The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายไพรัตน์ ผลศิริ, 2020-06-09 03:46:57

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

1 วิชา วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทท่ี 1
รหสั วิชา 2104 – 2202

บทท่ี 1

แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

วตั ถปุ ระสงค์

1. บอกชนดิ ของเซลลไ์ ฟฟ้าได้
2. คานวณคา่ เซลล์ไฟฟา้ เมอื่ ตอ่ ขนานและอนุกรมได้
3. อธิบายการทางานของแบตเตอรี่ได้
4. เข้าใจการประจุและคายประจุไฟฟา้ ของแบตเตอร่ี

1-1เซลลไ์ ฟฟ้า (Cells)

เซลลไ์ ฟฟา้ คือ แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ที่ใหแ้ รงดนั ไฟฟ้าคา่ น้อยๆ เชน่ เซลลไ์ ฟฟา้
แบบ อัลคาไลน์ (Alkaline) เซลล์ไฟฟ้าแบบนเิ กิล-แคดเมียม (Nickel-Cadmium) หรือ Ni-Cad
หรือ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบสงั กะสี-คาร์บอน (Zinc-Carbon) (คอื ถ่ายไฟฉายทวั่ ไป) เป็นต้น

1-1-1 เซลล์แบบ สงั กะสี-คารบ์ อน
ต้ังแต่นักวิทยาศาสตร์ขาวอิตาลี ชื่อ Alessandro Volta ค้นพบเซลล์ไฟฟ้าแบบกัลวานิค
เม่ือปี ค.ศ. 1792 และพัฒนามาเป็นแบตเตอรี่ตัวแรกของโลก ในปี ค.ศ. 1800 ยังคงมีการ
พัฒนามาอย่างต่อเน่ืองจนปัจจุบัน มีเซลล์ไฟฟ้าที่มีขนาดเล็กลง และมีคุณสมบัติที่ดีข้ึน
เซลล์ไฟฟ้าในยุคปัจจุบันเร่ิมต้นพัฒนาจากเซลล์แห้งชนิดสังกะสี-คาร์บอน โดยใช้ปฏิกิริยา
เคมีระหว่าง แมงกานีส ออกไซด์ (Manganese Oxide) และแท่งคาร์บอน (Carbon rod) โดยมี

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 1

2 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง บทท่ี 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

สังกะสี (Zinc) เป็นตัวหุ้ม ดังรูปท่ี 1-1 เซลล์แบบสังกะสี-คาร์บอน จะให้แรงดันต่อ 1 เซลล์

เท่ากบั 1.04 V เซลลแ์ บบสังกะสี-คารบ์ อน เป็นเซลลแ์ บบปฐมภมู ิ

(ทมี่ า : en.wikipedia.org/wiki/Zinc-carbon-batteries)

รปู ที่ 1-2

รูปที่ 1-1 โครงสรา้ งเซลล์แบบสังกะสี-คารบ์ อน

1-1-2 เซลล์แบบอัลคาไลน์
เซลล์แบบอัลคาไลน์ คือ เซลล์ท่ีทาปฏิกิริยาทางเคมีระหว่าง สังกะสี กับแมงกานีส
ไดออกไซด์ (Zinc - Manganese dioxide: Zn/Mno2) เม่ือเปรียบเทียบกับเซลล์แบสังกะสี-
คาร์บอน เซลลอ์ ลั คาไลน์ จะมีคณุ ภาพท่ดี ีกวา่ ใช้ได้ผลนานกวา่ นิยมใช้กันอยา่ งแพรห่ ลายทั้ง
แบบแบตเตอร่ีท่ัวไป และแบบกระดุม (ที่ใช้ในเครื่องคิดเลข และรีโมทคอนโทรลขนาดเล็ก)
โครงสร้างและลักษณะของเซลล์แบบอัลคาไลน์ แสดงดังรูป 1-3 แรงดันของเซลล์แบบ
อลั คาไลน์จะมีคา่ เท่ากบั 1.5 – 1.65 V เซลล์แบบอัลคาไลน์ นับเป็นเซลล์ชนิดปฐมภมู ิ

รปู ท่ี 1-3 โครงสร้างและลักษณะขอเซลลแ์ บบอัลคาไลน์

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 2

3 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสตรง บทท่ี 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

1-2-3 เซลลแ์ บบนิเกิล-แคดเมียม
เซลล์นิเกิล-แคดเมียม คือ เซลล์ที่ทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างนิเกิล ออกไซด์ ไฮดรอกไซด์
(Nickel Oxide Hydroxide) และมีแคดเมียม(Cadmium) เป็นแกนกลาง ทาให้ผลิตไฟฟ้า
กระแสตรงได้ จึงเรียกย่อ ๆวา่ เซลลแ์ บบนิ-แคด (Ni-Cd) หรือ NiCad ให้ความจุไฟฟ้าสูง เป็น
เซลลไ์ ฟฟ้าชนิดทุตยิ ภูมิ เม่ือจ่ายไฟฟ้าหมดแล้ว ยังสามารถประจุไฟฟ้าให้กลับมาใช้งานใหม่
ได้ มีการผลิตในรูปแบบ AA,AAA และแบบอื่นๆ ดังแสดงในรูปที่ 1-4 มีขนาดเล็กกว่าเซลล์
ชนิดอ่ืนจึงสามารถพัฒนาเป็นแบตเตอรี่ท่ีมีความจุมาก ๆ แต่มีขนาดเล็กได้ เช่น แบตเตอร่ีใน
รถไฟฟ้า แบตเตอร่ีในยานอวกาศ เป็นต้น แรงดันไฟฟ้าของเซลล์นิเกิล-แคดเมียม 1 เซลล์
เทา่ กบั 1.20 V

รปู ท่ี 1-4 เซลลแ์ บบนิเกิล-แคดเมียม

1-2 การต่อเซลลไ์ ฟฟา้

รปู ท่ี 1-5 สญั ลกั ษณ์ รปู ที่ 1-6 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าอนกุ รมและขนาน

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 3

4 วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทท่ี 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ต่อได้ทั้งอนุกรมและขนาน วัตถุประสงค์ของการต่อ เพื่อเพ่ิมแรงดัน เพ่ิม

กระแสไฟฟ้า หรือ เพ่ิมท้ังสองปริมาณของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อต่อเซลล์ไฟฟ้า

รวมกันหลาย ๆ เซลล์ จะเรียกว่าแบตเตอรี่ (Battery) พารามิเตอร์ท่ีสาคัญของเซลล์ และ

แบตเตอรี่ คือ แรงเคลื่อน(แรงดัน)ไฟฟ้า (e.m.f.,electro motive force) และความจุ (Capacity)

ความจุของแบตเตอร่ีมีหน่วยเป็น Ah (แอมแปร์-ชั่วโมง) เป็นตัวบอกความสามารถของ

แบตเตอร่ีว่าจ่ายกระแสไฟฟ้าได้เท่าไรและเป็นระยะเวลายาวนานเท่าไรอีกด้วย เช่น แบตเตอร่ี

12V 100Ah จะหมายความว่า แบตเตอรี่นี้ มีแรงดันฟ้ากระแสตรง 12V จ่ายกระแสไฟฟ้าได้

จานวน 100A ในเวลา 1ช่ัวโมง (h) เป็นต้น แบตเตอรี่มีหลายชนิด เช่น แบบ AA , AAA , C

และ D เปน็ ต้น ดังแสดงในรูปที่ 1-7

ตารางที่ 1-1 ชนดิ และความจขุ องแบตเตอร่ี

ชนดิ ความจุ (mAh)

D 12000

C 6000

AA 2000

AAA 1000

รปู ที่ 1-7 แบตเตอรข่ี นาดต่าง ๆ PP3(9V) 500

การต่อเซลล์ไฟฟา้ อนกุ รม

ถ้านาเซลล์ไฟฟ้าขนาด 1.5V จานวน 4เซลล์ มาต่ออนุกรมกัน จะได้ค่าแรงดันไฟฟ้ารวม

เท่ากับ 6V (1.5V4 = 6V) การต่อเซลล์ไฟฟ้าอนุกรมน้ี จะทาให้กระแสไหลออกจากเซลล์

ทุกเซลล์ ในทิศทางเดียวกัน กระแสไฟฟ้านี้จะมีจานวนเท่า ๆ กัน เท่ากับท่ีเซลล์เดียวจ่าย แต่
แรงดันไฟฟ้าจะเพ่ิมขึ้น 4 เท่า ตามจานวนท่ีนามาต่ออนุกรม ความจุของมันจะเพ่ิมขึ้น 4 เท่า
เช่นเดียวกนั ถ้า 1 เซลลม์ ีความจุ 600 mAh 4 เซลล์ จะไดค้ วามจไุ ฟฟา้ เพม่ิ เปน็ 2400 mAh

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 4

5 วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทที่ 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

รปู ที่ 1-8 การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าอนุกรม

การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าขนาน

การต่อเซลล์ขนาน เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
จ่ายกระแสไฟฟ้า ของแบตเตอรี่ แต่แรงดันของมันจะ
เท่ากับแรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าเพียงเซลล์เดียว ถ้า
นาเซลล์ 1.5V 600 mAh 4 เซลล์ มาต่อขนานกัน จะได้
แรงดันไฟฟา้ รวม 1.5 V แต่ไดก้ ระแสไฟฟ้า 4 เทา่ คอื 2400 mA จ่ายไดใ้ น 1 ช่ัวโมง
ดังรูปท่ี 1-9

รปู ท่ี 1-9 การตอ่ เซลล์ฟา้ แบบขนาน

“ข้อควรระวงั ของการตอ่ เซลล์แบบขนานและอนุกรม คือ
ความจขุ องแต่ละเซลล์ทน่ี ามาต่อ ต้องเท่ากนั ด้วย”

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 5

6 วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทที่ 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

ตัวอยา่ งท่ี 1-1 ตอ้ งการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ ขนาดเซลล์ละ 1.2V จานวน 12 เซลล์ ใหจ้ ่าย

กระแสไฟฟ้าไดส้ งู ทสี่ ุด ควรตอ่ วงจรดังรูป A หรอื รูป B
ตอบ ควรต่อวงจรรูป B เพราะวา่ การ

ตอ่ ขนานกัน 12 เซลล์ จะทาให้
กระแสไฟฟา้ รวมสูงท่ีสดุ

รูปที่ 1-10

ตวั อยา่ งท่ี 1-2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า ดังรูปน้ี จะให้ค่า e.m.f และคา่ Ah เทา่ ไร ถ้าเซลล์แต่ละ

เซลลม์ ีค่าแรงดนั 1.5V และ 500 mAh

รูปท่ี 1-11

วธิ ที า 1) คา่ e.m.f จานวน 2 เซลลอ์ นุกรมกันเท่ากับ 21.5V = 3V
2) ความจุของ 2 เซลลข์ นานกนั เท่ากบั 2500 mAh = 1000 mAh
3) นาเซลล์ในขอ้ 1 3 ชดุ มาขนานกันทาให้ e.m.f รวมเทา่ กับ 3V แต่ความจรุ วม
เพิม่ ข้ึน 3 เทา่ ความจรุ วม 31000 mAh = 3000 mAh

ตอบ 3V 3000 mAh

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 6

7 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสตรง บทท่ี 1
รหสั วิชา 2104 – 2202

1-3 แบตเตอรี่ (Battery)

แบตเตอร่ี คือ แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ที่ผลิตไฟฟ้าจากปฏิกิริยาทางเคมี โดยมีท้ัง
ชนิดเซลล์เปียก (Wet Cell) และเซลล์แห้ง (Dry Cell) แบตเตอร่ีเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่สาคัญ
มาก เช่น ใชใ้ นการสตารท์ เครอ่ื งยนต์ หรอื ใชเ้ ปน็ ตวั เก็บสารองไฟฟ้าไว้ใช้ในแหล่งจ่ายไฟฟ้า
สารองเป็นต้น โครงสร้างของแบตเตอรี่ แผนธาตุ บวก และลบ แช่อยใู่ นสารละลาย ทเี่ รยี กวา่
อิเล็กโทรไลท์ (Electrolyte) แผ่นธาตุบวกทาด้วยตะกั่วเปอร์ออกไซด์ (Lead Peroxide)
และแผ่นธาตุลบทาด้วยตะกั่ว (Porous Lead) สาระลาย คือกรดกามะถัน (Salphuric Acid)
ผสมกับนา้ กลัน่ ดังแสดงในรปู ที่ 1-12

รปู ที่ 1-12 โครงสร้างเบอื้ งตน้ ของแบตเตอรี่

1-3-1 แบตเตอรี่เซลล์
แผ่นธาตุบวก และลบ ในแบตเตอร่ีจะมีหลายแผ่นวางสลับกันโดยมีแผ่นแยก
(Separators) เป็นฉนวน ไม่ให้แผ่นบวกและลบต่อถึงกัน แต่สารละลาย อิเล็กโทรไลท์
สามารถไหลผ่านได้ โดยมีตัวต่อแผ่นธาตุ (Connector) เป็นตัวเชื่อมต่อกลุ่มของแผ่นธาตุลบ
และกลมุ่ ของแผ่นธาตุบวก ดังรปู ท่ี 1-13 ซึง่ เรยี กกันว่า แบตเตอร่เี ซลล์ (Battery Cell)

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 7

8 วิชา วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทท่ี 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

รปู ที่ 1-13 โครงสร้างของแผ่นธาตบุ วกและลบ

เมื่อนาแบตเตอรี่เซลลห์ ลาย ๆ เซลลม์ าต่อกนั จะได้แบตเตอร่ี 1 ลูก เช่น ถ้าแต่ละเซลล์
ของแบตเตอร่ีหนึ่งเซลล์ มีแรงดันไฟฟ้า 2V และเราต้องการแบตเตอรี่ ท่ีจ่ายแรงดันไฟฟ้าได้
12V ก็ตอ้ งนามาตอ่ อนุกรมกัน 6 เซลล์ เป็นต้น ดังรูปท่ี 1-14 โดยมีตัวยึดเซลล์ต่อขั้ว (-) และ

(+) ของแต่ละเซลล์เข้า
ด้วยกัน ท้ัง 6 เซลล์ และ
ต่อข้ัว (+) ของเซลล์แรก
และข้ัว (-) ของเซลล์ท่ี 6
เป็นขั้ว (+) และ (-) ของ
แบตเตอรี่
รปู ท่ี 1-14 การต่อแบตเตอรเ่ี ซลล์ 6 เซลล์

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 8

9 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง บทท่ี 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

1-3-2 การทางานของแบตเตอร่ี
แบตเตอร่ี จะทางานได้ 2 สภาวะ คือ (1) จา่ ยไฟฟา้ (Discharging) และ (2) ประจไุ ฟฟ้า
(Charging) ซงึ่ จะเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมใี นแต่ละกระบวนการ ดังต่อไปน้ี

1. สภาวะจา่ ยไฟฟา้

เมื่อกระแสไฟฟ้าจ่ายออกจากแบตเตอรี่ (ก) จ่ายไฟฟา้
สู่โหลด คือไหลจากข้ัว (+) ไปยังขั้ว (-) ผลคือ
ไฮโดรเจน (H2) ท่ีอยู่ในสารละลาย จะทา
ปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน (O2) ท่ีแผ่นธาตุ
บวก ทาให้กลายเป็นน้า และกรดกามะถัน
(SO4) จะทาปฏิกริ ยิ ากับตะก่ัว (Pb) ที่แผ่นธาตุ
บวกและลบ ดงั รปู ที่ 1-15 (ก)

2. สภาวะประจุไฟฟ้า (ข)ประจไุ ฟฟา้
เม่ือทาการประจุไฟฟ้า ตอนที่แบตอ
ตอร่ีไม่มีไฟ (แรงดัน ต่ากว่า 12V) โดยการ รปู ท่ี 1-15 แบตเตอรจ่ี า่ ยไฟฟ้า
ชาร์จไฟจากแหล่งจ่ายภายนอก เช่น จาก และประจไุ ฟฟ้า
ไดนาโม ในรถยนต์ เป็นต้น กระแสไฟฟ้า
จากไดนาโมจะไหลมาท่ีขั้ว (+) ทาให้ SO4 ที่
รวมตัวอยู่กับ Pb ท่ีแผ่น (+) และแผ่น (-) หลุด
ออกมาอยู่ในสารละลายและออกซิเจนจะกลับไป
รวมตัวกับ Pb อีกคร้ังหนึ่ง กระบวนการนี้ต้องทา
อย่างต่อเนื่องจนกระท่ังแผ่นธาตุ (+) และ (-)
กลับมาสู่สภาวะปกติ (ไฟเต็มนั่นเอง)

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 9

10 วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทที่ 1
รหสั วิชา 2104 – 2202

1-3-3 ลักษณะภายนอก
แบตเตอร่ีทั่วไปจะมีตัวถัง (ภายนอก) ทาด้วยพลาสติกชนิดโพลีพรอโพรลีน
(Polypropylene) หรือยางผสมแบบแข็ง (สีดาหรือเทาเข้ม) ด้านบนของมันจะมีปล๊ักแบบสกรู
หมุนได้เพ่ือเปิดช่องให้เติมน้ากล่ันในแต่ละเซลล์ การบารุงรักษาแบตเตอรี่ ทาได้โดยสังเกต
ระดับของนา้ กลั่น ในตวั แบตเตอร่ี หรอื มองท่ชี อ่ งดูน้ากลั่น หากพรอ่ งลง ให้เติมน้ากลั่นจนอยู่
ในระดับท่ีกาหนด จะทาให้แบตเตอร่ีมีอายุใช้งานได้ยืนนาน ปกติแบตเตอรี่จะมีอายุการใช้
งานในสภาวะปกติ ระหว่าง 2-2.5 ปี

รปู ที่ 1-16 แบตเตอรี่ ขั้วตอ่ และปล๊กั เตมิ นา้ กลน่ั

ขว้ั แบตเตอรี่
ข้ัวแบตเตอร่ี ท่ีติดอยู่กับตัวแบตเตอร่ี ทาด้วยตะก่ัวมีขนาดใหญ่ต้องใช้หัวต่อขนาดใหญ่
เป็นแคลมป์ (Clamp) ขันให้แน่นด้วยน็อต โดยปกติข้ัว (+) ของแบตเตอรี่จะมีขนาดใหญ่กว่า
ขัว้ (-) ของแบตเตอร่ี สายไฟฟา้ สาหรับแบตเตอรี่ เป็นสายชนิดพิเศษ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง จะ
เป็นสายขนาดใหญ่ ทนกระแสไฟฟ้าได้สูงมาก ภายในประกอบไปด้วย สายเส้นเล็ก ๆ (ฝอย)
หลายเส้นรวมกัน จึงมคี วามตา้ นทานต่าเหมาะกับแบตเตอร่ี ดังรปู ท่ี 1-16

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 10

11 วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทที่ 1
รหสั วิชา 2104 – 2202

แบบฝกึ หัด เรอ่ื งแหล่งกาเนิดไฟฟา้ กระแสตรง

จงเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งทสี่ ุดเพียงคาตอบเดียว

1. ในรถยนต์ แบตเตอร่ีทาหนา้ ท่ีอะไร

ก. จ่ายใหเ้ คร่ืองปรบั อากาศ

ข. สตาร์ทเคร่ืองยนต์

ค. ขับมอเตอร์กระจกไฟฟ้า

ง. ช่วยดบั เครอ่ื งยนต์ตอนจอดรถ

2. แผน่ ธาตุบวกของแบตเตอร่ี ทาจากวสั ดุในข้อใด

ก. Lead Peroxide ข. Tin Peroxide

ค. Lead Acid ง. Load

3. กระบวนการท่แี บตเตอร่เี ก็บประจุ ตรงกับข้อใด

ก. เคมี-เป็น-ไฟฟ้า ข. พลังงานจลน-์ เปน็ -ไฟฟ้า

ค. ความร้อน-เป็น-เคมี ง. ไฟฟา้ -เป็น-เคมี

4. คา่ e.m.f ของเซลล์ไฟฟา้ มีหน่วยตรงกับขอ้ ใด

ก. N ข. A

ค. V ง. Ah

5. เซลล์ไฟฟ้าชนิด NiCad มคี า่ แรงดนั ไฟฟ้าทจี่ ่ายออกมาเทา่ ไร

ก. 1.50 V ข. 1.25 V

ค. 1.20 V ง. 1.10 V

6. เซลล์ไฟฟา้ ในข้อใดทม่ี คี ณุ ภาพตา่ ทส่ี ุด

ก. สังกะสี-โบรอน ข. นิเกลิ -แคดเมียม

ค. อัลคาไลน์ ง. สังกะสี-คาร์บอน

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 11

12 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง บทท่ี 1
รหสั วิชา 2104 – 2202

7. เซลล์ไฟฟ้าในขอ้ ใดท่ีเป็นเซลลช์ นดิ ทุติยภูมิ

ก. นิเกลิ -แคดเมียม ข. NiCad

ค. อลั คาไลน์ ง. ขอ้ ก และ ข ถูกต้อง

8. เซลลไ์ ฟฟา้ ขนาด 1.5V จานวน 8 เซลล์ ตอ่ อนุกรมกันจะไดแ้ รงดันไฟฟ้า

ก. 1.5 V ข. 6 V

ค. 8 V ง. 12 V

จากรูปท่ี 1-17 ใชต้ อบคาถามข้อ 9-10

รูปที่ 1-17

9. ถ้าเซลล์ไฟฟ้าแต่ละเซลล์มีค่า 1.5V 1Ah การต่อเซลล์ดังข้อใดจะได้แรงดันไฟฟ้า

รวมสงู ทส่ี ุด

ก. ขอ้ ก ข. ขอ้ ข

ค. ข้อ ค ง. ข้อ ง

10. ถา้ ตอ่ เซลล์ดังรปู ข ข้อใดกล่าวถงึ ค่า e.m.f และ Capacity ถูกต้อง

ก. 3V 12Ah ข. 6V 6Ah

ค. 6V 12Ah ง. 3V 6Ah

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 12

13 วิชา วงจรไฟฟา้ กระแสตรง บทที่ 1
รหัสวิชา 2104 – 2202

11. สารละลายอเิ ลก็ โทรไลทใ์ นแบตเตอรแี่ บบเปยี ก (แบบเตมิ น้ากลนั่ ) คอื ข้อใด

ก. กรดเกลอื ข. กรดกามะถนั

ค. กรดแคดเมียม ง. กรดตะกวั่

12. เมื่อแบตเตอร่แี บบเปียกจา่ ยไฟฟา้ จะเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมี ดงั ขอ้ ใด

ก. SO4 จะรวมตัวกับ O ทแี่ ผน่ ธาตุลบ
ข. SO4 จะรวมตัวกับ Pb ท่แี ผน่ ธาตบุ วก
ค. HZ จะรวมตวั กับ O ทแ่ี ผน่ ธาตลุ บ
ง. HZ จะรวมตัวกับ O ทแ่ี ผน่ ธาตบุ วก

13. จากรปู ข้างลา่ งน้ี ข้อใดคอื แบตเตอรีแ่ บบ AAA

ก. รปู ก ข. รูป ข
ค. รปู ค ง. รปู ง

14. ขอ้ ใดคือถ่านไฟฉายชนิด PP3 (9V) ใช้คาตอบ จากขอ้ 13

NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) Page 13


Click to View FlipBook Version