฉลย่ี สะสมตอ งไมต่ํากวา 1.75
- เมอ่ื ลงทะเบยี นครบ 6 ภาคเรยี น คะแนนเฉลีย่ สะสมตองไมตํ่ากวา 1.9
อนึง่ เมือ่ เรยี นเปนเวลารวม 8 ภาคเรียนแลว แตผลการเรียนตํ่ากวา 2.00 สถานศึกษาจะ
พจิ ารณาวา ควรใหพน สภาพนกั เรียนหรอื ใหเรยี นตอ แตตองไมเกิน 6 ปการศึกษา

ระดับ ปวส.
- เม่อื ลงทะเบยี นครบ 2 ภาคเรยี น คะแนนเฉล่ยี สะสมตอ งไมต าํ่ กวา 1.75
- เมอ่ื ลงทะเบยี นครบ 4 ภาคเรียน คะแนนเฉลย่ี สะสมตอ งไมตา่ํ กวา 1.90
อนง่ึ เม่อื เรยี นเปนเวลารวม 6 ภาคเรียนแลว แตผลการเรียนตํ่ากวา 2.00 สถานศึกษาจะ
พิจารณาวา ควรใหพ น สภาพนกั เรยี นหรอื ใหเ รียนตอ แตต อ งไมเ กนิ 4 ปการศกึ ษา

การเทียบโอนผลการเรยี น
รับโอนผลการเรียนทุกรายวิชาที่ไดรับผลการเรียนตั้งแต 2 ขึ้นไป (ถาเปนสถานศึกษาตองมีเน้ือหา

รายวชิ าใกลเ คียงไมต าํ่ กวา 60% และจาํ นวนหนวยกิต ของรายวชิ าที่ระบุไวใ นหลักสตู ร)
กรณีท่นี กั เรยี นพนสภาพแลว สอบเขาเรียนใหมจะรับโอนเฉพาะรายวิชาที่มีอยูในหลักสูตร และระดับ

ผลการเรยี นตงั้ แต 2 ข้ึนไป
นกั เรียนที่ขอเทียบโอนผลการเรยี นตองลงทะเบยี นรายวิชาในสถานศกึ ษาไมน อยกวา 2 ภาคเรียน

คูมือนกั เรียน นักศึกษา ปการศึกษา 2565 | 23

หลกั เกณฑการประเมนิ เทยี บโอนความรูแ ละประสบการณ
1. ตองลงทะเบียนและชําระเงินตามวัน เวลาทก่ี าํ หนดและไดรบั การเห็นชอบจากครทู ่ีปรึกษา
2. ตองแสดงหลักฐานทเี่ ชือ่ ถือได ประกอบการลงเทยี นกอ นชาํ ระเงิน
3. มีคณะกรรมการประเมนิ ไมนอยกวา 3 คนเปน ผปู ระเมนิ
การขออนญุ าตเลื่อนการประเมนิ
ในกรณีที่นักเรียนไมสามารถเขารับการประเมินสรุปผลการเรียนตามวันและเวลาที่กําหนดจะขอ
อนุญาตเลื่อนการประเมินไดใ นกรณีตอ ไปนี้
1. ประสบอบุ ตั ิเหตุหรือเจบ็ ปวย
2. ถูกควบคมุ ตวั โดยพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย
3. เปนตัวแทนสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ ในการเขารวมประชุมหรือกิจกรรมพิเศษโดย
ไดร ับการยินยอมจากสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ
4. มีความจําเปนอยางอื่นและสถานศึกษาพิจารณาแลวเห็นวาจําเปน หมายเหตุ ตองยื่นคํารอง
พรอมหลกั ฐานประกอบตอ สถานศึกษากอ นการประเมินใหมไ มน อยกวา 3 วัน
ข้ันตอนการขอเทียบโอนผลการเรียนของนกั เรียน/นักศกึ ษา
1. นักเรยี น/นักศึกษายื่นคาํ รองขอเทยี บโอนผลการเรยี นที่งานวดั ผลภายในเวลาทสี่ ถานศึกษากาํ หนด
2. คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ในกรณีท่ีตองทําการประเมินใหมในรายวิชาใดให
สถานศึกษาแตงต้ังคณะกรรมการประเมินไมน อ ยกวา 3 คน ดําเนินการประเมนิ
3. คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียนสงผลการเทียบโอนใหง านวัดผลการเรียนดําเนินการเสนอขอ
อนมุ ตั ผิ ลการเทยี บโอนตอไป
4. งานทะเบียนบันทึกผลการเรียนในระเบียบแสดงผลการเรียน โดยใชรหัสวิชาและช่ือวิชาตาม
หลกั สูตรท่ีขอเทยี บโอน

คมู อื นกั เรียน นักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2565 | 24

งานปกครอง

ระเบียบวิทยาลยั การอาชีพมหาราช
วาดว ยเครอ่ื งแบบและการแตงกายของนกั เรียน นกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๕
อาศัยพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๕ วาดวยเคร่ืองแบบและ
การแตงกายนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพมหาราช เห็นสมควรปรับปรุงระเบียบ วาดวยเครื่องแบบ
นักเรียน นักศึกษาใหเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนวิชาชีพ วาดวยเคร่ืองแบบนักเรียน นักศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๕ วทิ ยาลัยการอาชพี มหาราช จึงกาํ หนดระเบียบไว ดงั ตอไปน้ี
ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรยี กวา “ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพมหาราช วา ดวยเครือ่ งแบบและการแตงกายของ
นกั เรยี น นกั ศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕”
ขอ ๒ ระเบียบน้ใี หใ ชบังคับตง้ั แตป ก ารศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป
ขอ ๓ ใหย กเลกิ ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพมหาราช วาดวยเครื่องแบบและการแตงกายของนักเรียน
นักศึกษาและระเบยี บอื่นๆ ท่ขี ัดแยง กับระเบียบน้ี
ขอ ๔ ระเบียบนี้ใหใชบังคับ นักเรียน นักศึกษาทุกแผนกวิชา ทุกระดับชั้นของวิทยาลัยการอาชีพ
มหาราช
ขอ ๕ คาํ วา “เครอื่ งแบบและการแตง กาย” ในระเบียบนี้ หมายถงึ
๕.๑ เครือ่ งแบบและการแตงกายในระหวางท่ีเปนนักเรียน นักศึกษา ระหวางการเรียนและ
ทํากจิ กรรมตางๆ ที่เก่ยี วกบั การเรยี นหรอื สง เสรมิ การเรียนหรือการปฏิบัตงิ านหรือการฝก อบรม
๕.๒ เครื่องแบบและการแตงกายภาคทฤษฎี (ชดุ พิธีการ)
๕.๓ เครอ่ื งแบบและการแตง กายภาคปฏิบตั ิวชิ าชีพ
๕.๔ เครื่องแบบและการแตง กายภาคปฏบิ ัติวชิ าพลศึกษา
๕.๕ เครอ่ื งแบบลกู เสอื แตง กายกิจกรรมลูกเสือ
ขอ ๖ เครือ่ งแบบและการแตง กายขณะเรียนภาคทฤษฎี
๖.๑ นกั เรยี นชาย ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.)

๖.๑.๑ เสอ้ื (ภาคทฤษฎ)ี ใหใ ชแ บบเสื้อเชิ้ตคอตั้ง ผาขาวเกลี้ยงไมมีลวดลาย ไมบาง
เกินไป แขนสั้นเพียงขอศอก ผาอกตลอด มีสาบ ใชกระดมุ สีขาวกลมแบน ขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน ๑ ซม.
มกี ระเปา ทอ่ี กซาย ขนาดกวาง ๘-๑๒ ซม. แบบสภุ าพไมตกแตงไมมีกระดุม ติดเข็มของวิทยาลัยฯ บริเวณหนาอก
ซาย บริเวณหนาอกขวาติดปายชื่อตามท่ีวิทยาลัยฯ กําหนด โดยเก็บชายเสื้อไวในกางเกงใหเรียบรอย
ตลอดเวลาทีแ่ ตงกายดว ยเคร่อื งแบบน้ี

(ภาคปฏิบัติ) แบบเสื้อทรงซาฟารี เอวปลอย สีกรมทา ดานหลังเส้ือเย็บเกล็ดทวิช
๒ แถว มกี ระเปาเสื้อดา นซายระดับราวนมปกสัญลักษณทรงกลมตราสัญลักษณของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๗ ซม. พรอมปกชื่อวิทยาลัยฯ ใตตราสัญลักษณของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาและดา นบนกระเปาติดแถบสี ดังนี้ สีเลือดหมู แผนกวิชาชางยนต,สีแดง แผนก

คมู ือนกั เรียน นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 25

วิชาชา งกลโรงงาน,สีสม แผนกวชิ าชางไฟฟา กําลังและกระเปา ระดับเอวอีก ๒ กระเปา เสอ้ื ไมมีการปกตัวอักษร
หรือสกรีนรูปใดๆ ท้ังสิน้ ยกเวนตราท่ีวิทยาลัยกําหนดและตองปกช่ือดานหนาอกขางขวา ชายเสื้อยาวโดยวัด
จากเขม็ ขัดลงมาไมน อ ยกวา ๑๐ ซม.

๖.๑.๒ กางเกง ขายาวทรงสุภาพ สีกรมทา (หามใสกางเกงยีนสหรือผาสีอื่น) ขนาด
พอดี ไมห ลวมหรือคับเกินไป ขายาวเพียงขอเทา เมอ่ื ยืนตรง วดั เสนรอบวงท่ีปลายขาไมนอยกวา ๔๕ ซม. และ
ไมเ กิน ๕๐ ซม. (ปลายขาตอ งพับเขา) มีกระเปา ตามแนวตะเขบ็ ขางละ ๑ กระเปา กระเปาหลงั เจาะไมมีฝาปด
๑ กระเปา

๖.๑.๓ เข็มขัด ใหใชตามแบบที่วิทยาลัยฯ กําหนด (เข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัดทํา
ดว ยโลหะเครอ่ื งหมายตามท่ีวิทยาลยั ฯ กําหนด) เวลาใชสอดเขาในหูกางเกงใหเรียบรอย และหามมิใหตกแตง
ลวดลายใดๆ

๖.๑.๔ รองเทา ใหใชแบบผา ใบสดี ําสนิท ชนิดหุมสน มีเชือกผูก สีดํา ทรงสุภาพไมมี
ลวดลายใดๆ (หา มหุมขอ )

๖.๑.๕ ถงุ เทา ใชถงุ เทาสดี าํ ยาวหมุ ขอ เทา ไมม ลี วดลายใดๆ
๖.๑.๖ ทรงผม ใหตัดผมรองทรงสุภาพ ดานบนยาวพอหวีไดเรียบรอยและสวยงาม
ดา นหนา ยาวไมเ กนิ ๔ ซม. หรอื ไมเ กนิ คว้ิ หามตกแตง ยอ มสีดดั แปลงจนผดิ ไปจากธรรมชาติ
๖.๑.๗ การประดบั การแตงกาย อน่ื ๆ
- หา มไวหนวดเครา หา มสวมใสเคร่ืองประดับ เชน แหวน หวงขอมือ สรอยคอ แหวน
สรอยประคํา (ซ่งึ อาจกอใหเ กิดอนั ตรายตอ ชีวิตระหวางปฏบิ ตั งิ านและกิจกรรมในรายวิชาตางๆ หรือระหวางการ
เดนิ ทาง)
- หามใสห มวก แวนตา (ยกเวน แวน สายตา)
- หามเจาะล้นิ เจาะจมูก หามระเบดิ หู เจาะหู ใสตางหูและสักตามรางกาย

๖.๒ นกั เรยี นหญงิ ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.)
๖.๒.๑ เส้ือ (ภาคทฤษฎ)ี ใหใชแ บบเส้อื เช้ติ คอตงั้ ผา ขาวเกล้ียง ไมบางเกินไป ผาอก

ตลอดแขนส้ันปลอยยาวไมเกินขอศอก ไมมีกระเปา มีกระดุมเปนโลหะสีขาวเครื่องหมายตามที่วิทยาลัยฯ
กาํ หนด ตดิ เข็มของวิทยาลยั ฯ บรเิ วณหนา อกซาย บรเิ วณหนา อกขวาติดปายช่ือตามที่วิทยาลัยฯ กําหนด ท่ีคอ
ปกดา นซา ยติดกระดมุ ตุงต้งิ ตามท่วี ิทยาลัยฯ กําหนด ใหใสกับกระโปรงเทานั้น โดยเก็บชายเส้ือไวในกระโปรง
ตลอดเวลาทีส่ วมใสเ คร่อื งแบบน้ี

(ภาคปฏิบัติ) แบบเสื้อทรงซาฟารี เอวปลอย สีกรมทา สําหรับนักเรียนหญิงท่ีเรียน
ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม ดานบนกระเปาติดแถบสี ดังนี้ สีเลือดหมู แผนกวิชาชางยนต,สีแดง แผนกวิชาชาง
กลโรงงาน,สีสม แผนกวิชาชางไฟฟากําลัง ใหใสกับกางเกงเทาน้ันและแบบเส้ือทรงซาฟารี เอวปลอย สีฟา
สาํ หรับนักเรียนหญิงท่ีเรียนประเภทวิชาพาณิชยกรรมใหใสกับกระโปรงเทาน้ัน ดานหลังเส้ือเย็บเกล็ดทวิช ๒
แถว มีกระเปาเสื้อดา นซา ยระดบั ราวนมปก สัญลักษณท รงกลม ตราสัญลกั ษณของสํานักงานคณะกรรมการการ

คมู ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 26

อาชีวศึกษา ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๗ ซม. พรอมปกชื่อวิทยาลัยฯ ใตตราสัญลักษณของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามีกระเปา ระดับเอวอกี ๒ กระเปา ดา นหลงั เสื้อไมม ีการปก ตวั อักษรหรือสกรีนรูป
ใดๆ ทงั้ สิน้ ยกเวนตราที่วทิ ยาลยั ฯกําหนดและตอ งปก ช่ือดานหนาอกขางขวา ชายเส้ือยาวโดยวัดจากเข็มขัดลง
มาไมน อ ยกวา ๑๐ ซม.

๖.๒.๒ กระโปรง ใหใชกระโปรงทรงพีท สีกรมทา ไมรัดรูปหรือหลวมเกินไป ความ
ยาวของกระโปรงคลมุ เขา และวัดจากกึ่งกลางหัวเขา ลงมาไมเกิน ๑๐ ซม.

๖.๒.๓ กางเกงใหใ ชต ามระเบยี บเครือ่ งแตงกาย ขอ ๖.๑.๒
๖.๒.๔ เขม็ ขัด ใหใ ชตามแบบทว่ี ิทยาลัยฯกําหนด (เข็มขดั หนงั สดี ํา หัวเข็มขัดทําดวย
โลหะมีเคร่ืองหมายตราวิทยาลยั ฯ)
๖.๒.๕ รองเทา (ภาคทฤษฎี) ใหใชรองเทาหนังสีดํา (หามใชรองเทาหนังกํามะหย่ี)
แบบหุมสน หมุ ปลายเทา ไมมเี ชอื กผูก (คชั ช)ู สน สงู ระหวา ง ๑-๒ นิ้ว ไมมีลวดลายใดๆ และไมตอ งสวมถุงเทา
(ภาคปฏบิ ตั )ิ ใหใชรองเทา ผา ใบสดี าํ สนทิ ชนิดหุมสน มีเชือกผูก สีดํา ทรงสุภาพไมมี
ลวดลายใดๆ
๖.๒.๖ ทรงผม ถาไวผมยาวใหรวบผมผูกโบวใหเรียบรอย โดยใชโบวสีดําหรือโบวสี
นํ้าเงินเทาน้ัน ขนาดสุภาพ หามซอยผม ดัดผม ทําสีผม หรือตัดแตงในลักษณะท่ีไมสุภาพ ไมเหมาะสมกับ
สภาพการเปนนกั เรียน
๖.๒.๗ การประดบั การแตงกาย อืน่ ๆ
- หามนักเรียนหญิงใชเครื่องประดับที่มีคา เชน แหวน ตุมหู สรอยคอ สรอยขอมือ
หรือกาํ ไล ซึ่งอาจจะเปนอันตรายและไมส ะดวกในการปฏิบตั ิงานระหวา งการเรียนวิชาตางๆ
- หา มไวเลบ็ ยาว แตงหนาดวยเคร่ืองสําอาง เชน เขียนค้ิว ทาปาก เขียนตา ฯลฯ จนดู
ไมเหมาะสมกับสภาพการเปน นกั เรียน
- หามใสห มวก แวนตา (ยกเวน แวนสายตา)
- หา มเจาะล้ิน เจาะจมกู และสกั ตามรางกาย สามารถเจาะหูได โดยเจาะบริเวณต่ิง
หขู างละ ๑ รู เทานนั้ การใสต า งหู หามใสตา งหแู ฟชนั่ อนุญาตใหใสต างหูทรงหัวหมุดขนาดเล็กไมมีพูหอย สีดํา
หรือสเี งนิ เทา น้นั หา มระเบิดหู

๖.๓ นกั ศึกษาชาย ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
๖.๓.๑ เสื้อ (ภาคทฤษฎี) แบบเส้ือเช้ิตคอต้ังแขนยาวจรดขอมือ ผาขาวเกลี้ยงไมมี

ลวดลาย ไมบางเกินไป กระดมุ ท่ปี ลายแขนเสอื้ ขา งละ ๑ เม็ด ใชกระดมุ สขี าวกลมแบน ขนาดเสนผาศูนยกลาง
ไมเกิน ๑ ซม. มีกระเปาที่อกซาย ขนาดกวาง ๘-๑๒ ซม. แบบสุภาพไมตกแตงมีกระดุม ผูกเน็กไทตามท่ี
วิทยาลัยฯ กําหนด ติดเข็มของวิทยาลัยฯ บริเวณหนาอกซาย บริเวณหนาอกขวาติดปายช่ือตามที่วิทยาลัยฯ
กาํ หนด โดยเก็บชายเสอ้ื ไวใ นกางเกงใหเ รียบรอยตลอดเวลาทแี่ ตง กายดว ยเคร่อื งแบบนี้

คมู ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปการศึกษา 2565 | 27

(ภาคปฏิบตั ิ) แบบเสอ้ื ทรงซาฟารี เอวปลอย สีนํ้าตาล ดานหลังเส้ือเย็บเกล็ดทวิช ๒
แถวมีกระเปาเส้ือดานซายระดับราวนมปกสัญลักษณทรงกลมตราสัญลักษณของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๗ ซม. พรอมปกชื่อวิทยาลัยฯ ใตตราสัญลักษณของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาและดา นบนกระเปาติดแถบสี ดังนี้ สีเลือดหมู แผนกวิชาชางยนต,สีแดง แผนก
วชิ าชางกลโรงงาน,สสี ม แผนกวชิ าชางไฟฟา กาํ ลังและกระเปา ระดับเอวอกี ๒ กระเปา ดานหลงั เส้ือไมมีการปก
ตวั อกั ษรหรอื สกรีนรปู ใดๆ ทั้งสิน้ ยกเวนตราที่วิทยาลัยกําหนดและตองปก ชื่อดา นหนา อกขา งขวา ชายเส้ือยาว
โดยวดั จากเขม็ ขัดลงมาไมน อยกวา ๑๐ ซม.

๖.๓.๒ กางเกง ขายาวทรงสุภาพ สีดํา (หามใสกางเกงยีนสหรือผาสีอ่ืน) ขนาดพอดี
ไมห ลวมหรือคบั เกนิ ไป ขายาวเพียงขอ เทา เมือ่ ยืนตรง วดั เสนรอบวงท่ีปลายขาไมนอยกวา ๔๕ ซม.และไมเกิน
๕๐ ซม. (ปลายขาตองพับเขา) มีกระเปาตามแนวตะเข็บ ขางละ ๑ กระเปา กระเปาหลังเจาะไมมีฝาปด ๑
กระเปา

๖.๓.๓ เข็มขัด ใหใชตามแบบทีว่ ทิ ยาลัยฯกาํ หนด (เข็มขดั หนงั สีดาํ หัวเข็มขัดทําดวย
โลหะมเี ครอ่ื งหมายตราวิทยาลัยฯ) และหามตกแตงลวดลายใดๆ

๖.๓.๔ รองเทา ใหใชแ บบผาใบสดี ําสนิท ชนิดหุมสน มีเชือกผูก สีดํา ทรงสุภาพไมมี
ลวดลายใดๆ

๖.๓.๕ ถุงเทา ใชถ งุ เทา สีดาํ ยาวหุมขอ เทา ไมม ีลวดลายใดๆ
๖.๓.๖ ทรงผม ใหตัดผมรองทรงสุภาพ ดานบนยาวพอหวีไดเรียบรอยและสวยงาม
ดานหนา ยาวไมเกนิ ๔ ซม. หรอื ไมเกนิ คิว้ หามตกแตง ยอมสดี ดั แปลงจนผิดไปจากธรรมชาติ
๖.๓.๗ การประดับการแตงกาย อ่ืนๆ
- หามไวหนวดเครา หา มสวมใสเคร่ืองประดับ เชน แหวน หวงขอมือ สรอยคอ แหวน
สรอยประคาํ (ซ่ึงอาจกอ ใหเ กิดอันตรายตอ ชวี ิตระหวางปฏบิ ัตงิ านและกิจกรรมในรายวิชาตางๆ หรือระหวางการ
เดินทาง)
- หา มใสหมวก แวนตา (ยกเวนแวนสายตา)
- หามเจาะลิน้ เจาะจมูก หามระเบดิ หู เจาะหู ใสตางหูและสกั ตามรา งกาย

๖.๔ นักศึกษาหญิง ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.)
๖.๔.๑ เสอื้ (ภาคทฤษฎี) ใหใ ชแบบเส้อื เช้ติ คอต้ัง ผา ขาวเกลี้ยง ไมบางเกินไป ผาอก

ตลอด แขนส้ันปลอยยาวไมเกินขอศอก ไมมีกระเปา มีกระดุมเปนโลหะสีขาวเครื่องหมายตามท่ีวิทยาลัยฯ
กาํ หนด ติดเข็มของวิทยาลยั ฯ บรเิ วณหนาอกซาย บรเิ วณหนาอกขวาตดิ ปา ยช่ือตามที่วิทยาลัยฯ กําหนด ท่ีคอ
ปกดานซายตดิ กระดุมตงุ ตงิ้ ตามทีว่ ิทยาลยั ฯ กําหนด ใหใสกับกระโปรงเทานั้น โดยเก็บชายเสื้อไวในกระโปรง
ตลอดเวลาทสี่ วมใสเ คร่อื งแบบน้ี

(ภาคปฏบิ ตั ิ) แบบเส้ือทรงซาฟารี เอวปลอย สีน้ําตาล สําหรับนักศึกษาหญิงที่เรียน
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ดานบนกระเปาติดแถบสี ดังนี้ สีเลือดหมู แผนกวิชาชางยนต,สีแดง แผนกวิชาชาง

คมู ือนกั เรยี น นักศึกษา ปการศึกษา 2565 | 28

กลโรงงาน,สีสม แผนกวิชาชางไฟฟา ใหใสกับกางเกงเทานั้นและแบบเส้ือทรงซาฟารี เอวปลอย สีฟาสําหรับ
นักศกึ ษาหญิงท่ีเรยี นประเภทวิชาพาณิชยกรรมใหใ สกบั กระโปรงเทาน้ัน ดานหลังเสื้อเย็บเกล็ดทวิช ๒ แถว มี
กระเปาเส้ือดานซายระดับราวนมปกสัญลักษณทรงกลม ตราสัญลักษณของสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา ขนาดเสนผาศูนยกลาง ๗ ซม. พรอมปกช่ือวิทยาลัยฯ ใตตราสัญลักษณของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีกระเปาระดับเอว อีก ๒ กระเปา ดานหลังเสื้อไมมีการปกตัวอักษรหรือ
สกรีนรปู ใดๆ ท้งั สนิ้ ยกเวนตราท่ีวิทยาลัยกําหนดและตองปกช่ือดานหนาอกขางขวา ชายเสื้อยาวโดยวัดจาก
เข็มขดั ลงมาไมนอยกวา ๑๐ ซม.

๖.๔.๒ กางเกงใหใชร ะเบียบเครื่องแตง กายขอ ๖.๓.๒
๖.๔.๓ กระโปรง ใหใชกระโปรงทรงพีท สีดํา ไมรัดรูปหรือหลวมเกินไป ความยาว
ของกระโปรงคุมเขาวดั จากกง่ึ กลางหวั เขาลงมาไมเกิน ๑๐ ซม.
๖.๔.๔ เขม็ ขดั ใหใชต ามแบบท่ีวิทยาลัยกําหนด (เข็มขัดหนังสีดํา หัวเข็มขัดทําดวย
โลหะเครอ่ื งหมายตามทีว่ ทิ ยาลัยฯกําหนด)
๖.๔.๕ รองเทา (ภาคทฤษฎี) ใหใชรองเทาหนังสีดํา (หามใชรองเทาหนังกํามะหย่ี)
แบบหุมสน หุม ปลายเทา ไมมีเชือกผูก (คชั ชู) สน สูงระหวาง ๑-๒ นิว้ ไมมลี วดลายใดๆ และไมต องสวมถุงเทา
(ภาคปฏบิ ัต)ิ ใหใ ชรองเทาผา ใบสดี าํ สนทิ ชนิดหมุ สน มีเชือกผูก สีดํา ทรงสุภาพไมมีลวดลาย
ใดๆ
๖.๔.๖ ทรงผม ถาไวผมยาวใหรวบผมผูกโบวใหเรียบรอย โดยใชโบวสีดําหรือโบวสี
น้ําเงินเทานั้น ขนาดสุภาพ หามซอยผม ดัดผม ทําสีผม หรือตัดแตงในลักษณะท่ีไมสุภาพ ไมเหมาะสมกับ
สภาพการเปนนักศึกษา
๖.๔.๗ การประดบั การแตง กาย อืน่ ๆ
- หา มนกั ศึกษาหญงิ ใชเครื่องประดับท่ีมีคา เชน แหวน ตุมหู สรอยคอ สรอยขอมือ
หรอื กาํ ไล ซ่งึ อาจจะเปนอันตรายและไมส ะดวกในการปฏบิ ัตงิ านระหวางการเรยี นวชิ าตา งๆ
- หา มไวเลบ็ ยาว แตงหนาดว ยเคร่ืองสําอาง เชน เขียนค้ิว ทาปาก เขียนตา ฯลฯ จนดู
ไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรยี น นักศึกษา
- หามใสห มวก แวน ตา (ยกเวน แวนสายตา)
- หามเจาะลิ้น เจาะจมูก และสกั ตามรางกาย สามารถเจาะหูได โดยเจาะบริเวณต่ิง
หขู า งละ ๑ รู เทา นน้ั การใสตา งหู หา มใสต า งหแู ฟชัน่ อนุญาตใหใ สต างหูทรงหัวหมุดขนาดเล็กไมมีพูหอย สีดํา
หรอื สีเงนิ เทาน้นั หา มระเบิดหู
ขอ ๗ เคร่ืองแบบและการแตงกายขณะเรียนภาคปฏิบัติวิชาพลานามัย ใหเปนไปตามที่วิทยาลัยฯ
กาํ หนดและสวมใสไดเ ฉพาะในคาบเรียนเทานั้น
ขอ ๘ เครอื่ งแบบและการแตงกายขณะเรียนภาคปฏิบตั ิวิชาชีพใหเปน ไปตามท่วี ิทยาลยั ฯ กาํ หนด
ขอ ๙ เครื่องแบบและการแตงกายในขณะออกฝกงานในสถานประกอบการ ใหแตงกายดวยชุด
เครอ่ื งแบบนกั เรียน นักศกึ ษาหรือตามทส่ี ถานประกอบการกําหนด

คมู ือนักเรียน นกั ศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2565 | 29

ขอ ๑๐ เคร่ืองแบบและการแตงกายลูกเสือ ขณะเรียนกิจกรรมลูกเสือ ใหเปนไปตามที่วิทยาลัยฯ
กาํ หนด

ขอ ๑๑ การฝาฝนระเบียบวา ดว ยเครอื่ งแบบนี้ มคี วามผิดและจะไดร บั โทษ ดงั น้ี
ครง้ั ท่ี ๑ วากลาวตักเตอื น
คร้ังที่ ๒ และครง้ั ตอไป ตดั คะแนนความประพฤติ คร้ังละ ๕ คะแนน ตอ ความผิด ๑ อยาง

ขอ ๑๒ ใหร องผอู ํานวยการฝายพฒั นาการนักเรียน นักศึกษาเปนผูรักษาการใหเปนไปตามระเบียบน้ี
และมอี าํ นาจตคี วามและวนิ ิจฉยั ปญ หาเกย่ี วกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้

ขอ ๑๓ ใหใชร ะเบียบน้ีต้งั แต วันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เปนตน ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕
(นายณฐั พงศ แกว วงศ)
ผูอาํ นวยการวทิ ยาลยั การอาชีพมหาราช

คูมือนักเรยี น นักศกึ ษา ปการศึกษา 2565 | 30

การจดั อาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคแี ละการฝกงานการจัดอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี

“ทวภิ าค”ี แปลวา “สองฝาย” ซึ่งหมายถึง สถานประกอบการและสถานศึกษา นักศึกษาท่ีเขารวม

ฝก อาชีพในโครงการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคมี ี 2 สถานภาพในบคุ คลเดียวกนั คอื เปน นกั ศกึ ษาในสถานศึกษา

และพนักงานฝกอาชพี ของสถานประกอบการการจัดอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี

เปน การจัดการศกึ ษาดา นอาชพี อกี รูปแบบหน่ึง ซง่ึ การศึกษาในระบบน้ีนักศึกษา จะตองเรียนรายวิชา

สามญั รายวชิ าชีพพน้ื ฐาน และฝกปฏิบัติเบ้ืองตนท่ีสถานศึกษา ฝกภาคปฏิบัติจริงในสถานประกอบการตาม

ระยะเวลาที่หลักสูตรประกาศษนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ. 2563 กําหนดใหฝกอาชีพไมนอยกวา

2 ภาคเรยี น จากภาคเรียน 4 ภาคเรยี น คือ ภาคเรยี นท่ี 3 และ 4 ตามหลกั สตู ร

การฝก งาน

การฝกปฏิบัติงานท่ีนักเรียนไดใชทักษะและเพ่ิมประสบการณ รวมไปถึงการพัฒนาตนเอง

เพ่ือเตรียมพรอมสําหรับการทํางานโดยนําความรูจากภาคทฤษฏีไปสูการฝกภาคปฏิบัติจริงในสถาน

ประกอบการตามระยะเวลาทห่ี ลักสูตรประกาศษนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ. 2562 กําหนด สถานศึกษาจัดให

มีการฝก ประสบการณสมรรถนะวิชาชพี ในสถานประกอบการ แหลง วทิ ยาการรัฐวสิ าหกิจหรือหนวยงานของรัฐ

ในภาคเรียนที่ 5 และหรือภาคเรียนที่ 6 ของหลักสูตรโดยใชเวลารวมไมนอยกวา 320 ช่ัวโมง กําหนดใหมี

คา เทา กบั ๔ หนวยกติ

การประเมนิ ผลการฝก ประสบการณทกั ษะวิชาชพี และฝกอาชพี

ดําเนินการประเมินผลจากการฝกปฏิบัติงานในสถานประกอบการเปนรายวิชาซึ่งประกอบดวยดาน

ความรู ดานทกั ษะ และดานเจตคติ ครฝู ก หรอื ครผู คู วบคุมการฝกและครูนิเทศรวมกันกําหนด การประเมินผล

(เชน สัดสวนการใหคะแนนระหวางสถานประกอบการและสถานศึกษา วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน

เกณฑการใหคะแนน ชวงเวลาทีป่ ระเมิน และอน่ื ๆ)

การใหคะแนนระหวางสถานประกอบการและสถานศึกษา

คะแนนเตม็ 100 คะแนน ประกอบดว ย คะแนน ดังน้ี

สถานประกอบการ 70 คะแนน

ครนู ิเทศ 10 คะแนน

สมุดบนั ทึกการฝกงาน 10 คะแนน

การนาํ เสนอและรายงาน 10 คะแนน

คูมือนกั เรียน นกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2565 | 31

ข้นั ตอนการฝก งาน

คมู ือนักเรยี น นักศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 32

งานหองสมุด

.

คมู อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2565 | 33

งานแนะแนวอาชีพและการจดั หางาน

แนวทางการกูยืมเงนิ กองทนุ เงนิ ใหกยู ืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) ปก ารศกึ ษา 2565
ตามทไ่ี ดมสี ถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเช้อื COVID-19 ซง่ึ คณะกรรมการโรคติดตอแหงชาติ
ประกาศใหเปนโรคติดตออันตราย เพ่ือปองกันการแพรระบาดของการติดเช้ือ COVID-19 และใหสอดคลอง
กบั การประกาศสถานการณฉุกเฉินสืบเนื่องจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 นั้นกองทุนเงิน
ใหก ยู มื เพื่อการศึกษา มแี นวทางการใหกูยืม ปก ารศึกษา 2565 ดังน้ี

คมู ือนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปก ารศึกษา 2565 | 34

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 35

ภาคผนวก ก

โครงสรางหลกั สูตรหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562
โครงสรา งหลกั สตู รหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) และปวส.ภาคสมทบ พุทธศกั ราช 2563

คูม อื นักเรยี น นักศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 36

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 37

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 38

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 39

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 40

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 41

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 42

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 43

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 44

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 45

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 46

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 47

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 48

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 49

คมู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2565 | 50


Click to View FlipBook Version