The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chom Pu, 2022-12-08 22:42:41

การพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ

โครงการสายใยครอบครัว

วชิ าการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผู้สงู อายุ

นางสาวอาภสั รา คล่องแคลว้ 6340308132

สารบัญ 1

หัวเร่อื ง หน้า
สารบัญ 1
บทที่ 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกับผูส้ ูงอายุ 2
2
ความเป็นมา/นิยาม/ความหมาย 2
สถานการณ์ผู้สูงอายุในไทย 2
มมุ มองต่อผู้สูงอายขุ องสังคมไทย 2
ปรัชญาการพฒั นาผู้สงู อายุ 3
บทที่ 2 ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้องกบั ผู้สูงอายุ 3
ดา้ นชวี วทิ ยา 3
จิตวิทยาสงั คม 3
ด้านบุคลกิ ภาพ 4
บทที่ 3 การพฒั นาคุณภาพชีวติ 4
ความหมาย/ความสำคัญของการพฒั นาคุณภาพชวี ติ 4
องคป์ ระกอบการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 4
ตวั ชีวัดการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต 4
ความหมาย/ความสำคัญ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ สว 4
ปรชั ญาหลกั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ สว 4
องคป์ ระกอบการพฒั นาคุณภาพชีวติ สว 5
กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช) 5
ความหมาย 5
เก่ยี วขอ้ งมีความสมั พันธต์ ่อการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผู้สูงอายุ 5
กลมุ่ เปา้ หมายทจ่ี ะมีสทิ ธิ์เปน็ สมาชิก (กอช) 5
มีการดำเนนิ การอย่างไร 6
สวสั ดิการจากภาครัฐ 6
การเรียนรทู้ เ่ี กดิ จากเน้อื หาเก่ยี วกบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายอุ ย่างไร 7
โครงการสายใยครอบครัว

2

บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกยี่ วกับผูส้ ูงอายุ

“ผสู้ ูงอายุ” ไมไ่ ด้มีหลกั เกณฑ์ชัดเจนเปน็ สากล โดยท่วั ไปจะใชห้ ลักเกณฑ์ คือ
1.อายุตามปฏิทิน หรืออายุตามวัยเป็นตัวชี้วัดอายุตามจำนวนปีนับตั้งแต่เกิดเป็นเกณฑ์ท่ี

สามารถเปรียบเทียบการสงู อายขุ องบคุ คลได้ชดั เจนและเปน็ ทไี่ ด้รบั การยอมรบั มากว่าเกณฑอ์ ื่นๆ
2.อายุทางชวี วทิ ยา หรอื การเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาของรา่ งกาย หรอื เรยี กว่าอายุเชิงฟังก์ชั่น

หมายถึงอายุที่อธิบายจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและการเปลี่ยนแปลงทางสภาพจิตใจของ
บุคคล โดยภาพรวมหมายถึงด้านสุขภาพกายและสภาพจิตใจที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำ
บทบาทหน้าที่ของแตล่ ะบคุ คล

3. อายุทางสังคมหรือการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคม หมายถึงอายุของบุคคลที่อธิยายการ
เปลี่ยนแปลงสถานะและบทบาททางสังคม ของบคุ คลนั้นในสังคมทีอ่ าศัยอยู่ ซึ่งการเข้าสู่ผู้สูงอายุ
ในทางสังคมเกดิ สถานกาพการทำงานเปน็ วัยเกษยี ณอิสระจากการทำงานและเป็นวัยท่ีเริ่มมีปัญหา
ทางดา้ นสขุ ภาพความสามารถในการดำเนนิ กจิ กรรมต่างๆถดถอยลง
นิยามความหมาย ของคำว่าผู้สูงอายุในประเทศไทย มีมานับตั้งแต่สมัยอยุธยาอันเนื่องมาจาก
ระบบมลู นายไพร่ต้องสงั กัดมลู นาย เปน็ ไพร่สำหรับพระมหากษัตริยแ์ ละขุนนางเพ่ือใช้เป็นแรงงาน
ในการทำการเกษตร การก่อสรา้ ง โดยมกี ารกำหนดให้อายไุ พร่อย่รู ะหวา่ ง 18-60 ปี เมอ่ื อายุ 60 ปี
เริ่มมีสุขภาพเสื่อมถอดไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้สิ้นสุดการเป็นไพร่ และถือเป็นธรรมเนียม
ปฏบิ ตั ิมาจนกระท่งั ถงึ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ 1 ขยายอายุไพร่ออกไปเป็น 70 ปี เน่ืองจากต้อง
กำลังด้านทหารเปน็ จำนวนมาก
สถานการณข์ องผู้สูงอายุสังคมไทย

1.ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป
มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศหรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปีมากกว่าร้อยละ 7
ของประชากรทั้งประเทศ

2.ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 60ปีขึ้นไป
มากกว่าร้อยละ20 ของประชากรทั้งประเทศหรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 14
ของประชากรทั้งประเทศ แสดงวา่ ประเทศน้ันเขา้ สสู่ งั คมผ้สู ูงอายุโดยสมบูรณ์

3.ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป
มากกวา่ ร้อยละ 20 ของประชากรทงั้ ประเทศ แสดงวา่ ประเทศน้นั เขา้ ส่สู งั คมผูส้ ูงอายุอยา่ งเต็มที่

3

บทท่ี 2 ทฤษฎีท่เี ก่ยี วข้องกบั ผ้สู ูงอายุ

ทฤษฎีภาวะของผู้สูงอายุ คือ นักศาสนาและนักปราชญ์ต่างๆในอดีตมีความในใจและมีความ
พยายามอธิบายภาวะผสู้ ูงอายอุ ยู่เสมอตลอดระเวลา 3,000 ปีทผี่ า่ นมา ตอ่ มกี ารพัฒนาเป็นศาสตร์
ทางด้านการศึกษาความชราเรียกว่า “ชราภาพวิทยา” หมายถึง การศึกษาภาวะผู้สูงอายุซึ่งเป็น
กระบวนการของชีวิตที่ยืนยาวอันเกี่ยวข้องสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของปัจเจกบุคคลกับสิ่งแวดล้อม ที่มี
หลายด้าน เช่น ลักษณะทางาชีววิทยา (สนใจการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและสรีรวิทยาของ
ผู้สูงอายุ) จิตวิทยา (สนใจทางด้านอารมณ์ของผู้สูงอายุ)และสังคมวิทยา (สนใจบทบาท หน้าท่ี
และการปรบั ตัวของผู้สงู อายในสงั คม)มที ฤษฎีทอ่ี ธิบายภาวะ
1.ทฤษฎที างดา้ นชวี วทิ ยา เปน็ ทฤษฎที ่มี คี วามพยายามที่จะอธิบายสาเหตุของความชราภาพในเชิง
ชวี วทิ ยา ดงั น้ี

1.1 ทฤษฎพี ันธ์ุศาสตร์
1.2 ทฤษฎีเนือ้ เยือ้
1.3 ทฤษฎที ำลายตนเอง
1.4 ทฤษฎคี วามผิดพลาด
1.5 ทฤษฎอี นุมลู อิสระ
2.ทฤษฎที างดา้ นจิตวทิ ยาสังคม เป็นทฤษฎีทีก่ ล่าวถงึ จิตวทิ ยาสงั คมของผ้สู ูงอายุ มีดงั ต่อไปนี้
2.1 ทฤษฎีการถดถอย ทฤษฎีนี้เชื่อว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะค่อยๆถอดออกจากสังคม ทั้งในกลุ่ม
ผู้สูงอายุและกลุ่มคนในวยั
2.2 ทฤษฎีการทำกิจกรรม ทฤษฎีน้ีเช่ือว่าผูส้ ูงมีความสุขท้ังร่างกายและจิตใจ ซึ่งได้มาจากการมี
กิจกรรม
2.3 ทฤษฎีความต่อเน่ือง ทฤษฎีนี้เชื่อว่าผูส้ ูงอายุจะมีความสุขไดก้ ็ตอ่ เมื่อ ได้กระทำกจิ กรรมหรอื
ปฏิบัติตวั เช่นทีเ่ คยกระทำมากอ่ น บุคคลใดคุ้นเคยกับการอยรู่ ว่ มกบั คนหมู่
2.4 ทฤษฎขี องอริ กิ สัน ทฤษฎีนี้เชอื่ วา่ การพฒั นาด้านจติ วิทยาของผูส้ ูงอายุนั้นเป็นช่วงที่ผู้สูงอายุมี
ความรสู้ กึ ว่ามีคุณค่า มีความมัน่ คง หรอื ทอ้ แทห้ มดหวงั
2.5 ทฤษฎีของเพค ทฤษฎีนี้เชื่อว่าผู้สูงอายุวันต้น 55-75ปี และผู้สูงอายุตอนปลาย 75 ปีขึ้นไป
จะมีความแตกต่างกันทั้งลักษณะของนิสัยและปฏิสัมพันธ์ทางด้านจิตวิทยาสังคม เขาเชื่อว่า
ผูส้ งู อายมุ พี ฒั นาการ

4

3.ทฤษฎีทางด้านบุคลิกภาพ จำแนกบุคลกิ ลกั ษณะของผสู้ ูงอายุไว้ 5 ประเภท คอื
1.) บคุ ลิกของบคุ คลทีม่ ีวฒุ ิภาวะ
2.) บคุ ลกิ ลกั ษณะที่มีความแขง็ แกร่งดงั กอ่ นหิน
3.) บุคลิกลกั ษณะของความเปน็ มนุษย์หุม้ เกราะ
4,) บุคลกิ ที่เต็มไปดว้ ยความโกรธ
5.) บคุ ลิกภาพท่ีเกลียดตวั เอง

บทท่ี 3 การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
ความหมายของคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ สูงอายุตอนต้น (อายุ 60-69 ปี) สำหรับหลายคน
ช่วงนี้ คือจดุ สงู สุด ทัง้ ในดา้ นประสบการณ์ ภูมปิ ญั ญา และการคดิ วิเคราะห์เป็นช่วงท่ีพลังทางกาย
และสติปัญญายังกระฉับกระเฉงอยู่ ถ้าสถานการณ์ด้านอื่น เอื้ออํานวยผู้สูงอายุที่อยู่ในช่วงนี้
สามารถทำงานสร้างสรรคแ์ ก่ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมได้มากสำหรับบางคนช่วงนอ้ี าจจะยาวไป
ถงึ อายุ 70 ปี หรอื 80 ปี
ความสำคัญของคุณภาพชีวิต ความสำคัญของคุณภาพชีวติ วา่ คุณภาพชีวิตที่ดีนับเป็นสิ่งสำคัญ
และ เป็นจุดหมายปลายทางของบุคคล ชุมชนและประเทศชาติโดยส่วนรวม ประเทศใดหาก
ประชากรในชาติ โดยส่วนรวมด้อยคุณภาพ
เครื่องมือวดั คณุ ภาพชีวติ แบง่ เปน็ 4 ดา้ นคือ

1) ดา้ นสุขภาพกาย
2) ดา้ นจติ ใจ
3) ด้าน สมั พนั ธภาพทางสงั คม
4) ดา้ นสง่ิ แวดล้อม
องค์ประกอบของคณุ ภาพชีวติ ได้แบง่ องคป์ ระกอบของคุณภาพชวี ิตไว้ 6 ดา้ น
1.ด้านรา่ งกาย
2.ดา้ นจิตใจ
3.ดา้ นความสัมพันธ์ทางสังคม
4.ดา้ นสง่ิ แวดล้อม
5.ดา้ นระดบั ความเป็นอิสระของบคุ คล
6.ด้านความเชื่อสว่ นบคุ คล

5

4 องคป์ ระกอบ คอื
1. ดา้ นสขุ ภาพและหนา้ ท่ี
2. ดา้ นสงั คมและเศรษฐกิจ
3. ด้านจติ ใจและวญิ ญาณ
4. ด้านครอบครวั

กองทุนการออมแหง่ ชาติ (กอช)
ความหมาย เป็นกองทุนการออมเพื่อสั่งเสริมใหผ้ ู้ประกอบอาชีพอิสระหรืออยู่นอกระบบบำเหนจ็
บำนาญของรัฐไดอ้ อมเงินเพื่อใช้ในยามเกษยี ณโดยรัฐจะช่วยจ่ายสมทบในสว่ นหน่ึง
เกีย่ วขอ้ งมีความสมั พันธ์ต่อการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุ

• สำคัญในการลดความเหล่อื มลำ้ ในสงั คม
• สรา้ งหลักประกนั ท่มี ่นั คงในชวี ิตของประชากร
• สร้างความมน่ั คงของผู้สงู อายใุ หม้ ีรายได้ที่เพียงพอจนถงึ วยั เกษยี ณ
• เพิ่มความตระหนักเรื่องการออมเพื่อความมั่นคงในวัยเกษียณเป็นปัจจัยของความสำเร็จ

และเป็นรากฐานของการพฒั นาประเทศอย่างยัง่ ยนื
กลมุ่ เป้าหมายท่จี ะมีสทิ ธเิ์ ป็นสมาชกิ (กอช.)

• สัญชาติไทย
• อายุ 15-60 ปี
• ไม่อยู่ในบำเหน็จบำนาญภาครัฐหรือภาคเอกชน เช่น นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร พ่อคา้

แมค่ า้ วินมอเตอรไ์ ซค์ แท็กซี่
• ไมอ่ ยใู่ นกองทุนตามกฎหมายท่อี ืน่ ได้รับเงินสมทบจากรฐั หรือนายจา้ ง
มีการดำเนินการอยา่ งไรมี
• ธกส
• ธนาคารออมสิน
• ธนาคารอาคารสงเคราะห์
• ธนาคารกรงุ ไทย
• . แอป กอช

6

• สำนกั งานคล่งั จังหวัดท่ัวประเทศ
• ท่ีวา่ การอำเภอท่ัวไป
• สถาบันการเงนิ ชมุ ชนที่เขา้ ร่วม
สวัสดกิ ารจากภาครัฐ
• อายุ 15 -30 ปี 50% ของเงนิ สะสม 600 ตอ่ ปี
• อายุ 31-50 ปี 80% ขอเงินสะสม 960 ตอ่ ปี
• อายุ 81ปีข้นึ ไป 100% ของเงนิ สะสม 1,200 ต่อปี
• เริ่มออม 50 บาท
• สูงสดุ ปลี ะไมเ่ กิน 13,200 บาท

การเรยี นรทู้ เ่ี กิดจากเนอื้ หาเกย่ี วกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายอุ ย่างไร
➢ การตระหนักถึงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลให้ภาครัฐกําหนด
มาตรการเตรียมการรองรับให้การดูแลผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุเหล่านั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ยิ่งขึ้น โดยกําหนดยุทธศาสตร์ “การเตรียมความพร้อม สังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ” เป็น
หนึ่งใน ยุทธศาสตร์หลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสูงอายุตอนต้น (อายุ
60-69 ปี) สำหรับหลายคน ช่วงนี้ คือจุดสูงสุด ทั้งในด้านประสบการณ์ ภูมิปัญญา และ
การคิดวิเคราะห์เป็นช่วงที่พลังทางกายและสติปญั ญายงั กระฉบั กระเฉงอยู่ ถ้าสถานการณ์
ด้านอื่น เอื้ออํานวยผู้สูงอายุที่อยู่ในช่วงนี้สามารถทำงานสร้างสรรค์แก่ครอบครัว ชุมชน
และสังคมได้มากสำหรับบางคนช่วงนี้อาจจะยาวไปถึง อายุ 70 ปี หรือ 80 ปี ซึ่งมี
ความสำคัญของคุณภาพชีวิตว่า คุณภาพชีวิตที่ดีนับเป็นสิ่งสำคัญและ เป็นจุดหมาย
ปลายทางของบุคคล ชมุ ชนและประเทศชาตโิ ดยส่วนรวม ประเทศใดหากประชากรในชาติ
โดยส่วนรวมดอ้ ยคุณภาพ

7

โครงการสายใยครอบครวั
สายใยยายหลาน

ตลอดเวลาท่ีโทรศัพท์ไปหายาย ฉันได้เรียนรู้มากมายและรู้สึกดีทุกครั้งที่ได้กลับบ้าน ฉันรู้สึก
ถึงความรัก ความห่วงใยที่ยายมีให้ฉัน เวลาที่ฉันโทรศพั ท์กลับบ้านอันดับแรกที่เจอคอื ยายเป็นคน
ชอบทอผ้าถุงทำไปส่งกลุ่มสตรีที่เป้นกลุ่มทอผ้าถุง หรือ ทำไว้ใส่เองฉันรู้สึกว่าการที่ยายชอบทำใน
สิ่งที่ตัวเองชอบทำแล้วมีความสุขฉันก็คล้อยตามในสิ่งที่ยายชอบและเวลาที่คนในหมู่บ้านชวนไป
รับจ้างหรือไม่ยายก็ไปทำสวนของตัวเองหลังจากที่ไปทำสวนตัวเองมาก็บ่นว่าปวดหลัง ปวดเท้า
อาการจะเป็นลมบ้าง ฉันก็คิดในใจว่าจะไปทำทำไมใ่ นเหมือร่างกายยายไมแ่ ขง็ แรง เอาที่ยายทำไว
ไมเ่ ชน่ ทอผา้ เหมอื นทเี่ คยทำ อะไรท่คี ิดวา่ ยายทำแล้วยายไม่เหนือ่ ยยายทำไปเถอะ

นางสาวอาภสั รา คลอ่ งแคลว้ 6340308132


Click to View FlipBook Version