The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติวันรัฐธรรมนูญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประวัติวันรัฐธรรมนูญ

ประวัติวันรัฐธรรมนูญ

ประวัตวิ ันรัฐธรรมนญู
“วนั รัฐธรรมนญู ” คือ วันที่จัดขึน้ เพ่ือระลึกถงึ การมรี ัฐธรรมนญู ฉบับถาวร ฉบับแรกของไทย ซึ่ง

พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ได้พระราชทานรฐั ธรรมนญู ใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทย เม่ือ
วันที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ.2475 วันนจี้ ึงถอื เป็นวนั ทม่ี ีความสาคัญทางประวตั ศิ าสตร์และการเมอื งไทย

ความหมายของรฐั ธรรมนูญ
รัฐธรรมนญู หมายถึง กฎหมายสูงสุดของประเทศ เปน็ กฎหมายแมบ่ ททบ่ี ัญญัติกฎเกณฑก์ ารบรหิ าร

และปกครองทางการเมือง หากกฎหมายใดขดั ตอ่ รฐั ธรรมนูญจะมีผลเปน็ โมฆะและบงั คับใช้ไม่ได้

กาเนดิ รฐั ธรรมนญู
เมอ่ื สังคมมีพัฒนาการทางการเมอื งที่ซับซอ้ นข้ึน รฐั ธรรมนญู จงึ กลายเป็นประดษิ ฐกรรมทีม่ นุษยใ์ ช้

รองรบั บริบทต่างๆ ทางสงั คม เดมิ ทีคาวา่ “รฐั ธรรมนูญ” (Constitution) หมายถงึ หลักการหรอื ข้อตกลง ซึง่ มี
ความหมายค่อนข้างกวา้ งและไม่เป็นลายลกั ษณ์อักษร แตเ่ ปน็ หลกั การและธรรมเนยี มที่ปฏิบตั สิ ืบต่อกนั มา
อย่างยาวนาน จนกระทั่ง พ.ศ.1758 พระเจ้าจอห์นท่ี 5 แหง่ อังกฤษ ถูกขนุ นางบงั คบั ใหท้ รงลงนามใน มหากฎ
บัตรแมกนา คาร์ตา (Magna Carta) เพื่อประกันสิทธิเสรภี าพให้ประชาชน และลดพระราชอานาจของ
พระมหากษัตรยิ ์ กลายเป็นจุดกาเนดิ ของรฐั ธรรมนญู ฉบับแรกของโลก ส่งผลใหอ้ ังกฤษเปน็ ประเทศแรกท่ีใช้
ระบอบการปกครองประชาธปิ ไตย โดยพระมหากษตั ริย์อยูภ่ ายใต้กฎหมายรฐั ธรรมนญู ซ่ึงเปน็ ต้นแบบของ
หลายๆ ประเทศในเวลาต่อมา

ประวตั วิ นั รัฐธรรมนูญ และรฐั ธรรมนญู ฉบบั แรกของไทย
หลงั คณะราษฎรได้ทาการอภวิ ฒั นส์ ยาม เมอ่ื วันที่ 24 มถิ นุ ายน พ.ศ.2475 เพอื่ เปล่ียนแปลงการ

ปกครองจากสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ มาเป็นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ในสมยั
ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั (รัชกาลที่ 7) มีการประกาศใช้ “พระราชบญั ญตั ธิ รรมนญู การ
ปกครองแผน่ ดนิ สยามชั่วคราว พุทธศกั ราช 2475” เมอื่ วันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ.2475 ถอื เป็นรัฐธรรมนญู ฉบบั
ช่ัวคราว ฉบับแรกของไทย

ต่อมา ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2475 ทรงพระราชทาน “รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รสยาม
พุทธศกั ราช 2475” เปน็ รฐั ธรรมนญู ฉบับถาวร ฉบบั แรกของไทย ทาใหว้ นั รัฐธรรมนญู ตรงกบั วนั ที่ 10
ธันวาคมของทกุ ปี นับตั้งแตเ่ ปลย่ี นแปลงการปกครอง ประเทศไทยได้ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญมาแล้วท้ังหมด 20
ฉบับ โดยฉบับปจั จบุ ันคอื รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยู่หวั (รชั กาลท่ี 7)
พระราชทานรฐั ธรรมนญู ฉบับถาวรใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทย เมอ่ื วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2475

รายชื่อรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยท้งั 20 ฉบับ
1. พระราชบญั ญตั ธิ รรมนูญการปกครองแผน่ ดินสยามชั่วคราว พุทธศกั ราช 2475
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม
3. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2489
4. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชัว่ คราว) พุทธศกั ราช 2490
5. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2492
6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2475 แก้ไขเพม่ิ เติม พทุ ธศกั ราช 2495
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2502
8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2511
9. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2515
10. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2517
11. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2519
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศกั ราช 2520
13. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2521
14. รรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2534
15. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2534

16. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540
17. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชั่วคราว) พทุ ธศักราช 2549
18. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550
19. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พุทธศักราช 2557
20. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แหง่ ประชาธิปไตย

วงเวียนระหว่างถนนราชดาเนนิ กลางและถนนดนิ สอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร เป็นทตี่ ง้ั ของ
"อนสุ าวรีย์ประชาธปิ ไตย" มลี กั ษณะเป็นรูปหลอ่ ลอยตัว ตรงกลางประกอบดว้ ยเล่มรัฐธรรมนูญในสมดุ ไทย
ประดษิ ฐานบนพานแว่นฟ้า บริเวณลานอนสุ าวรยี ์มีครีบทรงแบนรายรอบทั้ง 4 ทิศ สรา้ งข้ึนในสมยั จอมพล
แปลก พบิ ูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี มพี ิธเี ปดิ อนสุ าวรียเ์ ม่ือวนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2483 เพ่อื ระลึกถึงการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย

อนสุ าวรียแ์ ห่งนไ้ี ดก้ ลายเปน็ สญั ลกั ษณแ์ หง่ ประชาธปิ ไตยทีเ่ รามักนึกถงึ ในวันรฐั ธรรมนูญ ถูกใช้เป็น
สถานที่สาคัญทางประวตั ิศาสตร์ในการเคล่อื นไหวทางการเมอื งของไทย นอกจากนี้ยงั ถือเปน็ หลักกิโลเมตรท่ี
ศนู ย์ของกรุงเทพมหานครอกี ด้วย

ความสาคญั ของวันรัฐธรรมนญู
นอกจากวันรฐั ธรรมนญู จะมีข้นึ เพอ่ื ระลึกถึงการมรี ัฐธรรมนูญฉบับถาวร ฉบับแรกของไทยแลว้ ยงั มี

จุดประสงคเ์ พอ่ื ใหป้ ระชาชนเห็นความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ซงึ่ มีส่วนช่วยในการวางกรอบการปกครองและ
สร้างเสถียรภาพใหร้ ะบอบการเมือง ดังน้ี

สถาปนาอานาจของรัฐ : แสดงถงึ การดารงอยู่ของรฐั เป็นเอกราชไมข่ นึ้ ตอ่ ใคร
สถาปนาเปา้ หมายของสังคม : สร้างเอกภาพและแสดงเจตจานงของการสร้างรฐั วา่ ต้องการใหก้ ารปกครอง
เป็นไปในทศิ ทางใด
สร้างรฐั บาลทีม่ ีเสถียรภาพ : ระบุหน้าท่ขี องผู้ปกครอง กาหนดบทบาทและกลไกการทางานของสถาบัน
การเมอื ง
คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ : ประชาชนมีสิทธิและเสรภี าพภายใตร้ ัฐธรรมนูญ ทั้งการเคล่ือนไหว การแสดง
ความคดิ เห็น และการเลอื กนับถอื ศาสนา
รับรองความชอบธรรมให้ระบอบการเมือง : รฐั ท่ีมรี ัฐธรรมนูญจะไดร้ บั ความชอบธรรม เมือ่ เขา้ รว่ มกบั
ประชาคมนานาชาติในภาคีความร่วมมอื ต่างๆ

กิจกรรมวนั รฐั ธรรมนญู
วนั รัฐธรรมนญู ของทุกปเี ปน็ วันหยดุ ราชการ มพี ิธีการวางพวงมาลาถวายสกั การะ ณ

พระบรมราชานสุ าวรีย์พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั (รชั กาลที่ 7) บรเิ วณหน้าอาคารรัฐสภา
หน่วยงานราชการและประชาชนจะประดับธงชาตติ ามอาคารบา้ นเรอื น สว่ นในสถานศึกษามกั จดั กิจกรรม
สปั ดาห์สง่ เสรมิ ประชาธิปไตย เพ่ือใหเ้ ดก็ และเยาวชนได้เหน็ ความสาคญั ของวถิ ีประชาธิปไตยและความสาคัญ
ของวนั รัฐธรรมนญู .


Click to View FlipBook Version