รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2563
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
โรงเรยี นวดั จันทรใ์ น
สำนกั งานเขตบางคอแหลม สงั กดั กรุงเทพมหานคร
คำนำ
ตามพระราชบญั ญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข้เพม่ิ เติม(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 ระบใุ ห้
หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการ
ประกันคุณภาพการศกึ ษาตอ้ งดำเนินอย่างต่อเนือ่ ง โดยจัดทำการเขียนรายงานการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา (SAR) ให้เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ที่ระบุให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด
พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ
ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
สถานศกึ ษาเปน็ ประจำทุกปี
เอกสารรายงานประจำปีของสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ บทสรุปของ
ผู้บริหารสถานศกึ ษาส่วนที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนท่ี 3
สรุปผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา และสว่ นท่ี 4 ภาคผนวก
โรงเรียนวัดจันทร์ในขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภายใน
และภายนอกสถานศึกษา ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
ฉบับนี้ และหวังว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเพื่อประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก จากสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป
สารบัญ
บทสรปุ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หนา้
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานสถานศกึ ษา 1
1.1 ข้อมลู ท่วั ไป
1.2 ประวตั โิ รงเรียนโดยยอ่ 1
1.3 แผนท่โี รงเรียน 2
1.4 วิสยั ทศั น์ 3
1.5 พันธกิจ 3
1.6 เป้าประสงค์ 3
1.7 อัตลกั ษณ์ 4
1.8 เอกลกั ษณ์ 4
1.9 อาคารสถานท่ี 4
1.10 แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน 5
1.11 แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น 5
1.12 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ 5
1.13 ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษา 5
1.14 ข้อมลู ผู้บริหาร 6
1.15 ขอ้ มลู บคุ ลากรของสถานศึกษา 6
1.16 ข้อมูลนกั เรยี น 7
1.17 งบประมาณของสถานศกึ ษา 7
1.18 ขอ้ มูลโครงสร้างหลักสตู รของสถานศึกษา 8
1.19 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563 9
1.20 ผลการประเมินคุณลกั ษณะองั พึงประสงค์ ปีการศึกษา 2563 12
1.21 ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ปกี ารศกึ ษา 2563 14
1.22 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2563 15
1.24 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) 17
1.25 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT) 17
1.26 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 (RT) 17
1.27 ผลงานดเี ดน่ 17
1.28 การปฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ/การดำเนนิ การทีส่ ามารถเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ไี ด้ (Best Practices) 18
สารบญั (ต่อ)
หน้า
ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน 19
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 20
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั 22
สว่ นที่ 3 สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการช่วยเหลือ
สรปุ ผลการประเมนิ 25
แนวทางการพฒั นาในอนาคต 27
ความต้องการและการชว่ ยเหลือ 27
ภาคผนวก
บทสรปุ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
สถานศึกษาได้การดำเนินการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้กำหนดมี
เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน คณะผู้บริหารเป็นแบบที่ดีขององค์กร
มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการบริหาร จัดการศึกษา กำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาการศึกษากรุงเทพมหานคร และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ใช้
กระบวนการบริหารที่มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษามีการจัดทำ
โครงสร้างการบริหารงาน มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน มีการมอบหมายงานอย่างชัดเจนมีการ
จัดทำโครงการ/กิจกรรมสอดรับกับมาตรฐานการศึกษา และมีการรายงานผลการปฏิบัติงานอย่าง
ตอ่ เนือ่ งและนำผลไปพัฒนาปรบั ปรุงสถานศกึ ษาผ่านวงจรคณุ ภาพ PDCA ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ี
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ ครบทุกกลุ่มสาระครบ
ชั้นเรียน มีการวัดผลประเมินผลครบกลุ่มเป้าหมายและนำไปใช้ได้จริง มุ่งส่งเสริมพัฒนาครูและ
บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพโดย
ส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมตรงตามความต้องการ และรายงานผลการอบรมให้ผู้บริหารได้รับทราบ
และขยายผลให้เพื่อนครูได้นำไปประยุกต์ใช้ ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ี
เอื้อต่อการจัดเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาจัดทำแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนทุกกลุ่ม
สาระ จัดหาคอมพวิ เตอร์และหนังสือเพ่ือให้นักเรยี นไดส้ ืบค้นอย่างเพียงพอ มกี ารนำนักเรียนไปเรียนรู้
นอกสถานศึกษาและชุมชนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ ปลอดภัยและมีการจัดทะเบียนการใช้
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและนอกสถานศึกษา บริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน
การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งานและเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนและอนุมัติในการจัดหาจากฝ่ายบริหาร คณะครูและบุคลากรใน
โรงเรียน
สถานศึกษามุ่งส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้
เป็นไปตามศักยภาพของนักเรียน โดยให้โอกาสกับนักเรียนได้ปรับปรุงและพัฒนาผลงานและ
ผลสัมฤทธิ์ให้พัฒนาเพิ่มขึ้น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่เพิ่มขึ้นทำให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและมี
แรงจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น และในการนิเทศการสอนพบว่าครูทุกท่านมีการใช้สื่อเทคโนโลยีใน
กระบวนการสอนเป็นส่วนใหญ่เน่ืองจากโรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้เทคโนโลยีของครู
โดยโรงเรียนมีการติดตั้งโปรเจคเตอร์ทุกสายชั้น ซึ่งการห้องเรียนที่อำนวยความสะดวกในการใช้สื่อ
เทคโนโลยีของครูทำให้ครูเกิดการจัดรูปแบบการสอนได้หลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนมีความสนใจใน
การเรียนมากขึ้นและทำให้ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, ผล
การประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และผลการประเมินความสามารถการอ่าน
ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 (RT) สงู กวา่ ระดับประเทศ
สถานศึกษามุ่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้สามารถอ่านออกและเขียนคล่องตามมาตรฐานการอ่าน
ในแต่ละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ รู้จักการวางแผน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลัก
ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหา
ความร้จู ากส่อื เทคโนโลยไี ด้ ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะไดว้ า่ ส่ิงไหนดี สำคญั
จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสงั คมทีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษ
ภัยของสิ่งเสพติดต่าง ๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมีประโยชน์ รักการออกกำลังกาย
นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละ 1 ประเภท ยอมรับในกติกาของกลุ่ม ของ
สถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่าง
บคุ คลและระหวา่ งวยั
สรุปจากผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพศึกษาตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษของ
สถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ดเี ยยี่ ม
๑
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานศึกษา
1.1 ขอ้ มูลท่วั ไป
ชอื่ โรงเรยี น วดั จันทรใ์ น สำนักงานเขตบางคอแหลม
ท่ีต้งั เลขที่ 449 ซ.เจรญิ กรุง 107 ถนนเจรญิ กรงุ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม
กรุงเทพมหานคร 10120
หมายเลขโทรศัพท:์ 02 2893733 หมายเลขโทรสาร: 022893733
Facebook: https://web.facebook.com/wajjannai
E-mail: [email protected]
เปิดสอนระดับชนั้ อนบุ าล 1 ถงึ ประถมศึกษาปที ี่ 6
ขนาดสถานศึกษา ขนาดกลาง
ปรัชญา สวุ ิชาโน ภวํโหติ : ผรู้ ดู้ ีเป็นผเู้ จรญิ
คำขวญั เรยี นดี มีวนิ ยั นำ้ ใจงาม
สปี ระจำโรงเรียน ฟา้ -นำ้ เงิน
1.2 ประวตั โิ รงเรียนโดยยอ่
วันที่ 15 ธันวาคม 2524 วัดจันทร์ใน โดยพระมหาบุญจันทร์ ท่านเจ้าอาวาสได้อนุญาตให้
กรุงเทพมหานคร ใช้ที่ดินของวัด เนื้อที่ 1 ไร่ 1 งาน 52 ตารางวา เพื่อจัดสร้างโรงเรียนวัดจันทร์ใน
ผทู้ ่ีเก่ยี วข้องกบั การกอ่ ตัง้ โรงเรยี นวัดจันทร์ในใน ปี พ.ศ. 2525 ไดแ้ ก่
1. พระมหาบญุ จนั ทร์ เจา้ อาวาสวดั จันทร์ใน
2. พระครูใบฎกี าจำปี ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวดั จันทรใ์ น
(ปจั จุบนั เป็นเจา้ อาวาสวัดจนั ทรใ์ น)
3. พล ร.อ.เทยี ม มกรานนท์ ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร
4. นายตรี ภวภตู านนท์ ผู้อำนวยการสำนกั การศกึ ษา
5. นายสมจิต สุคนธสวสั ด์ิ รองผูอ้ ำนวยการสำนักการศกึ ษา
6. วา่ ทร่ี ้อยตรีรักษา โภคาสถิตย์ หวั หนา้ เขตยานนาวา
7. นายสนิท สวสั ด์ิเสรี ศึกษาธกิ ารเขตยานนาวา
พ.ศ. 2524 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 5,050,000 บาท ก่อสร้าง
อาคารหลังแรกเปน็ ตึก 4 ช้ัน 15 หอ้ งเรียน
พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 154,000 บาท ก่อสร้างรั้ว
โรงเรยี นบนสันเขอื่ นเปน็ คอนกรตี ยาว 132 เมตร
พ.ศ. 2530 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 2,934,000 บาท ก่อสร้าง
อาคารหลังทีส่ องเช่ือมต่อกับอาคารแรกเปน็ ตึก 4 ชน้ั 10 ห้องเรียน
พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 2,210,000 บาท ก่อสร้าง
อาคารหลังที่สามเชื่อมต่อกับอาคารหลงั ที่หนึ่ง และสองเป็นตึก 4 ชั้น 6 ห้องเรียน พร้อมทั้งปรับปรุง
ห้องสมุด และห้องส้วมของนักเรียน
๒
พ.ศ. 2537 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 337,000 บาท ต่อเติมระเบียง
อาคารเรียน และปรับปรุงโรงอาหารเปน็ โครงเหลก็ หลังคามุงสงั กะสี
พ.ศ. 2542 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,278,000 บาท ปรับปรุง
ห้องน้ำครู และห้องน้ำนักเรียน ปรับพื้นอาคารเรียน พื้นโรงอาหาร ทาสีอาคารเรียน และเปลี่ยน
หน้าตา่ งห้องเรยี นทีช่ ำรุด
พ.ศ. 2543 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,210,000 บาท ปรับปรุง
ห้องโถง ห้องผู้บริหาร โดยปูกระเบื้อง ติดตั้งกันสาดอลูมิเนียม ปรับปรุงห้องโสตทัศนศึกษา ติดตั้ง
เครอ่ื งปรบั อากาศ จำนวน 6 เคร่อื ง และพดั ลมระบายอากาศ จำนวน 6 เครือ่ ง
พ.ศ. 2550 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,164,000 บาทสร้างห้อง
ส้วมนักเรียนชาย-หญิง 2 หลัง ปรับปรุงห้องส้วมครู ซ่อมที่ดื่มน้ำ ปรับปรุงห้องพักภารโรง พ.ศ.
2557 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 459,000 บาท ปรับปรุง โรงอาหาร ห้อง
เตรียมอาหารและห้องรับประทานอาหารครู และได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน
625,298 บาท ปรับปรุงระเบียงอาคาร 2 ชั้น 2-4, ปรับปรุงอ่างล้างมือ, ปรับปรุงพื้นสนาม
โรงเรียน, ติดฉากแบบผนังแผ่นพับพีวีซี ห้องประชุมชั้นล่าง อาคาร 2, ปรับปรุงหลังคาและฝ้าเพดาน
อาคาร 1 และ อาคาร 2
พ.ศ. 2558 ได้รับงบประมาณจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 529,954 บาท ปรับปรุง
หลังคาด้านข้างอาคารหนึ่ง ปรับปรุงห้องน้ำอาคาร 1 และอาคาร 3 สร้างป้ายชื่อโรงเรียน และได้รับ
งบประมาณจากกรุงเทพมหานครจำนวน 47,000 บาท ปรับปรุงหลังคาบริเวณทางเดินห้องน้ำ
นกั เรยี นชาย
1.3 แผนท่โี รงเรียน
รถประจำทางที่ผ่านปากซอย ไดแ้ ก่ สาย 1 , 15 , 18 , 85 , ปอ.22 , ปอ. 85 , ปอ.504
มรี ถโดยสารสองแถวสีแดง หมายเลข 1258 ประจำซอยจากปากซอยถงึ โรงเรยี น
๓
1.4 วิสยั ทศั น์
พัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรคู้ ่คู ณุ ธรรม สง่ เสรมิ มาตรฐานวชิ าชพี ครู จดั ระบบการประกันคุณภาพ
บริหารจัดการอยา่ งมสี ว่ นร่วม
1.5 พันธกิจ
๑. จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั และความตอ้ งการของชุมชน
๒. ส่งเสริมและพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ
กระบวนการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
ปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมศาสนาทต่ี นนบั ถอื และยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการสื่อสาร การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้
เทคโนโลยี มีทักษะชวี ิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสขุ นิสยั และรักการออกกำลังกาย
๕. สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมีความรกั ชาติ ยึดมั่นในวถิ ชี วี ิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
๖. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์และ
พฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะทำประโยชนเ์ พอ่ื สังคม และอยูใ่ นสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ
1.6 เป้าประสงค์
๑. ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น
๑.๑ ผู้เรียนมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๑.๒ ผู้เรียนมีคณุ ภาพมาตรฐานตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด
๑.๓ ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ และมวี นิ ยั
๑.๔ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ และคดิ แก้ปัญหา นำ
ความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน
๑.๕ ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายแขง็ แรงและสขุ ภาพจติ ที่ดี
๑.๖ ผู้เรียนศรัทธาการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมขุ
๑.๗ ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และรู้เท่าทันภัยจากเทคโนโลยี
๑.๘ ผู้เรียนภูมิใจในความเป็นไทย และร่วมใจอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์
สิ่งแวดลอ้ ม
๒. ด้านการบริหารจดั การ
๒.๑ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและบูรณาการหลักสูตรท้องถิ่นกรุงเทพ
ศกึ ษา หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา และหลกั สตู รอาเซยี นศกึ ษาใหเ้ ปน็ หลกั สูตรสถานศกึ ษา
๒.๒ บริหารจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ด้านข้อมลู สารสนเทศ
๒.๓ พัฒนาอาคารสถานที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ภายนอก
๔
๒.๔ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อสร้างความมั่นใจด้าน
คณุ ภาพการศึกษา
๒.๕ ส่งเสริมให้โรงเรยี นเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้
๓. ด้านครู
๓.๑ ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ี
สอดคล้องกับบรบิ ทและท้องถิน่
๓.๒ ครูจัดการเรยี นการสอนเน้นใหผ้ เู้ รยี นคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์
๓.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
๓.๔ ครนู ำผลการวิจยั ในชนั้ เรยี น มาใช้ในการแก้ปัญหาของผเู้ รียน
๓.๕ ครูมีทักษะในการสร้างแบบทดสอบวัดคุณลักษณะตามทฤษฎีของบลูม (ความรู้
ความจำ การนำไปใช้ การคดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ และการประเมินค่า)
๔. ด้านระบบการประกันคณุ ภาพภายในที่มีประสิทธิผล
๔.๑ วางระบบการจัดการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพ
ผู้เรียน
๔.๒ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนรับผิดและรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มี
คุณภาพได้มาตรฐาน
๔.๓ ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมีความม่นั ใจตอ่ คุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
1.7 อตั ลักษณ์
รกั การอ่าน
1.8 เอกลกั ษณ์
ไหวส้ วย
1.9 อาคารสถานท่ี จำนวน
2
ลำดับ ประเภท 1
1 หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ 1
2 ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 2
3 ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา 1
4 หอ้ งปฏบิ ัติการการงานอาชีพฯ 1
5 หอ้ งดนตรี 30
6 ห้องนาฏศลิ ป์
7 อน่ื ๆ
๕
1.10 แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ จำนวนครัง้ /ปี
200
ลำดับ แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น/ชอื่ แหล่งเรียนรู้ 200
1 หอ้ งสมุด 200
2 ห้องคอมพิวเตอร์ 200
3 หอ้ งวิทยาศาสตร์ 200
4 หอ้ งศิลปะ 100
5 ห้องการงานพ้ืนฐานอาชีพ 200
6 ห้องลูกเสือ 200
7 ห้องพลศกึ ษา 200
8 หอ้ งดนตรีสากล
9 ห้องดนตรี - นาฏศลิ ป์ไทย
1.11 แหล่งเรียนรูภ้ ายนอกโรงเรยี น สถติ ิการใช้ จำนวนครัง้ /ปี
100
ลำดบั แหลง่ เรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น/ชือ่ แหลง่ เรยี นรู้ 20
1 วดั จนั ทร์ใน 2
2 โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ์
3 สถานตี ำรวจนครบาลวดั พระยาไกร
1.12 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง
ลำดบั ชือ่ -สกลุ ผใู้ หค้ วามรู้ กจิ กรรมขนมไทย
1 คุณพยงค์ เตียวสวุ รรณ กิจกรรมขนมครก
2 นายสายนั ต์ ใจม่ัน
1.13 ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรอบสถานศกึ ษา
ลักษณะชมุ ชน
ชมุ ชนุ วัดจันทร์ใน ตัง้ อยู่ในเขตบางคอแหลม ซง่ึ เปน็ ชุมชนประเภทแออดั ประกาศเป็นชุมชน
ที่จัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครเมื่อปี 2536 ชุมชนตั้งอยู่ที่ ซ.เจริญกรุง 107 (ประดู่ 1) ถนน
เจรญิ กรุง แขวง บางคอแหลม สว่ นใหญย่ ้ายภูมิลำเนาเขา้ มาประกอบอาชพี ในกรุงเทพมหานคร
อาชพี ส่วนใหญ่ของผู้ปกครอง
อาชพี ส่วนใหญ่ ได้แก่ รับจา้ ง คา้ ขาย และอ่นื ๆ
ศาสนา/วฒั นธรรม/ประเพณี
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท แต่ก็มีศาสนาอิสลามอยู่มากตามแนว
ถนนเจริญกรงุ ชุมชนมีการอนุรักษ์ส่งเสริม เผยแพร่ ฟื้นฟู บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามตามเทศกาลต่าง ๆ เช่น วันสงกรานต์ วันขึ้นปีใหม่ วันสำคัญทาง
ศาสนา เปน็ ต้น
๖
1.14 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร ผู้อำนวยการโรงเรยี น
รองผอู้ ำนวยการ
1. นายกีรต์ิกิต ศรฤทธิ์
2. วา่ ท่รี ้อยตรกี ฤษณ์ แก้วชะอมุ่
1.15 ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา
1) จำนวนบคุ ลากร
บคุ ลากร ผู้บริหาร ครูผสู้ อน ลกู จา้ งประจำ ลกู จา้ ง เจา้ หนา้ ที่ อน่ื ๆ รวม
ชัว่ คราว ธุรการ 29
ปกี ารศึกษา 2563 2 19 5 210
2) วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ของบคุ ลากร
วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ปริญญา ปริญญา ปรญิ ญา ปวส. ปวช. อ่ืนๆ รวม
ของบคุ ลากร เอก โท ตรี 1 7 - 29
3.45 24.14 - 100
ปีการศกึ ษา 2563 - 6 15
คิดเปน็ รอ้ ยละ - 20.69 51.72
3) สาขาวิชาท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน
สาขาวชิ า จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน
ในแตล่ ะสาขาวชิ า (ชม./สปั ดาห)์
1. คณติ ศาสตร์ 2 20
2. บริหารการศกึ ษา 3 20
3. ดนตรสี ากล 1 20
4. คอมพิวเตอร์ 1 20
5. หตั ถกรรม (เซรามิกส)์ 1 22
6. ภาษาไทย 3 19
7. ภาษาอังกฤษ 2 20
8. นาฏศลิ ป์ 1 20
9. บรรณารกั ษ์ 1 25
10. วทิ ยาศาสตร์ 1 20
11. หลักสตู รและการสอน 1 20
12. สขุ ศกึ ษาและพละศึกษา 1 20
13. ปฐมวัย 3 25
14. อตุ สาหกรรมศลิ ป์ 1 20
๗
สาขาวชิ า จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู 1 คน
ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สปั ดาห)์
15. สงั คมศกึ ษา
16. การศกึ ษาพิเศษ 1 20
รวม 1 20
21
1.16 ข้อมูลนักเรยี น
จำนวนนักเรยี นปีการศกึ ษา 2563 รวม 392 คน
ปกี ารศกึ ษา/ ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563
ระดับชนั้
จำนวน ชาย หญิง รวม เฉลีย่ จำนวน ชาย หญิง รวม เฉล่ีย
หอ้ งเรียน ต่อห้อง หอ้ งเรยี น ตอ่ ห้อง
อนุบาล 1 2 20 21 41 21 2 18 18 36 18
อนุบาล 2 2 19 19 38 19 2 19 18 37 19
รวมระดับอนุบาล 4 39 40 79 20 4 37 36 73 19
ประถมศึกษาปที ่ี 1 2 33 27 60 30 2 24 24 48 24
ประถมศึกษาปที ี่ 2 2 21 23 44 22 2 33 27 60 30
ประถมศึกษาปีท่ี 3 2 25 29 54 27 2 26 26 52 26
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 2 30 24 54 27 2 24 31 55 28
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 2 25 27 52 26 2 26 24 50 25
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 2 23 28 51 26 2 26 28 54 27
รวมระดบั ประถม 12 157 158 315 27 12 159 160 319 27
ศึกษา
รวมท้ังหมด 16 196 198 394 25 16 196 196 392 25
1.17 งบประมาณของสถานศึกษา จำนวนเงนิ (บาท)
งบประมาณ 730,200.00
235,571.00
แผนการใชจ้ า่ ยเงินค่าจัดการเรยี นการสอน 184,510.00
แผนการใช้จา่ ยเงนิ คา่ หนงั สือเรยี น 139,010.00
แผนการใชจ้ า่ ยเงินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 136,740.00
แผนการใช้จ่ายเงนิ คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน
แผนการใช้จ่ายเงนิ ค่าเครื่องแบบนกั เรียน 1,426,031.00
รวม
๘
1.18 ขอ้ มลู โครงสร้างหลกั สูตรของสถานศึกษา
ระดบั ประถมศกึ ษา
กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กิจกรรม ป.1 เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ปี) ป.5 ป.6
ป.2 ป.3 ป.4
160 160
1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 160 160
120 120
1.1. ภาษาไทย 200 200 200 160 40 40
40 40
1.2. คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 40 40
40 40
1.3. วทิ ยาศาสตร์ 120 120 120 120 120 120
40 40
1.4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและ 40 40 40 40 760 760
วฒั นธรรม
40 40
1.5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40
1.6. ศิลปะ 40 40 40 40 40 40
1.7. การงานอาชีพและ 40 40 40 40 30 30
เทคโนโลยี 40 40
10 10
1.8. ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 120
120 120
1.9. ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) 840 840 840 760
2. รายวิชา/กจิ กรรมทีส่ ถานศกึ ษาจดั เพมิ่ เตมิ
2.1. องั กฤษเพือ่ การสือ่ สาร 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี น (เพิ่มเตมิ ) 40 40 40 40
3. กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
3.1. กจิ กรรมแนะแนวและ 40 40 40 40
ทักษะชวี ติ
3.2. กิจกรรมนกั เรียนลกู เสอื / 30 30 30 30
ยุวกาชาด
3.3. ชมรมตามความสนใจ 40 40 40 40
3.4. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและ 10 10 10 10
สาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี น (กิจกรรม 120 120 120 120
พฒั นาผู้เรยี น)
๙
กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ป.1 เวลาเรยี น (ชว่ั โมง/ปี)
ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร 40
4.1. ภาษาองั กฤษใน 40 40
ชีวติ ประจำวนั 40
4.2. ภาษาจีน 40 40 40 40
4.3. ธรรมศกึ ษา 40 40 40 40 40 40
4.4. ชีวติ ดีมสี ุข 40 40 40 40 40 40
4.5. ตา้ นทุจรติ ศึกษา 200 40 40 40 40 40
4.6. ร้องรำ ทำเพลง 1200 40 40 40 40 40
200 200 200 200 200
รวมเวลาเรยี น (อ่ืนๆ) 1200 1200 1120 1120 1120
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด
1.19 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563
ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนนกั เรียนท่มี ีผลการเรียนรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ที่
จำนวนท่ี นร. ทไ่ี ด้ ได้ระดบั 3 ขน้ึ
เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3
ข้นึ ไป ไป
1. ภาษาไทย 45 0 0 1 1 6 3 5 29 37 82.22
2. คณติ ศาสตร์ 45 0 0 1 3 0 1 6 34 41 91.11
3. วทิ ยาศาสตร์ 45 0 0 0 1 2 10 10 22 42 93.33
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 45 0 0 1 0 4 1 10 29 40 88.89
วฒั นธรรม
5. ประวตั ิศาสตรแ์ ละ 45 0 1 2 1 3 7 14 17 38 84.44
เทคโนโลยี
6. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 45 0 0 0 1 1 7 8 28 43 95.56
7. ศลิ ปะ 45 0 0 0 0 1 8 4 32 44 97.78
8. การงานอาชพี 45 0 0 0 0 1 6 14 24 44 97.78
9. ภาษาตา่ งประเทศ 45 0 0 0 4 4 15 8 14 37 82.22
จำนวนนักเรยี นท่มี คี วามสามารถในการเรยี นตอ่ ในระดบั ชั้นทสี่ งู ข้ึน 45 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
๑๐
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรียนรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ท่ี
จำนวนที่ นร. ทไ่ี ด้ ได้ระดับ 3
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3
ขน้ึ ไป ข้นึ ไป
1. ภาษาไทย 50 0 0 2 6 5 13 7 17 37 74.00
2. คณติ ศาสตร์ 50 0 0 10 2 7 13 7 11 31 62.00
3. วิทยาศาสตร์ 50 0 0 5 3 5 13 14 10 37 74.00
4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และ 50 0 0 0 3 9 12 14 12 38 76.00
วัฒนธรรม
5. ประวตั ิศาสตร์ 50 0 0 0 4 6 19 11 10 40 80.00
6. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 50 0 0 0 7 6 8 10 19 37 74.00
7. ศลิ ปะ 50 0 0 0 1 4 8 14 23 45 90.00
8. การงานอาชีพและ 50 0 0 0 0 2 5 13 30 48 96.00
เทคโนโลยี
9. ภาษาต่างประเทศ 50 0 0 0 9 10 11 9 11 31 62.00
จำนวนนักเรียนทมี่ คี วามสามารถในการเรยี นตอ่ ในระดบั ชน้ั ทส่ี ูงขน้ึ 50 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนนักเรียนทมี่ ีผลการเรยี นรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ที่
จำนวนที่ นร. ที่ได้ ไดร้ ะดบั 3
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3
ขึ้นไป ขึน้ ไป
1. ภาษาไทย 47 0 0 0 6 11 8 12 10 30 63.83
2. คณิตศาสตร์ 47 0 2 2 7 4 9 10 13 32 68.09
3. วิทยาศาสตร์ 47 0 0 1 7 8 10 11 10 31 65.96
4. สงั คมศึกษา ศาสนา และ 47 0 0 0 4 6 12 10 15 37 78.72
วัฒนธรรม
5. ประวตั ศิ าสตร์ 47 0 0 0 14 3 14 7 9 30 63.83
6. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 47 0 0 1 0 8 11 1 26 38 80.85
7. ศลิ ปะ 47 0 0 0 0 6 14 9 18 41 87.23
8. การงานอาชพี และ 47 0 0 0 1 1 8 9 28 45 95.74
เทคโนโลยี
9. ภาษาตา่ งประเทศ 47 0 1 2 4 6 9 11 14 34 72.34
จำนวนนักเรยี นทม่ี ีความสามารถในการเรยี นต่อในระดบั ช้นั ทสี่ ูงข้นึ 47 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00
๑๑
ประถมศึกษาปีท่ี 4
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนนักเรียนทมี่ ีผลการเรียนรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ที่
จำนวนท่ี นร. ท่ีได้ ไดร้ ะดับ 3
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3
ขน้ึ ไป ข้ึนไป
1. ภาษาไทย 49 0 0 5 7 7 9 12 9 30 61.22
2. คณติ ศาสตร์ 49 0 0 5 5 6 13 9 11 33 67.35
3. วทิ ยาศาสตร์ 49 0 0 1 6 11 15 8 8 31 63.27
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 49 0 0 0 4 13 14 10 8 32 65.31
วัฒนธรรม
5. ประวัติศาสตร์ 49 0 0 0 10 7 8 16 8 32 65.31
6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 49 0 0 2 7 2 11 13 14 38 77.55
7. ศิลปะ 49 0 0 0 0 5 11 8 25 44 89.80
8. การงานอาชีพและ 49 0 0 0 0 4 3 8 34 45 91.84
เทคโนโลยี
9. ภาษาต่างประเทศ 49 0 0 0 5 13 12 10 9 31 63.27
จำนวนนกั เรียนที่มคี วามสามารถในการเรยี นต่อในระดบั ชัน้ ทสี่ งู ข้ึน 49 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00
ประถมศึกษาปีท่ี 5
กล่มุ สาระการเรียนรู้ จำนวนนกั เรยี นที่มผี ลการเรียนรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ที่
จำนวนที่ นร. ทไี่ ด้ ไดร้ ะดบั 3
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3
ขึน้ ไป ขึน้ ไป
1. ภาษาไทย 44 1 0 3 2 8 14 9 7 30 68.18
2. คณติ ศาสตร์ 44 1 0 3 4 6 14 7 9 30 68.18
3. วิทยาศาสตร์ 44 1 0 0 4 8 18 9 4 31 70.45
4. สงั คมศึกษา ศาสนา และ 44 1 0 0 8 6 12 7 10 29 65.91
วัฒนธรรม
5. ประวัติศาสตร์ 44 1 0 0 8 5 14 10 6 30 68.18
6. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 44 1 0 5 4 4 3 16 11 30 68.18
7. ศลิ ปะ 44 1 0 0 1 12 5 8 17 30 68.18
8. การงานอาชพี และ 44 1 0 0 0 2 4 2 35 41 93.18
เทคโนโลยี
9. ภาษาต่างประเทศ 44 1 0 0 6 8 10 11 8 29 65.91
จำนวนนกั เรยี นท่มี ีความสามารถในการเรยี นต่อในระดบั ช้นั ทสี่ งู ขึ้น 43 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.73
๑๒
ประถมศึกษาปีที่ 6
กลุม่ สาระการเรียนรู้ จำนวนนกั เรียนที่มีผลการเรยี นรู้ จำนวน ร้อยละ นร. ท่ี
จำนวนที่ นร. ท่ีได้ ไดร้ ะดบั 3
เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3
ข้นึ ไป ขนึ้ ไป
1. ภาษาไทย 53 0 0 0 3 13 15 11 11 37 69.81
2. คณติ ศาสตร์ 53 0 2 0 7 7 11 14 12 37 69.81
3. วิทยาศาสตร์ 53 0 0 3 5 4 16 14 11 41 77.36
4. สังคมศึกษา ศาสนา และ 53 0 0 0 0 17 11 10 15 36 67.92
วัฒนธรรม
5. ประวัติศาสตร์ 53 0 0 0 10 10 19 10 4 33 62.26
6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 53 0 0 1 0 3 6 26 17 49 92.45
7. ศลิ ปะ 53 0 0 0 1 1 5 12 34 51 96.23
8. การงานอาชีพและ 53 0 0 0 0 0 2 7 44 53 100.00
เทคโนโลยี
9. ภาษาตา่ งประเทศ 53 0 0 0 10 6 16 7 14 37 69.81
จำนวนนกั เรยี นทมี่ คี วามสามารถในการเรยี นต่อในระดบั ชน้ั ทส่ี งู ขนึ้ 53 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00
1.20 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ประถมศึกษาปที ่ี 1
คณุ ลักษณะ จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ร้อยละ
ดี ผา่ น ไม่ผ่าน ข้นึ ไป
อนั พึงประสงค์ นักเรียน ดเี ยย่ี ม 00
45 00
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 45 45 00 0 45 100.00
45 00
2. ซ่อื สัตยส์ จุ รติ 45 45 00 0 45 100.00
45 20
3. มีวนิ ัย 45 43 00 0 45 100.00
45 00
4. ใฝเ่ รียนรู้ 45 45 0 45 100.00
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 45 0 45 100.00
6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 45 0 45 100.00
7. รักความเป็นไทย 45 0 45 100.00
8. มีจติ สาธารณะ 45 0 45 100.00
๑๓
ประถมศกึ ษาปีที่ 2
คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน ดเี ย่ียม ผลการประเมนิ ระดับผา่ น รอ้ ยละ
พึงประสงค์ นักเรยี น 50 ดี ผ่าน ไม่ผา่ น ขึ้นไป
50 00
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 50 50 00 0 50 100.00
50 00
2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ 50 50 00 0 50 100.00
50 00
3. มวี ินยั 50 50 00 0 50 100.00
50 00
4. ใฝ่เรยี นรู้ 50 00 0 50 100.00
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 50 ผลการประเมนิ 0 50 100.00
ดี ผ่าน
6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 50 00 0 50 100.00
00
7. รกั ความเป็นไทย 50 00 0 50 100.00
31
8. มจี ิตสาธารณะ 50 00 0 50 100.00
31
ประถมศึกษาปีที่ 3 00
00
คณุ ลักษณะ จำนวน ดเี ยี่ยม ระดับผา่ น ร้อยละ
อนั พงึ ประสงค์ นักเรียน 47 ผลการประเมนิ ไม่ผ่าน ขึน้ ไป
47 ดี ผา่ น
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 47 47 00 0 47 100.00
43 10
2. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ 47 47 50 0 47 100.00
43 17 0
3. มีวนิ ยั 47 47 00 0 47 100.00
47 15 2
4. ใฝเ่ รียนรู้ 47 00 0 47 100.00
00
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 47 0 47 100.00
6. มุ่งม่ันในการทำงาน 47 0 47 100.00
7. รักความเปน็ ไทย 47 0 47 100.00
8. มจี ิตสาธารณะ 47 0 47 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
คณุ ลกั ษณะ จำนวน ดีเยี่ยม ระดบั ผ่าน รอ้ ยละ
อนั พึงประสงค์ นกั เรยี น 49 ไม่ผา่ น ข้นึ ไป
48
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 49 44 0 49 100.00
32
2. ซ่อื สัตย์สุจรติ 49 49 0 49 100.00
32
3. มีวนิ ยั 49 49 0 49 100.00
49
4. ใฝ่เรยี นรู้ 49 0 49 100.00
5. อยู่อย่างพอเพยี ง 49 0 49 100.00
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 49 0 49 100.00
7. รกั ความเปน็ ไทย 49 0 49 100.00
8. มีจติ สาธารณะ 49 0 49 100.00
๑๔
ประถมศึกษาปีท่ี 5
คุณลักษณะ จำนวน ดีเยย่ี ม ผลการประเมนิ ระดับผา่ น ร้อยละ
อนั พงึ ประสงค์ นักเรียน 44 ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ข้นึ ไป
44 00
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 44 20 00 0 44 100.00
17 24 0
2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ 44 44 26 1 0 44 100.00
18 00
3. มวี นิ ัย 44 44 25 1 0 44 100.00
44 00
4. ใฝเ่ รียนรู้ 44 00 0 44 100.00
5. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง 44 0 44 100.00
6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 44 0 44 100.00
7. รกั ความเปน็ ไทย 44 0 44 100.00
8. มจี ิตสาธารณะ 44 0 44 100.00
ประถมศึกษาปีท่ี 6
คุณลักษณะ จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น ร้อยละ
ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ขึน้ ไป
อันพึงประสงค์ นักเรยี น ดเี ยย่ี ม 00
53 00
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 53 53 00 0 53 100.00
53 20
2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ 53 51 00 0 53 100.00
53 20
3. มีวนิ ยั 53 51 00 0 53 100.00
53 00
4. ใฝเ่ รียนรู้ 53 53 0 53 100.00
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 53 0 53 100.00
6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 53 0 53 100.00
7. รักความเป็นไทย 53 0 53 100.00
8. มจี ิตสาธารณะ 53 0 53 100.00
1.21 ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
ระดบั ชัน้ จำนวน ดีเยย่ี ม ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ร้อยละ
นักเรยี น 29 ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน ขนึ้ ไป
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 24 97
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 45 39 18 8 0 45 100.00
ประถมศึกษาปีท่ี 3 50 10 71
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 47 17 34 5 0 50 100.00
ประถมศึกษาปที ี่ 5 49 4 17 10
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 44 44 3 0 47 100.00
51
0 49 100.00
0 44 100.00
0 51 100.00
๑๕
1.22 ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ปกี ารศกึ ษา 2563
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมนิ
ผ่าน ไมผ่ า่ น
กิจกรรม 45 0
24 0
1. แนะแนว 21 0
2. ลกู เสือ 45 0
3. ยวุ กาชาด 45 0
4. ชมุ นุม, ชมรม
5. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนกั เรียนท่ีผา่ นคิดเปน็ ร้อยละ 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 จำนวนนกั เรียนจำแนกตามผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผ่าน
กิจกรรม 50 0
29 0
1. แนะแนว 21 0
2. ลูกเสือ 50 0
3. ยุวกาชาด 50 0
4. ชมุ นุม, ชมรม
5. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนกั เรยี นท่ผี า่ นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00
ประถมศึกษาปที ี่ 3 จำนวนนักเรยี นจำแนกตามผลการประเมนิ
ผา่ น ไมผ่ ่าน
กิจกรรม 47 0
23 0
1. แนะแนว 24 0
2. ลกู เสอื 47 0
3. ยุวกาชาด 47 0
4. ชุมนุม, ชมรม
5. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนกั เรยี นที่ผา่ นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00
๑๖
ประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวนนักเรยี นจำแนกตามผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผา่ น
กจิ กรรม 49 0
25 0
1. แนะแนว 24 0
2. ลูกเสือ 49 0
3. ยุวกาชาด 49 0
4. ชุมนมุ , ชมรม
5. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนักเรียนที่ผา่ นคดิ เปน็ ร้อยละ 100.00
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จำนวนนักเรยี นจำแนกตามผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผา่ น
กิจกรรม 44 0
25 0
1. แนะแนว 19 0
2. ลกู เสอื 44 0
3. ยวุ กาชาด 44 0
4. ชมุ นุม, ชมรม
5. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนกั เรียนท่ีผา่ นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00
ประถมศึกษาปที ี่ 6 จำนวนนกั เรียนจำแนกตามผลการประเมนิ
ผ่าน ไม่ผา่ น
กจิ กรรม 53 0
23 0
1. แนะแนว 30 0
2. ลกู เสือ 53 0
3. ยุวกาชาด 53 0
4. ชุมนมุ , ชมรม
5. กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
จำนวนนกั เรียนทผ่ี า่ นคิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00
๑๗
1.23 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET)
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
รายวิชา 2561 2562 2563
ภาษาไทย 44.68 46.42 60.43
ภาษาองั กฤษ 31.91 29.55 46.30
คณิตศาสตร์ 29.79 33.90 37.83
วิทยาศาสตร์ 36.17 35.53 40.54
1.24 ผลประเมินคุณภาพผ้เู รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 (NT)
ปกี ารศกึ ษา ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ
53.00 ด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถท้ัง 2 ด้าน
2563 40.63
2562 46.03 37.16 45.09
2561 55.98 36.72 38.68
2560 45.40 34.54 39.80
2559 29.45 45.71
26.08 47.09
1.25 ผลประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รียน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 (RT)
ปี จำนวนนกั เรยี น ดมี าก ผลการประเมนิ ปรับปรุง
การศกึ ษา 34 ดี พอใช้ 0
42 92 3
2563 45 36 86 0
61
2562 59
2561 43
1.26 ผลงานดเี ดน่
- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปกี ารศึกษา 2563 ทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ คือ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ มคี ะแนนเฉลีย่ สงู กวา่ ระดบั สังกัดและระดบั ประเทศ
- ผลประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ด้านภาษาไทยและคณิตศาสตร์
รวมทงั้ 2 ดา้ น มีคะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดับประเทศ
- ผลประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ดา้ นการ
อา่ นออกเสียงและอา่ นรูเ้ รือ่ ง รวมท้งั 2 ด้าน มีคะแนนเฉลยี่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ
๑๘
1.27 การปฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ /การดำเนนิ การท่ีสามารถเป็นแบบอย่างทดี่ ีได้
(Best Practices)
ช่ือเร่อื ง เคร่อื งปน้ั ดนิ เผาจนั ทร์ใน
กระบวนการทำงาน
ขั้นท่ี 1 ประชมุ วางแผนกำหนดกจิ กรรม
ข้ันที่ 2 แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งาน
ขน้ั ที่ 3 ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามแผนการปฏิบตั งิ าน
ข้นั ท่ี 4 ติดตามประเมนิ ผลเป็นระยะ
ผลจากการปฏิบัติ
1. นักเรียนโรงเรียนวัดจันทร์ในมีความรู้ เรื่อง เครื่องปั้นดินเผากระบวนการผลิตและจัด
จำหนา่ ย ร้อยละ 100
2. นักเรียนไดร้ บั ความรู้จากการเรียนเคร่อื งปัน้ ดินเผา และจัดจำหน่าย
๑๙
สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน
1. ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม
2. วิธกี ารพฒั นา/ผลท่ีเกดิ จากการพัฒนา ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์
ท่สี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
2.1. แผนการดำเนินการและกระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป
ตามศักยภาพของผู้เรียนและเปน็ ไปตามมาตรฐานและตวั ชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรูท้ ้ังรูปแบบระดมสมอง แบบลงมอื ปฏิบัติจริง แบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออก
ของผเู้ รยี นเปน็ เรือ่ งสำคัญทีส่ ดุ โดยมุง่ พฒั นาใหผ้ เู้ รียนทกุ คนอ่านออกและเขียนไดต้ ้ังแตร่ ะดับชัน้ ป.1
พัฒนาครูทุกคนให้ความสามารถในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน ใช้ส่ือ
เทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอน มแี หลง่ เรยี นรู้และแหลง่ สืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ครูในสาย
ชั้นเดียวกันร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศการเรียนรู้อย่างเป็นกัลยาณมิตร การวดั
และประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน สถานศึกษา
ได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้ นการ
พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของผู้บริหารเรื่อง “อิ่ม
ท้อง สมองดี มีวินัย ปลอดภัย โตไปไม่โกง สร้างภูมิคุม้ กัน และรู้เท่าทันสื่อและสิง่ ไมพ่ ึงประสงค”์ โดย
การจัดกิจกรรมด้านคุณธรรมให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น และจัดค่ายคุณธรรมกับนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 และ 6 จดั กจิ กรรมพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับวัย พฒั นาคณุ ธรรมผเู้ รียนตามหลักสูตร
โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมีวนิ ัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจติ สาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการ
ดูแลสุขภาวะจิต นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรู้ใน
โลกกว้าง การนำภูมิปัญญาในชุมชุนรอบ ๆ สถานศึกษาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย และกิจกรรมชมรม เช่น การเล่านิทาน และ
แสดงบทบาทสมมติ ดนตรีสากล นาฏศลิ ป์ กีฬาฟตุ ซอล หมากกระดาน เป็นต้น
2.2. ผลการดำเนินงานและการบรรลผุ ลสำเรจ็
ในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและเขียนคล่องตาม
มาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับชั้น สามารถเขียนส่ือสารได้ รู้จักการวางแผน สามารถทำงานร่วมกับ
ผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้น
ข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะ
ได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และ
ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่าง ๆ ยอมรับในกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม
มีทศั นคติทดี่ ีตอ่ อาชพี สุจริต รวมถงึ มคี วามเขา้ ใจเร่อื งความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและระหว่างวยั
๒๐
3. จุดเดน่ จดุ ทคี่ วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ให้สงู ขนึ้
3.1. จดุ เดน่
ผู้เรียนอ่านหนังสือได้และอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ สามารถใช้
เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสุขกับการเรียน รักการแสดงออกอย่าง
สรา้ งสรรค์ มีความสามารถด้านดนตรี ศิลปะและกฬี าเปน็ ท่ีน่าภาคภูมใิ จ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี
6 ได้รับการส่งเสริมด้านการคิดวิเคราะห์ และตระหนักในเรื่องความรับผิดชอบการเรียนของตนเอง
ซึ่งส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (O-NET) อยู่ในระดับที่ดีขึ้น ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและ
น้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัย มนุษยสัมพันธ์ดี ยิ้มง่าย ไหว้สวย จนเป็นเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา
3.2. จุดทค่ี วรพฒั นา
ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านความกล้า
แสดงออกในการแสดงความคิดเห็น การนำเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง
สมเหตุสมผล และยังต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนใน
ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 ถึงประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ต้องส่งเสรมิ ดา้ นการคดิ วิเคราะห์ และตระหนักใน
เรื่องความรับผิดชอบการเรียนของตนเอง ซึ่งส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคะแนนเฉลี่ยผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) อยู่ในระดับที่ควรพัฒนาให้มีผลคะแนนอยู่
ในระดับทีด่ ขี ้ึนอย่างตอ่ เนอ่ื ง
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
2. วิธีการพฒั นา/ผลทเี่ กดิ จากการพัฒนา ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ี
สนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
2.1. แผนการดำเนนิ การและกระบวนการพฒั นา
1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน โรงเรียนมีการกำหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจอย่างชัดเจนและปฏิบัติได้จริง สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและชุมชนตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล และต้นสังกัดโดย แบ่งงานเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่าย
บรหิ ารงานวิชาการ ฝา่ ยบรหิ ารงานงบประมาณ ฝา่ ยบริหารงานบุคคล และฝ่ายบรหิ ารงานท่วั ไป
2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
คุณภาพของสถานศึกษา ดำเนินโครงการที่ส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาและได้รับความร่วมมือ
จากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันวางแผนพัฒนาคุณภาพของ
โรงเรยี น และปรับปรุงการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนอื่ งและเปน็ ระบบ
3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนมีการพัฒนาวิชาการโดยการจัดการประชุมร่วมกันในการตรวจสอบ ทบทวน
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกปีการศึกษา เพื่อคุณภาพผู้เรียน
๒๑
ทั้งความรู้และคณุ ธรรม มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียนอยา่ งต่อเนื่อง มี
การนเิ ทศภายในโดยผูบ้ รหิ ารและเพื่อนครู
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โรงเรียนมีการส่งเสริมการพัฒนา
บุคลากรให้มีความรู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ครูเข้าร่วมการอบรมตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ
ทั้งในและนอกโรงเรียน ให้ครูได้ความรู้ และพัฒนาความสามารถ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งยังสนับสนุนครูที่มีคุณสมบัติครบตามกำหนดให้ขอเลื่อนหรือขอมี
วทิ ยฐานะตามเวลาและโอกาสทเ่ี หมาะสม
5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเออ้ื ต่อการจัดเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ โรงเรียนมี
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งในห้องเรียน บริเวณโรงเรียน ให้มีความสวยงามสะอาด
บรรยากาศวิชาการ ปลอดภัย โรงเรียนมีแผนงานและนโยบาย ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแล
สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในโรงเรียน เช่น ห้องเรียนมีการจัดมุมต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการ
เรยี นรู้ ห้องปฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ ตามความถนดั
6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนสนับสนุนส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนรู้ การทำเอกสารและ
นวัตกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน พร้อมส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้เรียนรู้พัฒนาเทคโนโลยี
อย่างสม่ำเสมอเพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียน มีการกำกับ ติดตาม และประสานงาน โดยใช้แอพพลิเคชั่น
ไลนแ์ ละ Face Book
2.2. ผลการดำเนนิ งานและการบรรลผุ ลสำเรจ็
1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน คณะผู้บริหารเป็นแบบที่ดี
ขององค์กร มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการบริหาร จัดการศึกษา กำหนด
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษากรุงเทพมหานคร และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและ
ทอ้ งถิ่น
2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษามีการจัดทำโครงสร้างการ
บริหารงาน มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน มีการมอบหมายงานอย่างชัดเจนมีการจัดทำโครงการ/
กิจกรรมสอดรับกับมาตรฐานการศึกษา และมีการรายงานผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและนำผล
ไปพฒั นาปรับปรงุ สถานศึกษาผา่ นวงจรคุณภาพ PDCA
3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังแผนการ
จัดการเรียนรู้ ครบทุกกลุ่มสาระครบชั้นเรียน มีการวัดผลประเมินผลครบกลุ่มเป้าหมายและนำไปใช้
ได้จรงิ
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความ
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพโดยส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมตรงตามความต้องการ และรายงานผลการ
อบรมใหผ้ ูบ้ ริหารได้รับทราบและขยายผลใหเ้ พือ่ นครไู ดน้ ำไปประยุกต์ใช้
5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
สถานศึกษาจัดทำแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนทุกกลุ่มสาระ จัดหาคอมพิวเตอร์และหนังสือ
เพื่อให้นักเรียนได้สืบค้นอย่างเพียงพอ มีการนำนักเรียนไปเรียนรู้นอกสถานศึกษาและชุมชนที่เอื้อต่อ
๒๒
การเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ ปลอดภัยและ มีการจัดทะเบียนการใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและนอก
สถานศึกษา
6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อยา่ งเพียงพอต่อ
ความต้องการใช้งานและเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนและอนมุ ัติในการ
จดั หาจากฝ่ายบรหิ าร คณะครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
3. จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดับใหส้ งู ข้ึน
3.1. จุดเดน่
1. สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารงานแบบมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
2. สถานศึกษาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ แบบ active learning ผู้บริหารมีการนิเทศการ
จดั การเรยี นรูค้ รคู รบทุกคน
3. สถานศึกษาวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ดี เพื่ออำนวยต่อการเรียนรู้ มี
แหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรียน ทัง้ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทส่ี ะอาด โดยใช้งบประมาณอยา่ งคุ้มค่า
4. โรงเรียนมีจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ ผ่าน LINE Facebook และ GOOGLE DRIVE มีการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ จัดทำ
เอกสารรายงานการสอนออนไลน์ แผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ และครูทุกคนจัดทำคลิปการ
สอนออนไลน์
3.2. จุดที่ควรพัฒนา
1. โรงเรียนควรส่งเสริมสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้เพียงพอต่อความ
ต้องการของครูผู้สอนและผูเ้ รยี น เพือ่ การศึกษาคน้ ควา้ หาความร้แู ละเกิดผลสมั ฤทธิ์มากย่ิงข้นึ
2. ครูทุกคนจัดทำคลิปการสอนและสื่อการสอนให้หลากหลาย มีการเผยแพร่ผลงานให้แก่
สาธารณะชนไดท้ ราบ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
1. ระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม
2. วิธีการพฒั นา/ผลท่เี กดิ จากการพฒั นา ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่
สนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง
2.1. แผนการดำเนินการและกระบวนการพัฒนา
โรงเรียนวัดจันทร์ในมีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของ
นักเรียนและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนและสมรรถนะนักเรียนตาม
ทักษะในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 โดยโรงเรียนมีการบริหารจัดการการเรียนการสอนและงานสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยโดยใช้
กระบวนการ PDCA ในการทำงาน โดยโรงเรียนมีการประชุมครูเพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ใน
รายวิชาที่ได้รับมอบหมายและนำหลักสูตรแกนกลางมาวิเคราะห์และจัดทำคำอธิบายรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ จากนั้นครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่
๒๓
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามกระบวนการ Active Learning และนำไปสอนตามรูปแบบและกระบวน
ตามที่แผนการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน โรงเรียนมีการติดตามผลโดยใช้กระบวนการนิเทศการศึกษา
ของผู้บริหารและครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และรายงานผลการนิเทศการศึกษาเพื่อให้ครูนำไป
ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป หลังจากนั้นครูจะบันทึกผลลงในบันทึกหลังสอน และนำ
ผลที่ได้มาพูดคุยกับครูผู้สอนในระดับชั้นเดียวกันหรือในรายวิชาเดียวกันและเข้าสู่กระบวนการ PLC
เพื่อแก้ไขปัญหา นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาเพื่อเป็นข้อมูลในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน
และในการประเมินหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้ครูมีการวัดและประเมินผลด้วยความยุติธรรมและ
หลากหลายตามสภาพจรงิ ของนกั เรียน
2.2. ผลการดำเนนิ งานและการบรรลผุ ลสำเร็จ
จากการที่ครูจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้เป็นไปตาม
ศกั ยภาพ ของนักเรียน โดยใหโ้ อกาสกบั นกั เรยี นได้ปรบั ปรงุ และพฒั นาผลงานและผลสมั ฤทธิ์ให้พัฒนา
เพิ่มขึ้น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่เพิ่มขึ้นทำให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและมีแรงจูงใจในการเรียน
เพิ่มขึ้น และในการนิเทศการสอนพบว่าครูทุกท่านมีการใช้สื่อเทคโนโลยีในกระบวนการสอนเป็นส่วน
ใหญ่เนื่องจากโรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้เทคโนโลยีของครู โดยโรงเรียนมีการติดต้ัง
โปรเจคเตอร์ทุกสายชั้น ซึ่งการห้องเรียนที่อำนวยความสะดวกในการใช้สื่อเทคโนโลยีของครูทำให้ครู
เกิดการจัดรูปแบบการสอนได้หลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้นและทำ
ให้ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, ผลการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน(NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และผลการประเมินความสามารถการอ่านของนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 (RT) สูงกวา่ ระดบั ประเทศ
3. จุดเด่น จุดทีค่ วรพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับให้สูงข้นึ
3.1. จดุ เดน่
1. หลักสตู รสถานศกึ ษาไดร้ บั การรับรองจากคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
2. ครูมีความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอน สอนตรงตามสาขาวชิ าทจ่ี บ
3. ครูมคี วามชำนาญและมีประสบการณใ์ นการจัดการเรียนการสอน
4. ครมู กี ารวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นและการแก้ปญั หาโดยกระบวนการ PLC
5. โรงเรียนมีห้องปฏิบัติการ สถานที่ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้ และ
ทกั ษะ การเรียนรู้ ตามหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
3.2. จดุ ทคี่ วรพฒั นา
1. นำการเรียนการสอนในรปู แบบสะเตม็ ศกึ ษามาใชใ้ นการเรยี นการสอนให้มากข้นึ
๒๔
สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปีการศกึ ษา 2563
มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา ระดบั คณุ ภาพ
สรุปภาพรวมของสถานศกึ ษา ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ยอดเยย่ี ม
1.1. ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน ยอดเยี่ยม
1.2. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน ยอดเย่ียม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเย่ียม
2.1. มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ยอดเยี่ยม
2.2. มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
2.3. ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู ร ยอดเยย่ี ม
สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4. พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยย่ี ม
2.5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี อื้อต่อการจัดเรียนรอู้ ย่างมี ยอดเยยี่ ม
คุณภาพ
2.6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและการ ยอดเยี่ยม
จดั การเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ยอดเย่ียม
3.1. จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไป ยอดเย่ยี ม
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้
3.2. ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม
3.3. มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก ยอดเยี่ยม
3.4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน ยอดเยย่ี ม
3.5. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพอื่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การ ยอดเยยี่ ม
จัดการเรยี นรู้
๒๕
ส่วนที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการ
ชว่ ยเหลอื
สรปุ ผลผลการประเมนิ
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป
ตามศักยภาพของผูเ้ รียนและเปน็ ไปตามมาตรฐานและตวั ชีว้ ัดของหลกั สตู ร มีการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ทเี่ หมาะสมกับผู้เรียน โดยมกี ารจัดการเรียนรทู้ ้ังรปู แบบระดมสมอง แบบลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง แบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออก
ของผเู้ รียนเปน็ เรอื่ งสำคัญท่ีสดุ โดยมุ่งพัฒนาใหผ้ ู้เรียนทุกคนอา่ นออกและเขียนไดต้ ั้งแตร่ ะดับชัน้ ป.1
พัฒนาครูทุกคนให้ความสามารถในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน ใช้ส่ือ
เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน มแี หลง่ เรยี นรู้และแหล่งสืบคน้ ข้อมลู ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด ครใู นสาย
ชั้นเดียวกันร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศการเรียนรู้อย่างเป็นกัลยาณมิตร การวัด
และประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน สถานศึกษา
ได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการ
พัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของผู้บริหารเรื่อง “อิ่ม
ท้อง สมองดี มีวินัย ปลอดภัย โตไปไม่โกง สร้างภูมิคุ้มกัน และรู้เท่าทนั สื่อและสิง่ ไม่พึงประสงค”์ โดย
การจัดกิจกรรมด้านคุณธรรมให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น และจัดค่ายคุณธรรมกับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ 5 และ 6 จดั กิจกรรมพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พฒั นาคณุ ธรรมผ้เู รียนตามหลักสูตร
โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจติ สาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการ
ดูแลสุขภาวะจิต นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรู้ใน
โลกกว้าง การนำภูมิปัญญาในชุมชุนรอบ ๆ สถานศึกษาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย และกิจกรรมชมรม เช่น การเล่านิทาน และ
แสดงบทบาทสมมติ ดนตรสี ากล นาฏศิลป์ กฬี าฟตุ ซอล หมากกระดาน เป็นต้น
สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
โรงเรียนมีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจอย่างชัดเจนและปฏิบัติได้จริง สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษาและชมุ ชนตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบายของรฐั บาล และตน้ สงั กัดโดย แบ่งงานเปน็
4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่าย
บริหารงานทั่วไป มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนมีการพัฒนาระบบบริหาร
จัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดำเนินโครงการที่ส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาและได้รับความ
ร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ของโรงเรียน และปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างต่อเนือ่ งและเป็นระบบ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ี
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนมีการพัฒนา
วิชาการโดยการจัดการประชุมร่วมกันในการตรวจสอบ ทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ุกปีการศกึ ษา เพื่อคุณภาพผูเ้ รียนทั้งความรู้และคุณธรรม มีการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง มีการนิเทศภายในโดยผู้บริหาร
และเพื่อนครู พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โรงเรียนมีการส่งเสริมการพฒั นา
๒๖
บุคลากรให้มีความรู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ครูเข้าร่วมการอบรมตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ
ทั้งในและนอกโรงเรียน ให้ครูได้ความรู้ และพัฒนาความสามารถ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งยังสนับสนุนครูที่มีคุณสมบัติครบตามกำหนดให้ขอเลื่อนหรือขอมี
วิทยฐานะตามเวลาและโอกาสที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัด
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งในห้องเรียน บริเวณโรงเรียน
ให้มีความสวยงามสะอาด บรรยากาศวิชาการ ปลอดภัย โรงเรียนมีแผนงานและนโยบาย ให้ทุกคนมี
ส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในโรงเรียน เช่น ห้องเรียนมีการจัดมุมต่าง
ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ตามความถนัด จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนสนับสนุนส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีท่ี
ทันสมัยในการจัดการเรียนรู้ การทำเอกสารและนวัตกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน พร้อม
ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละผเู้ รยี นได้เรียนร้พู ฒั นาเทคโนโลยีอย่างสมำ่ เสมอเพ่ือประโยชนแ์ ก่ผู้เรียน มีการกำกับ
ตดิ ตาม และประสานงาน โดยใช้แอพพลเิ คช่ันไลน์และ Face Book
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปตามศักยภาพของนักเรียน
และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนและสมรรถนะนักเรียนตามทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดย
โรงเรียนมีการบริหารจัดการการเรียนการสอนและงานสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยโดยใช้กระบวน การ
PDCA ในการทำงาน โดยโรงเรียนมีการประชุมครูเพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่ได้รับ
มอบหมายและนำหลักสูตรแกนกลางมาวิเคราะห์และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ จากน้นั ครูจัดทำแผนการจดั การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ตามกระบวนการ Active Learning และนำไปสอนตามรูปแบบและกระบวนตามที่แผนการจัดการ
เรียนรูใ้ นหอ้ งเรียน โรงเรยี นมีการตดิ ตามผลโดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาของผู้บริหารและครูใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรายงานผลการนิเทศการศึกษาเพื่อให้ครูนำไปปรับปรุงและพัฒนาการเรียน
การสอนต่อไป หลังจากนั้นครูจะบันทึกผลลงในบันทึกหลังสอน และนำผลที่ได้มาพูดคุยกับครูผู้สอน
ในระดับชั้นเดียวกันหรือในรายวิชาเดียวกันและเข้าสู่กระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหา นำไปสู่การ
ปรับปรุงและพัฒนาเพื่อเป็นข้อมูลในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน และในการประเมินหลังจาก
จบหน่วยการเรียนรู้ครูมีการวัดและประเมินผลด้วยความยุติธรรมและหลากหลายตามสภาพจริงของ
นกั เรยี น
๒๗
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
1. ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึง ประถมศึกษาปีที่ 3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านความ
กล้าแสดงออกในการแสดงความคิดเห็น การนำเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง
สมเหตุสมผล และยังต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง ประถมศึกษาปีที่ 6 ต้องส่งเสริมด้านการคิดวิเคราะห์ และตระหนัก
ในเรื่องความรับผิดชอบการเรียนของตนเอง ซ่ึงส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคะแนนเฉล่ีย
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) อยู่ในระดับที่ควรพัฒนาให้มีผลคะแนน
อยใู่ นระดับที่ดีข้นึ อย่างตอ่ เนือ่ ง
2. โรงเรียนควรส่งเสริมการผลิตสื่อการเรียนรู้และพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
สมัยใหม่ ให้เพียงพอต่อความต้องการของครูผู้สอนและผู้เรียน เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และ
เกิดผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น ครูทุกคนจัดทำคลิปการสอนและสื่อการสอนให้หลากหลาย มีการเผยแพร่
ผลงานให้แก่สาธารณะชนได้ทราบ นำการเรียนการสอนในรูปแบบสะเต็มศึกษามาใช้ในการเรียนการ
สอนให้มากขน้ึ
ความต้องการและการชว่ ยเหลือ
1. พฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรให้มีความร้คู วามสามารถ และทกั ษะกระบวนการในการ
จัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
2. การฝึกอบรมใหข้ า้ ราชการครูและบคุ ลากรมคี วามรู้ และทกั ษะในด้านการเรียนการสอน
ออนไลน์ การใช้เทคโนโลยที ่ีทนั สมัยตามความสนใจ ความตอ้ งการของครูผสู้ อน
3. พัฒนาระบบอินเทอรเ์ น็ต เทคโนโลยกี ารเรียนการสอนท่ใี ชต้ ่อการเรยี นการสอนออนไลน์
ภาคผนวก
คำส่งั โรงเรยี นวัดจันทรใ์ น
ที่ 19 / ๒๕64
เร่อื ง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ การประกันคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา การศึกษา 2563
เพ่อื ให้การดำเนินงานการประกนั คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ปีการศกึ ษา 2563 เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ จงึ ขอ
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน ดังต่อไปน้ี
๑. คณะกรรมการทปี่ รึกษา มีหน้าท่ี ใหค้ ำปรกึ ษาและเสนอแนะการดำเนนิ งาน ประกอบดว้ ย
๑.๑ นายกรี ตกิ์ ิต ศรฤทธ์ิ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ประธาน
1.2 ว่าทีร่ อ้ ยตรีกฤษณ์ แก้วชอุม่ รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา รองประธาน
๑.3 นายอดุ ม โคตรภธู ร หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป กรรมการ
๑.4 นางสาวอุทมุ พร อม่ิ สวา่ ง หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารงานบคุ คล กรรมการ
๑.5 นางสาวองั สนา วิมกุ ตะลพ หวั หน้าฝ่ายบริหารงบประมาณ กรรมการ
๑.6 นายสายนั ต์ บุตรสอน หัวหน้าฝา่ ยบริหารวิชาการ กรรมการและเลขานกุ าร
๒. คณะกรรมการประเมนิ มหี น้าทีเ่ ตรียมเอกสารตา่ งๆท่ีสอดคล้องกับตวั ช้วี ดั และดำเนนิ การ
ประเมินรวบรวมขอ้ มลู ผลการประเมินนำสง่ ฝ่ายรวบรวมจัดทำรูปเลม่ ประกอบด้วย
2.1 มาตรฐานระดับปฐมวัย
นายกรี ติก์ ิต ศรฤทธ์ิ ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา ทปี่ รกึ ษา
มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา มีจำนวน 3
มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคญั
2.1.1 นางสาววาสนา งามแกว้ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ ประธาน
2.1.2 นางสาวชนดิ าภา อินทรน์ าม ครูผ้ชู ว่ ย รองประธาน
2.1.3 นางปทั มา เทย่ี งธรรม พี่เล้ยี ง ส๒ กรรมการ
2.1.4 นางธันย์วรภา ทองคำ พี่เล้ยี ง ส๒ กรรมการ
2.1.5 นางสาวปราณี เบ็นเจะ๊ อาหวัง พี่เลย้ี ง ส๑ กรรมการ
2.1.6 นางปยิ ดา ทองประเสรฐิ พี่เลี้ยง กรรมการ
2.1.7 นางสาวมทนพร พิมเอ้กา ครู รับเงินเดอื นอนั ดับ คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร
/2.2 มาตรฐานการศกึ ษา...
2.2 มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
ว่าท่ีร้อยตรีกฤษณ์ แกว้ ชะอุ่ม รองผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ท่ปี รึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
นางสาวอทุ มุ พร อม่ิ สวา่ ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ หวั หน้ามาตรฐาน
๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น
๑) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณ
- นางสาวอุทมุ พร อม่ิ สวา่ ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ผู้รับผดิ ชอบ
๒) ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความ
คิดเหน็ และแกป้ ญั หา
- นางสุนทรี เงนิ สง่ เสริม ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ผู้รบั ผดิ ชอบ
๓) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
- นางสาวอาภาพร ทักขทนิ ครูผ้ชู ว่ ย ผู้รับผดิ ชอบ
๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
- นางสาวชุติมา เกดิ สบาย ครู รบั เงนิ เดอื นอันดับ คศ.1 ผู้รบั ผดิ ชอบ
๕) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
- นายสายันต์ บุตรสอน ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ
๖) มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชพี
- นางสาวสายฝน ประกอบแสน ครู รบั เงินเดือนอนั ดบั คศ.1 ผู้รบั ผดิ ชอบ
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรยี น
- นายเดโชไชย ชา้ งอินทร์ครู รับเงนิ เดือนอนั ดบั คศ.1 หวั หน้า
ผู้รบั ผดิ ชอบ
๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด ผู้รบั ผดิ ชอบ
ผู้รบั ผดิ ชอบ
- นายเดโชไชย ช้างอินทร์ ครู รบั เงนิ เดอื นอนั ดบั คศ.1 ผรู้ บั ผดิ ชอบ
๒) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
- นางสาววาสนา แสนดี ครู รับเงินเดอื นอนั ดบั คศ.1
๓) การยอมรบั ท่จี ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
- นายสุรศกั ด์ิ สกลุ โพน ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม
- นางสาวนันทัชพร พวงศรี ครู รบั เงนิ เดอื นอันดับ คศ.1
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
วา่ ที่ร้อยตรีกฤษณ์ แกว้ ชะอุม่ รองผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา หัวหนา้
ผรู้ บั ผิดชอบ
มาตรฐาน
2.๑ มีเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน
- นางสาวนภาภรณ์ สกลุ ธนญชัย ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ
/๒.2 มรี ะบบบรหิ าร...
๒.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
- ว่าทรี่ อ้ ยตรีกฤษณ์ แกว้ ชะอมุ่ รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ผรู้ บั ผิดชอบ
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทกุ
กลมุ่ เป้าหมาย
- นางสาวอุทุมพร อม่ิ สวา่ ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ผู้รบั ผดิ ชอบ
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
- นายอภิชาต บุญตนั บตุ ร ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ผู้รับผดิ ชอบ
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
- นายอดุ ม โคตรภธู ร ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ผู้รบั ผดิ ชอบ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
- นางสาวกมลรัตน์ นว่ มสกนธ์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ผ้รู บั ผดิ ชอบ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
นางสาวองั สนา วมิ ุกตะลพ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ หวั หน้ามาตรฐาน
3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้
- นางสาวนนั ทชั พร พวงศรี ครู รับเงินเดอื นอันดบั คศ.1 ผูร้ ับผดิ ชอบ
3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ผรู้ บั ผิดชอบ
- นายอภิชาต บุญตนั บตุ ร ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก
- นางสาวแพรวพรรณ น้อยวัน ครผู ้ชู ว่ ย ผูร้ ับผดิ ชอบ
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น
- นางสาวองั สนา วิมุกตะลพ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ผรู้ ับผิดชอบ
3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
- นายสายนั ต์ บตุ รสอน ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ผู้รบั ผิดชอบ
3. คณะกรรมการฝา่ ยสรปุ และประเมนิ ผล มหี นา้ ที่ รวบรวมขอ้ มูลของแต่ละมาตรฐาน สรุปและ
ประเมินผล จดั ทำรปู เล่ม รายงานประจำปี (SAR online) ประกอบดว้ ย
3.1 วา่ ทรี่ ้อยตรีกฤษณ์ แกว้ ชอ่มุ รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ประธาน
3.2 นางสาวอังสนา วมิ กุ ตะลพ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ รองประธาน
3.3 นายสายนั ต์ บตุ รสอน ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ
3.4 นางสาวอทุ ุมพร อ่มิ สวา่ ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ กรรมการ
3.5 นางสาววาสนา งามแกว้ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ กรรมการ
3.6 นางสาวกมลรัตน์ น่วมสกนธ์ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ กรรมการ
3.7 นายเดโชไชย ช้างอนิ ทร์ ครู รบั เงินเดือนอนั ดบั คศ.1 กรรมการ
3.8 นางสาวมทนพร พมิ เอก้ า ครู รับเงนิ เดอื นอันดบั คศ.1 กรรมการ
3.9 นางสาวชตุ ิมา เกิดสบาย ครู รับเงนิ เดอื นอันดบั คศ.1 กรรมการและเลขานกุ าร
/4. คณะกรรมการ...
4. คณะกรรมการฝา่ ยจัดหอ้ งประเมินคุณภาพภายใน มีหนา้ ทจ่ี ัดวางเอกสารตามองคป์ ระกอบท้งั 3
ด้าน ให้ถกู ต้องชัดเจนและสวยงาม ประกอบดว้ ย
4.1 ว่าท่ีร้อยตรีกฤษณ์ แก้วชะอุม่ รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ประธาน
4.2 นายอุดม โคตรภูธร ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ รองประธาน
4.4 นางสาวนภาภรณ์ สกุลธนญชัย ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ กรรมการ
4.5 นายอภิชาต บญุ ตนั บุตร ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ กรรมการ
4.6 นายสรุ ศกั ด์ิ สกลุ โพน ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ กรรมการ
4.8 นางสาววาสนา แสนดี ครู รับเงินเดอื นอันดบั คศ.1 กรรมการ
4.9 นางสาวนันทชั พร พวงศรี ครู รับเงินเดือนอนั ดับ คศ.1 กรรมการ
4.10 นางสาวสายฝน ประกอบแสน ครู รบั เงินเดือนอนั ดับ คศ.1 กรรมการ
4.11 นางสาวชนดิ าภา อนิ ทรน์ าม ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการ
4.12 นางสาวอาภาพร ทกั ขทิน ครูผู้ช่วย กรรมการ
4.13 นางสาวแพรวพรรณ นอ้ ยวัน ครผู ูช้ ่วย กรรมการ
4.14 นางสุนทรี เงนิ ส่งเสรมิ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
และเลขานกุ าร
ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการทุกฝา่ ยปฏบิ ตั ิงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย ดำเนนิ การใหเ้ กิด
คุณภาพภายในท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ตงั้ แต่บดั น้เี ปน็ ต้นไป
ส่ัง ณ วันท่ี 9 เมษายน 2564
(นายกีรติ์กติ ศรฤทธ์)ิ
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นวัดจันทรใ์ น
ประกาศโรงเรยี นวัดจนั ทร์ใน
เรื่อง การใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
................................................................................................
ด้วยโรงเรียนวัดจันทร์ใน มีภารกิจจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 โดยใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
สถานศึกษา พ.ศ.2561 เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้
เพ่ือให้นักเรียนบรรลถุ ึงซึ่งคณุ ลกั ษณะตามท่ีหลกั สูตรกำหนด และเปน็ ไปตามเจตนารมณ์วัตถุประสงค์
การจัดการศึกษาของชาติพร้อมตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง และเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
และขับเคลื่อนด้วยแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติประจำปี เพื่อพัฒนาสู่คุณภาพทั้ง
ระบบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและมมี าตรฐานเป็นท่ยี อมรบั ท่ัวไป
โรงเรียนวัดจันทร์ใน จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานตามประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง
กำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาสงั กัดกรงุ เทพมหานคร ฉบบั ลงวนั ท่ี 21 ธนั วาคม 2559
โรงเรียนวัดจันทร์ใน จึงประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนวัดจันทร์ใน ตามเอกสารแนบท้าย
ประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
ประกาศ ณ วนั ท่ี 17 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒563
(นายอภมิ ขุ ฉนั ทวานชิ ) (นายกรี ติ์ ศรฤทธิ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนวัดจนั ทรใ์ น
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นวัดจนั ทรใ์ น เรอ่ื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา
ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ฉบบั ลงวนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน ๒563
มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2563 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น
1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั รายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น
ความคิดเหน็ แก้ปัญหา
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
5) มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ดี ีตอ่ งานอาชีพ
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
1) การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
2) ความภาคภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
และทกุ กล่มุ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้
3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
3.3 มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายของสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖3
โรงเรียนวัดจนั ทร์ใน สำนักงานเขตบางคอแหลม กรงุ เทพมหานคร
มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/
ประเดน็ การพจิ ารณา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น ดเี ลิศ
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและการคดิ คำนวณ
๒) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ดีเลิศ
อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา ดีเลศิ
๒) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๓) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ดีเลศิ
๔) มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ดเี ลศิ
๕) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ีด่ ีต่องานอาชพี ดีเลศิ
๑.๒ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน ดีเลศิ
1) การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย ดีเลิศ
3) การยอมรบั ที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเลิศ
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม ดเี ลิศ
ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ
2.1 มีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ดเี ลศิ
2.2 ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตาม ดเี ลศิ
หลักสตู รสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ดีเลศิ
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอือ้ ต่อการจัดการ ดีเลิศ
เรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและ ดีเลิศ
การจดั การเรยี นรู้
มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/
ประเดน็ การพจิ ารณา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถ ดีเลศิ
นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้ ดเี ลิศ
3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ ี่เอื้อต่อการเรยี นรู้
3.3 มีการบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก ดเี ลศิ
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบและนำผลมาพฒั นา ดเี ลศิ
ผ้เู รยี น ดเี ลิศ
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ดีเลิศ
สรุปผลการประเมนิ ในภารวมของสถานศกึ ษา
ดเี ลศิ
การกำหนดค่าเปา้ หมาย
1. ศกึ ษาข้อมลู เดมิ ผลการประเมนิ ตา่ ง ๆ ทผี่ า่ นมา เพอ่ื เป็นขอ้ มลู ฐานในการกำหนดคา่
เปา้ หมาย
2. การกำหนดค่าเปา้ หมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเปน็ ระดับคณุ ภาพ ๕ ระดบั
เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับการประเมิน ดังนี้
ระดับ ยอดเยยี่ ม
ระดับ ดีเลิศ
ระดบั ดี
ระดับ ปานกลาง
ระดับ กำลังพฒั นา
3. การกำหนดค่าเปา้ หมาย ในแตล่ ะประเด็นพจิ ารณา จะกำหนดเป็น ระดับคณุ ภาพ
หรอื เป็นร้อยละตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศึกษา