หนว่ ยท่ี 1 ความร้เู กี่ยวกบั ตน้ ทนุ
รายวิชา การบัญชตี น้ ทนุ 1
รหัสวิชา 3201-2003
นภาภรณ์ ศรีขวัญใจ (บธ.ม. การบัญชีบริหาร)
วิ ท ย า ลั ย อ า ชี ว ศึ ก ษ า ช ล บุ รี
สา นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า
หน่วยท่ี 1
แนวคิดและความร้ทู ั่วไปเก่ียวกับการบัญชีต้นทนุ
แนวคิดและความร้ทู ่ัวไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทนุ
ความสมั พนั ธข์ องบญั ชีการเงิน บญั ชีต้นทนุ และบญั ชี
บริหาร
วตั ถปุ ระสงคข์ องการบญั ชีต้นทนุ
การวางแผนและควบคมุ โดยใช้ข้อมลู ทางด้านต้นทนุ
ความหมายและการจาแนกประเภทของต้นทนุ
การเปลี่ยนแปลงและพฒั นาในหลกั การบญั ชีต้นทนุ
ความสัมพนั ธ์ระหว่างบัญชีการเงิน บัญชีบริหาร
และบัญชีต้นทุน
การบญั ชีการเงิน บญั ชีต้นทนุ การบญั ชีบริหาร
(Financial (Cost (Managerial
Accounting) Accounting)
Accounting)
วัตถปุ ระสงค์ของการบัญชีต้นทุน
(COST ACCOUNTING)
เพื่อให้ทราบถึงต้นทนุ การผลิต และต้นทนุ ขายประจางวด
เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ
เพ่ือให้ข้อมลู เกี่ยวกบั การวางแผนและควบคมุ
เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการวิเคราะหป์ ัญหาเพ่ือการตดั สินใจ
การวางแผนและควบคุมโดยใช้ข้อมลู ทางด้านต้นทนุ
1. การวางแผน (Planning)
ความหมาย แผนกลยทุ ธใ์ นการกาหนด
การกาหนด ระดบั การผลิต
วตั ถปุ ระสงคข์ องการ
ดาเนินธรุ กิจ ตลอดจน สดั ส่วนการผลิต
การกาหนดแนวทางใน ราคาขาย
การปฏิบตั ิงานเพ่ือให้ การเลือกสินค้าที่มี
บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ความสามารถในการทากาไรสงู
ที่วางไว้ การเพ่ิมสายการผลิต
การขยายโรงงาน
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
และกระบวนการผลิต
การวางแผนและควบคุมโดยใช้ข้อมลู ทางด้านต้นทนุ
2. การควบคมุ (Control)
ความหมาย
การกาหนดวิธีการและขนั้ ตอนต่าง ๆ ในทางปฏิบตั ิ
ตลอดจน ดชั นีวดั ความสาเรจ็ เพ่ือให้การดาเนินงาน
ของธรุ กิจบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ี่วางไว้ และใช้ทรพั ยากร
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตวั อย่าง
แผนท่ีวางไว้ ผลิตจริง
ผลิต 200,000 หน่วย ผลิตได้ 200,000 หน่วย
หรอื มากกว่า
เกิดประสิทธิผล เกิดประสิทธิภาพ
ต้นทนุ ท่ีใช้ผลิตจริงน้อยกว่า
แผนท่ีวางไว้
การวางแผน (Planning)
ข้อมลู ทางด้าน ข้อมลู แนวทางในการ
ต้นทนุ ทางด้าน ปฏิบตั ิงาน
ระดบั การผลิต เทคนิ คการ ต้นทนุ ที่ใช้ กาหนดวิธี การกาหนด ระบบบญั ชี
ต้นทนุ การผลิต
วางแผนการ ศนู ยค์ วาม
ต่อหน่วย
ระบบการ ประมาณการ ดาเนินงานใน การปฏิบตั ิ รบั ผิดชอบ ต้นทนุ ในการ
อนาคต การวางแผน สะสมข้อมลู
ควบคมุ คณุ ภาพ การผลิต
(งบประมาณ)
ต้นทนุ ในการ การใช้
จดั การสินค้า แนวคิด JIT
คงคลงั ฯลฯ
ฯลฯ
ข้อมลู ยอ้ นกลบั
การควบคมุ (Control)
ระบบบญั ชี ข้อมลู การเปรียบ ผลต่างจาก การประเมิน วิเคราะห์
ทางด้าน เทียบข้อมลู งบประมาณ ผลการปฏิบตั ิ ผลต่าง
ต้นทนุ ในการ ต้นทนุ ท่ี และข้อมลู ที่
สะสมข้อมลู เกิดขึน้ จริง เกิดขึน้ จริง
ข้อมลู ยอ้ นกลบั
ความหมายของต้นทนุ
ต้นทนุ (Cost) ต้นทุนที่เกิดขึน้ +
กิจการใช้ประโยชน์
หมายถึง หมดแล้ว = ค่าใช้จา่ ย
มลู ค่าของทรพั ยากรที่สญู เสียไป
เพื่อให้ได้สินค้าหรอื บริการ โดย (Expenses)
มลู ค่านัน้ จะต้องสามารถวดั ได้เป็น
หน่วยเงินตรา ซึ่งเป็นลกั ษณะของ ต้นทุนท่ีเกิดขึน้ +
การลดลงในสินทรพั ยห์ รอื เพ่ิมขนึ้ กิจการใช้ประโยชน์ใน
ในหนี้สิน อนาคต = สินทรพั ย์
(Assets)
การจาแนกประเภทต้นทุน
1. จาแนกตามส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์
2. จาแนกตามความสาคญั และลกั ษณะของต้นทนุ การผลิต
3. จาแนกตามความสมั พนั ธข์ องระดบั กิจกรรม
4. จาแนกตามความสมั พนั ธก์ บั หน่วยต้นทนุ
5. จาแนกตามหน้าท่ีงานในสายการผลิต
การจาแนกประเภทต้นทนุ
6. จาแนกตามหน้าที่งานในกิจการ
7. จาแนกตามงวดเวลาในการแสดงผลการดาเนินงาน
8. จาแนกตามความสมั พนั ธก์ บั เวลา
9. จาแนกตามลกั ษณะของความรบั ผิดชอบ
10. จาแนกตามการวิเคราะหป์ ัญหาเพ่ือตดั สินใจ
1.จาแนกต้นทนุ ตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน
(Material) (Labor)
- วตั ถดุ ิบ - วตั ถดุ ิบ ผลิตภณั ฑ์ - ค่าแรงงาน - ค่าแรงงาน
ทางตรง ทางอ้อม (Product) ทางตรง ทางอ้อม
( Direct ( Indirect ( Direct ( Indirect
Material) Material) Labor) Labor)
ค่าใช้จา่ ยในการผลิต
(Manufacturing Overhead)
1.จาแนกต้นทนุ ตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
วตั ถดุ ิบ วตั ถดุ ิบทางตรง (Direct Materials)
(Materials)
หมายถึง วตั ถดุ ิบหลกั ที่ใช้ในการผลิต และ
สามารถระบไุ ด้อย่างชดั เจนว่าใช้ในการผลิต
สินค้าชนิดใดชนิดหน่ึง ในปริมาณและต้นทุน
เท่าใด
วตั ถดุ ิบทางอ้อม (Indirect Materials)
หมายถึง วตั ถดุ ิบหรือวสั ดตุ ่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง
โดยทางอ้อมกบั การผลิตสินค้า แต่ไม่ใช่
วตั ถดุ ิบหลกั หรือวตั ถดุ ิบส่วนใหญ่
1.จาแนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
ค่าแรงงาน ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor)
(Labor)
หมายถึง ค่าแรงงานต่างๆท่ีจ่ายให้แก่คนงาน/
หมายถึง ค่าจ้างหรือ ลกู จ้างที่ทาหน้าท่ีเกี่ยวกบั การผลิตสินค้า
ผลตอบแทนที่จ่าย สาเรจ็ รปู โดยตรง เช่น ค่าแรงงานของช่างเยบ็
ให้แก่ลกู จ้างหรือ ผา้ ค่าแรงงานของพนักงานควบคมุ เครอื่ งจกั ร
คนงานที่ทางานผลิต
สินค้า (ตามชิ้นงาน ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labor)
รายวนั รายสปั ดาห์
หมายถึง ค่าแรงงานของบคุ คลที่ทาหน้าที่
หรอื รายเดือน) สนับสนุนการผลิต ซ่ึงไม่เกี่ยวข้องกบั การผลิต
สินค้าโดยตรง เช่น เงินเดือนผคู้ วบคมุ โรงงาน
เงินเดือนพนักงานทาความสะอาดโรงงาน
1.จาแนกต้นทนุ ตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
ค่าใช้จ่ายการผลิต วตั ถดุ ิบทางอ้อม
(Indirect Materials)
(Manufacturning Overhead)
ค่าแรงงานทางอ้อม
หมายถึง ค่าใช้จ่ายชนิด (Indirect Labor)
ต่างๆ ที่เก่ียวข้องกบั การผลิต
สินค้า นอกเหนือจากวตั ถดุ ิบ ค่าใช้จ่ายในการผลิตอื่น ๆ
(Manufacturing Overhead)
ทางตรง และค่าแรงงาน ต้องเก่ียวกบั การผลิตใน
ทางตรง โรงงานเท่านัน้ เช่น ค่าน้า
ค่าไฟ ค่าเบยี้ ประกนั ภยั
โรงงาน ฯลฯ
วตั ถดุ ิบ ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่างๆ ค่าแรงงาน
ทางอ้อม
- ค่าน้าค่าไฟ
- ค่าเช่าโรงงาน
- ค่าเสื่อมราคา
เคร่ืองจกั ร
- ฯลฯ
ทางตรง
ทางตรง
ทางอ้อม
วตั ถดุ ิบทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าแรงงานทางตรง
สินค้า
สรปุ ...คานวณต้นทุนการผลิต...
ต้นทนุ การผลิต
=
วตั ถดุ ิบ + ค่าแรงงาน + ค่าใช้จ่ายการ
ทางตรง ทางตรง ผลิต
DM + DL + MO
(Direct Materials) (Direct Labor) (Manufacturing
Overhead)
2.จาแนกต้นทนุ ตามความสาคัญ
และลักษณะต้นทุนการผลิต
ต้นทนุ ขนั้ ต้น ต้นทุนแปรสภาพ
(Prime Costs) (Conversion Costs)
ต้นทุนขนั้ ต้น
(Prime Costs)
วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ทางตรง ทางตรง (Manufacturing Overhead)
(Direct (Direct
Material) Labor)
ต้นทนุ แปรสภาพ
(Conversion Costs)
ดังน้ัน.....
ต้นทนุ ขนั้ ต้น ต้นทนุ แปรสภาพ
(Prime Costs) (Conversion Costs)
= =
วตั ถดุ ิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง
+ +
ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต
สรปุ ...คานวณต้นทุนการผลิต...
ต้นทนุ การผลิต
ต้นทนุ ขนั้ ต้น + ค่าใช้จ่ายการผลิต
(Prime Costs) (Manufacturing Overhead
วตั ถดุ ิบทางตรง + ต้นทนุ แปรสภาพ
(Direct Materials) (Conversion Costs)
ต้นทนุ ขนั้ ต้น + ต้นทุนแปรสภาพ - ค่าแรงงานทางตรง
(Prime Costs) (Conversion Costs) (Direct Labor)
3.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทนุ ผนั แปร ต้นทนุ คงท่ี
(Variable Costs) (Fixed Costs)
ต้นทนุ ก่ึงผนั แปร ต้นทนุ ผสม ต้นทนุ กึ่งคงท่ี/
ต้นทนุ เชิงขนั้
(Semivariable (Mixed Costs)
Costs) (Semifixed
Costs/Step Costs)
3.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทุนผนั แปร ต้นทนุ ต่อหน่วยคงที่เท่ากนั
ทกุ หน่วย
(Variable Costs)
ต้นทนุ รวม เปล่ียนแปลงไป
ตามสดั ส่วนของการ
เปล่ียนแปลงในระดบั
กิจกรรมหรือปริมาณการ
ผลิต
3.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทุนคงท่ี ต้นทนุ ต่อหน่วยเปล่ียนแปลง
(Fixed Costs) ไปตามสดั ส่วนของการ
เปล่ียนแปลงในระดบั กิจกรรม
หรือปริมาณการผลิต
ต้นทนุ รวมไมเ่ ปลี่ยนแปลงไป
ตามสดั ส่วนของระดบั
กิจกรรมหรอื ปริมาณการผลิต
3.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทนุ ผสม ต้นทุนท่ีมีลกั ษณะของต้นทนุ คงท่ี
(Mixed Costs) และต้นทุนผนั รวมอย่ดู ้วยกนั ในช่วง
การดาเนิ นกิจกรรมท่ีมีความหมาย
ต่อการตดั สินใจ
ต้นทนุ กึ่งผนั แปร ต้นทุนกึ่งคงท่ี/ต้นทุน
(Semivariable เชิงขนั้
Costs) (Semifixed
Costs/Step Costs)
3.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทุนก่ึงผนั แปร ต้นทุนส่วนหนึ่งคงที่ทกุ ระดบั
(Semivariable ของกิจกรรมภายใต้ช่วง
กิจกรรมเดียวกนั และมี
Costs) ต้นทนุ อีกส่วนหน่ึงผนั แปร
ไปตามระดบั ของกิจกรรม
เช่น ค่าโทรศพั ท์ ค่าเช่า
เครื่องจกั รบางประเภท
3.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์
กับระดับกิจกรรม
ต้นทุนกึ่งคงที่ ต้นทุนที่มีจานวนคงที่ ณ ช่วง
(Semivariable ระดบั กิจกรรมหน่ึง และจะ
Costs) / เปลี่ยนแปลงไปคงที่ในอีกช่วง
ต้นทุนเชิงขนั้ ระดบั กิจกรรมหนึ่ง
(Step Costs)
เช่น เงินเดือนผคู้ วบคมุ งาน
เงินเดือนพนักงานทาความ
สะอาด
....ตัวอย่าง.....
ต้นทุนผนั แปร ต้นทนุ คงท่ี ต้นทุนผสม
- วตั ถดุ ิบทางตรง ต้นทนุ ก่ึงผนั แปร ต้นทุนก่ึงคงท่ี
- วสั ดโุ รงงาน - ค่าบารงุ รกั ษา - ค่าเช่าเคร่ืองจกั ร - เงินเดือนผคู้ วบคมุ
- ค่าแรงงานทางตรง อาคาร โรงงาน
(รายวนั รายชวั่ โมง
ตามชิ้นงาน) - ค่าเช่าโรงงาน - ค่าโทรศพั ท์ - ค่าใช้จ่ายในการ
- ค่ากาลงั ไฟฟ้า ซ่อมบารงุ เครอ่ื งจกั ร
- ค่าเส่ือมราคา (วิธี
ตามหน่วยผลิต) - ค่าเสื่อมราคา - ค่าแรงงานท่ีจ่าย - ค่าใช้จ่ายในการ
(วิธีเส้นตรง เป็นเดือนและมี ตรวจสอบคณุ ภาพ
ค่าล่วงเวลา
- ค่าภาษีทรพั ยส์ ิน
- ค่าเช่าสานักงาน
4.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์กับหน่วยต้นทนุ
ต้นทนุ ทางตรง ต้นทนุ ทางอ้อม
(Direct Costs) (Indirect Costs)
4.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์กับหน่วยต้นทนุ
ต้นทนุ ทางตรง สามารถระบไุ ด้ว่า
(Direct Costs)
ต้นทนุ ใดเป็นของหน่วย
ต้นทนุ ใด เช่น วตั ถดุ ิบ
ทางตรง ค่าแรงงานทาง
ตรงท่ีใช้ผลิตชิ้นงานใด
ชิ้นงานหน่ึง
4.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์กับหน่วยต้นทนุ
ต้นทนุ ทางอ้อม ต้นทนุ ร่วมท่ีเกิดขึน้
(Indirect Costs) ไม่สามารถระบไุ ด้ว่า
ต้นทนุ ใดเป็นของหน่วย
ต้นทนุ ใด (ต้องมีการ
จดั สรร / ปันส่วนต้นทนุ )
5.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าท่ีงานในสายการผลิต
ต้นทนุ แผนกผลิต ต้นทนุ แผนกบริการ
(Cost of Production (Cost of Service
Department) Department)
5.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าที่งานในสายการผลิต
ต้นทนุ แผนกผลิต ต้นทนุ ต่างๆท่ีเกี่ยวกบั
(Cost of การทางานของเคร่ืองจกั ร
Production คนงาน และค่าใช้จ่ายท่ี
Department) เกิดขึน้ ในแผนกผลิต
เกี่ยวข้องกบั กระบวนการ
ผลิตสินค้าของกิจการ
โดยตรง เช่น แผนกตดั
แผนกเชื่อม
5.จาแนกต้นทุนตามหน้าที่งานในสายการผลิต
ต้นทนุ แผนก ต้นทนุ ต่างๆที่ไมข่ ้องกบั
บริการ การผลิตโดยตรง โดย
แผนกเหล่านี้จะให้บริการ
(Cost of Service
Department) หรอื สนับสนุนการทางาน
ให้แก่แผนกอื่น
เช่น แผนกบคุ คล แผนก
ซ่อมบารงุ
6.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าที่งานในกิจการ
ต้นทนุ ต้นทนุ ต้นทุน ต้นทุน
การผลิต การตลาด การบริหาร ทางการเงิน
(Marketing (Financial
(Manufacturing Costs) (Administrative
Costs) Costs) Costs)
6.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าท่ีงานในกิจการ
ต้นทนุ ต้นทนุ ที่เกิดขึน้ จากหน้าที่
การผลิต งานในการผลิตสินค้าของ
(Manufacturing กิจการ ประกอบด้วย
Costs) วตั ถดุ ิบทางตรง
ค่าแรงงานทางตรง และ
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
6.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าที่งานในกิจการ
ต้นทนุ การตลาด ต้นทนุ ท่ีเกี่ยวกบั กิจกรรม
(Marketing ทางการตลาด เช่น ค่า
Costs) โฆษณา ค่านายหน้า
พนักงานขาย ค่าส่งเสริม
การขาย ฯลฯ
6.จาแนกต้นทุนตามหน้าที่งานในกิจการ
ต้นทุนการ ต้นทุนที่เกี่ยวกบั การสงั่ การ
บริหาร
การควบคมุ และการ
(Administrative ดาเนิ นงานของกิจการ
Costs) รวมถงึ เงินเดือนของฝ่ าย
บริหารและพนักงานที่ไม่
เกี่ยวกบั แผนกผลิตและ
แผนกขาย เช่น แผนกบญั ชี
แผนกบคุ คล
6.จาแนกต้นทนุ ตามหน้าที่งานในกิจการ
ต้นทนุ ต้นทนุ ต้นทุน ต้นทุน
การผลิต การตลาด การบริหาร ทางการเงิน
(Marketing (Financial
(Manufacturing Costs) (Administrative
Costs) Costs) Costs)
6.จาแนกต้นทุนตามหน้าที่งานในกิจการ
ต้นทนุ ทาง ต้นทุนท่ีเกิดขึน้
การเงิน
(Financial เน่ืองจากการจดั หา
Costs) เงินทุนหรอื การบริหาร
เงินทนุ ของกิจการ
เช่น ค่าดอกเบยี้
ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
7.จาแนกต้นทุนตามงวดเวลาในการแสดงผล
การดาเนินงาน
ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ ต้นทนุ งวดเวลา
(Product Costs) (Period Costs)
7.จาแนกต้นทุนตามงวดเวลาในการแสดงผล
การดาเนินงาน
ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ ต้นทุนท่ีเกิดขึน้ โดยตรง
(Product Costs) หรอื โดยอ้อมในการผลิต
สินค้า (ไม่ว่าจะผลิต
เสรจ็ หรอื ยงั ) เช่น
วตั ถดุ ิบทางตรง
ค่าแรงงานทางตรง
ค่าใช้จา่ ยในการผลิต
7.จาแนกต้นทนุ ตามงวดเวลาในการแสดงผล
การดาเนินงาน
ต้นทุนงวดเวลา ต้นทุนท่ีไม่เก่ียวข้องกบั
(Period Costs) การผลิตสินค้า เป็นต้นทนุ
ท่ีเกิดขึน้ และให้ประโยชน์
แก่กิจการสิ้นสดุ ลงในงวด
บญั ชีนัน้ ๆ ได้แก่ ค่าใช้จ่าย
ในการขายและบริหาร
ต้นทนุ ขาย
8.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์กับเวลา
ต้นทุนในอดีต ต้นทุนทดแทน ต้นทนุ ใน
(Historical (Replacement อนาคต
(Future
Costs) Costs) Costs)
8.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์กับเวลา
ต้นทนุ ในอดีต ต้นทนุ ท่ีกิจการได้จ่ายไป
(Historical จริง เป็นมลู ค่าหรือต้นทุน
ของสินค้าหรอื สินทรพั ย์
Costs)
ของกิจการในอดีต
ไมค่ วรนามาใช้ในการ
ตดั สินใจของฝ่ ายบริหารใน
ปัจจบุ นั
8.จาแนกต้นทนุ ตามความสัมพนั ธ์กับเวลา
ต้นทนุ ทดแทน มลู ค่าหรอื ราคาตลาด
(Replacement ปัจจบุ นั ของสินทรพั ย์
Costs) ประเภทเดียวกนั กบั ท่ี
กิจการใช้อยู่
(ถ้าขณะนี้จะซื้อสินทรพั ยท์ ่ี
กิจการเคยซื้อมาในอดีต
ต้องใช้เงินเท่าไหร่?)
8.จาแนกต้นทุนตามความสัมพนั ธ์กับเวลา
ต้นทุนในอนาคต ต้นทุนหรอื ค่าใช้จ่ายที่
(Future Costs) กิจการคาดว่าจะเกิดขึน้ ใน
อนาคต จากการตดั สินใจ
เรือ่ งใดเร่อื งหน่ึงของ
ผบู้ ริหาร
9.จาแนกต้นทนุ ตามลักษณะของความรับผดิ ชอบ
ต้นทนุ ท่ี ต้นทุนที่ควบคมุ
ควบคมุ ได้ ไม่ได้
(Controllable
(Uncontrollable
Costs) Costs)