ธุงใยแมงมมุ
ภมู ปิ ญั ญาชมุ ชน บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย
จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
นาเสนอโดย นายณัฐวฒุ ิ ยุบลพนั ธุ์
สารบญั
- ธุง - แผนท่ตี ง้ั
- ประเภทของธุงในภาคอสี าน - วสั ดแุ ละอปุ กรณ์
- ธุงกบั ความเช่ือในภาคอสี าน - ขน้ั ตอนการทeธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ
- ธุงกบั ศาสนาและประเพณีในภาคอสี าน - ผลติ ภณั ฑ์
- ประวตั คิ วามเป็นมาของภมู ิปญั ญาชมุ ชน ในการทาธุงใยแมงมมุ - วิเคราะหภ์ มู ิปญั ญา
- สรุป
บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ - บรรณานุกรม
- จดุ เด่นและลกั ษณะธุงใยแมงมมุ บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
- รูปภาพประกอบธุง
- บรบิ ทพ้นื ท่ี บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ธุง
ธุง สญั ลกั ษณ์ของความเช่ือเก่ยี วกบั โชคลางของชาวอสี านและประเทศอน่ื ๆ ในแถบดนิ แดนอษุ าคเนยโ์ ดยมีความเช่ือ
พ้นื ฐานจากวฒั นธรรมของผี พราหมณ์และพทุ ธ ท่หี ลอมรวมเป็นอตั ลกั ษณ์อนั โดดเด่นของภมู ิภาคท่เี ป็ นความเช่ือของทอ้ งถ่นิ
โดยมกี ารใชภ้ าษาเรยี กท่แี ตกต่างกนั ซ่งึ ธงเป็นภาษามาตรฐานในประเทศไทย ภาคอสี านเรยี กวา่ ธุง , ภาคเหนือเรยี กตงุ , ชาว
ไทยใหญ่เรยี กตาข่อน , ประเทศพม่าเรยี กตะขุ่น , ประเทศลาวเรยี กธุงหรอื ทงุ ซ่งึ ในภาษาอสี านและภาษาลาวมีความคลา้ ยกนั
โดยใชค้ าว่า ธุงหรอื ทงุ (ภาณุพงศ์ ธงศรี. 2562 อา้ งใน สถาบนั ภาษา ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร. 2562)
ธุง (ต่อ)
หากเขียนตามภาษาถ่นิ จะใช้ ท แทน ธ ซ่งึ คนอสี านมกั จารทง้ั ตวั อกั ษรธรรมและไทยนอ้ ยดว้ ย ท ผสมสระ อุ และมี ง
เป็นตวั สะกด ซ่งึ ในสมยั ใหม่รบั รูแ้ ลว้ ว่า ทงุ น้นั เป็นคาเกา่ โบราณ กค็ อื ธช, ธฺวชฺ ในภาษาบาล-ี สนั สกฤต และ ธง ในภาษาไทย
สมยั ปจั จบุ นั ดว้ ยความคนุ้ ชิน การพลกิ แผลงทางภาษาและความรุ่มรวยดา้ นตวั อกั ษร จงึ ไม่เกนิ ความสามารถท่ีจะบญั ญตั ศิ พั ท์
ใหม่ว่า ธุง ข้ึนไดเ้ ป็นเพราะสามารถเขียนและอา่ นไดโ้ ดยไม่ละท้งิ ความหมายเดิม (วณี า วสี เพญ็ . 2562)
ประเภทของธุงในภาคอสี าน
ธุงอสี าน นิยมทอเป็นผืนยาวๆ มีรูปสตั วห์ รือรูปต่างๆ ตามคติความเช่ือบนผืนธุง และมีการใชว้ สั ดุจากธรรมชาติและวสั ดุอน่ื ๆ
มาประดบั ตกแตง่ บนธุง
วิทยา วฒุ ไิ ธสง (ม.ป.ป.) ไดแ้ บง่ ประเภทของธุงอสี าน 6 ประเภท ดงั น้ี
1ธุงราว ทาจากผา้ หรอื กระดาษ เป็นรูปสามเหลย่ี ม สเ่ี หลย่ี ม หรอื อน่ื ๆ มารอ้ ยเรยี งกนั เป็นราวแขวนโยง
2.ธุงไชย เป็ นลกั ษณ์และเคร่อื งหมายของชยั ชนะหรอื ความเป็ นสริ ิมงคล ซ่ึงทอจากเสน้ ดา้ ยหรอื เสน้ ไหมสลบั สี บางครง้ั ใชไ้ ม้
ไผ่คนั่
3.ธุงสบิ สองราศี ทาดว้ ยกระดาษ มีลกั ษณะเป็ นรูปนักษตั รหรอื สตั วส์ บิ สงิ ราศีในผืนเดียวกนั โดยมีความเช่ือว่าในครอบครวั มี
สมาชิกท่ีเกดิ ในปี ต่างกนั หากนาธุงไปถวายเท่ากบั ว่าคนในครอบครวั จะไดร้ บั อานิสงคเ์ ท่าๆ กนั ซ่ึงถอื ว่าเป็ นการสุม่ ทานโดยใชเ้ พ่อื บูชา
เจดียท์ รายในวนั สงกรานต์
ประเภทของธุงในภาคอสี าน (ตอ่ )
4.ธุงเจดียท์ ราย ใชป้ กั ประดบั บนเจดียท์ รายทาจากกระดาษสตี ่างๆ ตดั ฉลลุ ายดว้ ยรูปทรงสวยงาม นาไปรอ้ ยกับเสน้ ดา้ ยและ
นาไปผูกกบั กง่ิ ไมห้ รอื กง่ิ ไผ่ และนาไปปกั ไวบ้ นเจดียท์ รายภายในวดั
5.ธุงไสห้ มู เป็ นงานศิลปะประดิษฐท์ ่ีเกดิ จากการตดั กระดาษสหี รือกระดาษแกว้ สตี ่างๆ เม่ือใชก้ รรไกรตดั สลบั กนั เป็ นลายฟัน
ปลาจนถงึ ปลายสดุ แลว้ คล่อี อกและจบั หงายจะเกดิ เป็ นพวงกระดาษสวยงามและนาไปผูกตดิ กบั คนั ไมไ้ ผ่หรอื แขวนในงานพธิ ตี ่างๆ
6.ธุงใยแมงมุม ทาจากเสน้ ดา้ ย เสน้ ฝ้ ายหรือเสน้ ไหม และผูกโยงกนั คลา้ ยใยแมงมุม นิยมใชแ้ ขวนตกแต่งไว้หน้าพระ
ประธานหรอื โดยรอบในงานพธิ ีกรรม ใชเ้ พอ่ื ปกปกั รกั ษาคมุ้ ครอง
ธุงกบั ความเช่ือในภาคอสี าน
(ประทบั ใจ สกิ ขา. 2555) ไดก้ ลา่ วถงึ ความเช่ือเก่ยี วกบั ธุงในภาคอสี าน ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การทาบญุ เม่ือไดท้ าบญุ ดว้ ยการถวายธุงแลว้ จะอยูเ่ ยน็ เป็ นสขุ เป็นสริ มิ งคลแกช่ ีวิต
2. การใหท้ าน เม่อื ไดใ้ หท้ านดว้ ยการถวายธุงแลว้ จะช่วยใหว้ ญิ ญาณผูต้ ายหลดุ พน้ จากนรกหรอื วิบากกรรม
ธุง ใชป้ ้ องกนั มารผจญหรอื สง่ิ ท่ไี ม่ดีท่จี ะมารบกวนงานบญุ หากมารผจญไดเ้ หน็ ธุงแลว้ จะถอยออกไป
ธุงกบั ศาสนาและประเพณีในภาคอสี าน
ธงในพระพทุ ธศาสนาท่ปี รากฏอยู่ใน ธชคั คสูตร ซ่ึงพระอนิ ทรต์ รสั ปลกุ ใจทวยเทพในสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์
ในขณะท่กี าลงั ทาสงครามกบั อสูรว่า ถา้ เกดิ ความสะดงุ้ กลวั แลว้ ใหแ้ ลดูธงประจากอง จะทาใหห้ ายหวาดกลวั (วณี า วสี
เพญ็ . 2562)
ธุงอสี าน มตี ง้ั แตส่ มยั ครง้ั พทุ ธกาล โดยปรากฏในกณั ฑ์ 13 คอื นครกณั ฑ์ ในตอนแหพ่ ระเวสสนั ดรเขา้ เมือง
จะปรากฎประชาชนชาวเมืองท่มี าตอ้ นรบั ใชผ้ า้ ผืนยาวแขวนบนปลายไมไ้ ผ่ปลอ่ ยชายพล้วิ ไหวตามเสน้ ทางเสด็จของพระ
เวสสนั ดร ซ่งึ ปราฎในชาดกและจติ รกรรมฝาผนงั พระอโุ บสถในภาคอสี าน ซ่งึ ไดป้ ฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาจนถึงปจั จุบนั ในบญุ
เดือนส่ี และบญุ อน่ื ๆ ตามฮตี 12 ของชาวอสี าน (ณัฏฐฑ์ กฤษณ์ ไชยจนิ ดา. 2563)
ประวตั ิความเป็นมาของภมู ปิ ญั ญาชมุ ชน
จุดเร่มิ ตน้ เกดิ จากความเช่ือและความศรทั ธาของคนในชมุ ชนบา้ นเสมา ในอดตี จะมีการประดิษฐธ์ ุงข้ึน 3 แบบ ไดแ้ ก่ ธุง 4
เหลย่ี ม ธุง 6 เหล่ยี ม และ ธุง 8 เหลย่ี ม โดยเช่ือว่าหากไดท้ าบญุ ดว้ ยการถวายธุงแลว้ จะอยูเ่ ย็นเป็ นสขุ เป็ นสริ มิ งคลแก่ชีวติ และ
หากไดใ้ หท้ านดว้ ยการถวายธุงแลว้ จะช่วยใหว้ ิญญาณผูต้ ายหลดุ พน้ จากนรกหรอื วิบากกรรม ดงั น้นั จงึ ตอ้ งมีการทาธุงซ่ึงการทาธุ
งในอดีตจะใชว้ สั ดจุ ากธรรมชาติ ไดแ้ ก่ เสน้ ฝ้ าย เสน้ ไหม ไมไ้ ผ่บา้ น เน่ืองจากเป็นวสั ดทุ ่หี าไดง้ า่ ยตามธรรมชาติและมีความคงทน
และมีอยู่ในทอ้ งถน่ิ เป็นวสั ดทุ ่มี ีความเก่ยี วขอ้ งกบั วิธชี ีวิต เช่น กาปลกู หม่อนเล้ยี งไหม การทอผา้ เป็นตน้
ตอ่ มาไดม้ ีการใชว้ สั ดอุ น่ื ๆ ท่มี ีการพฒั นาตามยคุ สมยั มาประดบั ตกแต่งบนธุง ไดแ้ ก่ เสน้ ไหมพรม ดา้ ย ดอกรกั พลาสตกิ
ลกู ปดั ระฆงั พลาสตกิ เข็ม กรรไกร
ในปี พ.ศ. 2560 พระมหารตั นะ รตนสริ ิ พระวดั โพธ์ิชยั เสมาราม ไดม้ ีแนวคดิ ในการพฒั นาวดั ใหส้ ามารถเป็ นแหลง่ เรยี นรู้
และตอ้ นรบั นกั ทอ่ งเท่ียว อกี ทง้ั วดั โพธ์ชิ ยั เสมารามยงั เป็ นศูนยร์ วมการจดั งานบญุ ผะเหวดท่สี บื ทอดพธิ กรรมทางศาสนาในทกุ ปี และท่ี
ขาดไม่ไดค้ อื ชาวบา้ นในชมุ ชนบา้ นเสมาจะร่วมใจกนั ทาธุงหลากหลายชนิด หลากหลายขนาด และหลากหลายสสี นั เพ่อื นาใชใ้ นการ
ประกอบพธิ กี รรมทางพระพทุ ธศาสนา ตอ่ มาพระมหารตั นะ รตนสริ ิ ไดน้ ารูปแบบของธุงใยแมงมมุ มาประดบั ตกแตง่ ภายในวดั โพธ์ิ
ชยั เสมารามและตามถนนในหมู่บา้ น และ ตามบริเวณพระธาตยุ าคู (พระมหารตั นะ รตนสริ ิ. 2565 : สมั ภาษณ์)
ประวตั ิความเป็นมาของภมู ปิ ญั ญาชมุ ชน (ต่อ)
ต่อมานายอาเภอกมลาไสย ไดม้ าพบเหน็ จงึ ไดม้ แี นวคดิ ใหช้ มุ ชนบา้ นเสมาและอาเภอกมลาไสยร่วมใจกนั ทาธุงมา
ประดบั ท่บี รเิ วณพระธาตยุ าคูเพ่อื นาเป็ นพทุ ธบูชาในงานประเพณีสรงน้าพระธาตยุ าคู จากท่กี ลา่ วมาสง่ ผลใหเ้ กดิ ธุงในการ
สรา้ งสรรคพ์ ้นื ท่เี พ่อื การทอ่ งเท่ยี วและพฒั นาเศรษฐกจิ จากทนุ ทางวฒั นธรรมในงานมาฆปูรมี ทวารวดีม่งิ หลา้ เมืองฟ้ าแดดสงยาง
และงานวิสาขบูชาปณุ มี ประเพณีสรงน้าพระธาตยุ าคูจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ (คาพนั ธ์ คาม่วงไทย. 2565 : สมั ภาษณ์)
จากปรากฎการณ์ดงั กลา่ ว ทาใหบ้ า้ นเสมาไดม้ ีการพฒั นาต่อยอดภมู ิปญั ญาจากธุงข้ึน ท่หี ลากหลายรูปแบบ
หลากหลายลกั ษณะ เช่น โดยนารูปแบบของธุงมาต่อยอดเป็ นเคร่อื งประดบั และ ธุงสามมติ ิ เป็นตน้
จุดเด่นและลกั ษณะธุงใยแมงมมุ บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ทาจากเสน้ ไหมพรม ผูกโยงกนั ไปมาคลา้ ยใยแมงมุม มีหลากหลายของสีสนั หลากหลายขนาด หลากหลายลวดลายและ
หลากหลายรูป ไดแ้ ก่ ลายสเ่ี หล่ยี ม ลายหกเหล่ยี ม ลายแปดเหล่ยี ม ลายดอกทานตะวนั ลายตน้ สน ลายดอกปี บและธรรมจกั ร ลายสอง
มิติ ลายดอกสรอ้ ยทอง ลายใบโพธ์ิ ลายธรรมจกั ร ลายเพชร ลายดาว ลายจนั ทรก์ ระจา่ ง ลายสายรุง้ เป็ นตน้ และนาไปผูกติดกบั เสาไม้
ไผ่ จดั แถวเรียงรายหลากหลายพนั ธุต์ น้ หลากหลายสสี นั สดใส
โดยมีเอกลกั ษณ์ท่โี ดดเด่นเฉพาะทอ้ งถ่นิ ซ่ึงเรียกว่า ทะเลธุง จนสง่ ผลใหม้ ีช่ือเสยี งโด่งดงั ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเกิด
ความรูจ้ กั ทะเลธุงและมีความตอ้ งการท่ีจะมาท่องเท่ียว จงึ ทาใหช้ ุมชนเกิดรายไดแ้ ละเกดิ เศรษฐกิจภายในชมุ ชนและจงั หวดั เป็ นอย่างดี
(เกษร แสนศกั ด์.ิ 2565 : สมั ภาษณ์)
รูปภาพประกอบ ธุงและทะเลธุง
ขนาดความยาวของเสน้ ธุง ยาว 4 เมตร
ความสูงของเสารข์ นาด ยาว 6 เมตร
รูปภาพประกอบรูปแบบธุง
1 3 1.ลายตน้ สน
2 4 2.ลายดอกทานตะวนั
3.ลายดาว
5 4.ลายสามมติ ิ
5.ลายสเ่ี หล่ยี ม
บรบิ ทพ้นื ท่ี บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน
อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
บา้ นเสมา ตาบลหนองแปนมีอาณาเขตตดิ ต่อ
ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลโนนศิลาเลงิ อาเภอฆอ้ งชยั จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลฆอ้ งชยั พฒั นาและตาบลเหลา่ กลาง อาเภอฆอ้ งชยั จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั ตาบลกมลาไสยและตาบลธญั ญา อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั ตาบลโคกสะอาด อาเภอฆอ้ งชยั จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
มีประชากรในหม่บู า้ นจานวน 905 คน มี 245 ครวั เรอื น
มีสถานท่ที ่องเท่ยี วในชมุ ชนบา้ นเสมา ไดแ้ ก่
1.พระธาตคุ ู
2.วดั โพธ์ิชยั เสมาราม
แผนท่ตี ง้ั
“แผนท่เี สน้ ทางจาก อาเภอยางตลาด ไปท่ี พระธาตยุ าคู
”บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
การเดินทาง
พระธาตยุ าคู
ส่แี ยกไฟแดง อาเภอยางตลาด 2367
2116
ส่แี ยกไฟแดงบา้ นหนองแปน
วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1.ไมไ้ ผ่บา้ น
2.ดา้ ย
3.ดอกรกั พลาสติก
4.ลกู ปดั
5.ไหมพรม
1 234 6.ระฆงั พลาสติก
7.เข็ม
8.กรรไกรตดั ก่งิ ไม้
9.กรรไกร
56 7 8 9
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ
ขน้ั ตอนท่1ี การทาตวั ลูกธุง
นาไมไ้ ผ่จานวน 2 ช้ินมาวางซอ้ นกนั เป็ นรูปลกั ษณะเคร่ืองหมายบวก และจดั วางใหอ้ ยู่ในองศาของมุมท่ีขนาดเท่าๆ กนั
จากน้นั นาไหมพรมมาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพ่อื ทาการยึดไมไ้ ผ่ไม่ใหห้ ลดุ ออกจากกนั (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
1
2
3
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ (ต่อ)
ขน้ั ตอนท่2ี การทาตวั ลกู ธุง
นาไมไ้ ผ่ช้ินท่ี 3 มาวางแนบตรงกลางใหเ้ ป็นลกั ษณะแนวตง้ั และนาไหมพรมมาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพ่อื ทาการยดึ ไม้
ไผ่ไม่ใหห้ ลดุ ออกจากกนั (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
12
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมติ ิ (ต่อ)
ขน้ั ตอนท่3ี การทาตวั ลูกธุง
เขียนหมายเลข จานวน 1-6 บนปลายไมไ้ ผ่ จากน้นั นาไหมพรมมาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพ่อื ทาการข้ึนรูปร่าง 3 มิติ
โดยนบั ท่ี 4 1 2 3 4 5 2 6 4 (หมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ า) และหมนุ ไหมพรมพนั จากลา่ งข้ึนบน จากน้ันหมนุ ไหม
พรมพนั ตามขนาดท่ตี อ้ งการ จะใชส้ เี ดยี วหรอื สลบั สตี ามใจชอบกไ็ ด้ (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
12
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมติ ิ (ต่อ)
ขน้ั ตอนท่4ี การทาตวั ลกู ธุง
เปลย่ี นสโี ดยนบั ท่ี 4 1 2 3 4 5 2 6 4 (หมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ า) และหมนุ ไหมพรมพนั จากลา่ งข้ึนบน
จากน้นั หมนุ ไหมพรมพนั ตามขนาดท่ตี อ้ งการ จะใชก้ ส่ี กี ไ็ ดต้ ามใจชอบ จากน้นั ผูกมดั ไหมพรมใหแ้ น่นเพ่อื เป็ นการลอ็ ค (พสิ มยั
เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
1 3 5
2 4 6
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ (ต่อ)
ขน้ั ตอนท่5ี การทาตวั ลูกธุง
ข้ึนดา้ นขา้ งจะเร่มิ จากมมุ ไหนกไ็ ด้ โดยหมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ าใหเ้ ป็ นรูปลกั ษณะ4เหล่ยี มจตั รุ สั โดย
หมนุ ไหมพรมพนั จากล่างข้ึนบน จากน้นั หมนุ ไหมพรมพนั ตามขนาดท่ตี อ้ งการ จะใชส้ เี ดยี วหรอื สลบั สตี ามใจชอบกไ็ ด้
โดยทาลูกธุงจานวน 5 ช้ิน (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
12 3
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ (ตอ่ )
ขน้ั ตอนท่6ี การทาตวั แม่ธุง
นาไมไ้ ผ่จานวน 2 ช้ินมาวางซอ้ นกนั เป็ นรูปลกั ษณะเคร่อื งหมายบวก และจดั วางใหอ้ ยู่ในองศาของมมุ ท่ขี นาดเทา่ ๆ กนั
จากน้นั นาไหมพรมมาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพอ่ื ทาการยดึ ไมไ้ ผ่ไม่ๆใหห้ ลดุ ออกจากกนั
นาไมไ้ ผ่ช้ินท่ี 3 มาวางซอ้ นกนั ใหเ้ ป็ นลกั ษณะแนวตง้ั และจดั วางใหอ้ ยูใ่ นองศาของมมุ ท่ขี นาดเท่า ๆ กนั จากน้นั นาไหมพรม
มาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพ่อื ทาการยดึ ไมไ้ ผ่ไม่ๆใหห้ ลดุ ออกจากกนั
เขียนหมายเลข จานวน 1-6 บนปลายไมไ้ ผ่ จากน้นั นาไหมพรมมาพนั เขา้ กบั ไมไ้ ผ่เพอ่ื ทาการข้ึนรูปร่าง 3 มิติ โดยนบั ท่ี 4 1
2 3 4 5 2 6 4 (หมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ า) และหมนุ ไหมพรมพนั จากลา่ งข้ึนบน จากน้นั หมนุ ไหมพรมพนั ตามขนาดท่ีตอ้ งการ
จะใชส้ เี ดยี วหรอื สลบั สตี ามใจชอบกไ็ ด้
เปล่ยี นสโี ดยนบั ท่ี 4 1 2 3 4 5 2 6 4 (หมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ า) และหมนุ ไหมพรมพนั จากลา่ งข้ึนบน จากน้นั หมนุ
ไหมพรมพนั ตามขนาดท่ตี อ้ งการ จะใชก้ ส่ี กี ไ็ ดต้ ามใจชอบ จากน้นั ผูกมดั ไหมพรมใหแ้ น่นเพ่อื เป็ นการลอ็ ค
ข้ึนดา้ นขา้ งจะเร่มิ จากมมุ ไหนกไ็ ด้ โดยหมนุ ไหมพรมพนั ตามเข็มนาฬกิ าใหเ้ ป็ นรูปลกั ษณะ4เหล่ยี มจตั รุ สั โดยหมนุ ไหมพรม
พนั จากลา่ งข้ึนบน จากน้นั หมนุ ไหมพรมพนั ตามขนาดท่ตี อ้ งการ จะใชส้ เี ดียวหรอื สลบั สตี ามใจชอบกไ็ ด้ โดยทาแม่ธุงจานวน 1 ช้ิน
(พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
***********ตวั ลกู ลูกธุงและตวั แม่ธุง ขน้ั ตอนทาเหมอื นกนั แต่ขนาดจะตา่ งกนั เพอ่ื ความสวยงามและโดดดเด่น***********
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมติ ิ (ตอ่ )
ภาพประกอบขน้ั ตอนการทาตวั แม่ธุง (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
1 2 34 56
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ (ตอ่ )
ขน้ั ตอนท่6ี
ตดั เศษไมไ้ ผ่ท่เี หลอื จากลูกและแม่ธุง เพ่อื ความเรยี บรอ้ ยและความสวยงาม (พสิ มยั เทพโพด. 2565 :
สมั ภาษณ์)
1 23
ขน้ั ตอนการทาธุงใยแมงมมุ ลายสามมิติ (ตอ่ )
ขน้ั ตอนท่7ี
นาไหมพรมมาตดั เป็ นพู่ (ขนาดความยาว ความหนา ตามใจชอบ) จากน้นั มดั ใหเ้ รยี บรอ้ ย และนาระฆงั
พลาสตกิ ลกู ปดั ดอกรกั พลาสติก มารอ้ ยเป็นอบุ ะ (ขนาดความยาว และการประดบั ตกแตง่ ตามใจชอบ) จากน้นั นาอบุ ะ
ท่ไี ดไ้ ปรอ้ ยเขา้ กบั ตวั ลูกธุงและแม่ธุง จานวน5 ขา ทง้ั หมด 6 ชดุ และจากน้นั นาไปประกอบเป็ นช่อ (เป็นผลติ ภณั ฑโ์ ม
บายธุงใยแมงมมุ แบบสามมิติ) (พสิ มยั เทพโพด. 2565 : สมั ภาษณ์)
1 2 34 5 6
ผลติ ภณั ฑ์
“ โมบายธุงใยแมงมมุ แบบสามมติ ิ ภมู ปิ ญั ญาชมุ ชน บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ”
ผลติ ภณั ฑ์ (ตอ่ )
ระยะเวลาท่ใี ชโ้ มบายธุงใยแมงมมุ แบบสามมิติ 1 วนั
การต่อยอดผลติ ภณั ฑจ์ ากธุงใยแมงมมุ เช่น
- เส้อื อตั ลกั ษณ์เมืองฟ้ าแดดสงยางโดยปกั ลายธุงใยมงมุม
- กระเป๋ าผา้ ปกั ลายธุงใยแมงมมุ
- ป่ินปกั ผมลายธุงใยแมงมมุ
- เข็มกลดั ธุงใยแมงมมุ
- ผา้ พนั คอลายธุงใยแมงมมุ
วเิ คราะหภ์ มู ิปญั ญา
จากคตคิ วามเช่ือในประเพณีพธิ ีกรรมทางศาสนา งานบญุ ผะเหวด ธุง ถอื ไดว้ ่าทรพั ยากรท่มี คี ่าและมีอยูภ่ ายใน
ชมุ ชน โดยธุงใยแมงมมุ ถูกนามาสรา้ งบทบาทการท่องเท่ียวและการสรา้ งเศรษฐกจิ ในชมุ ชน สง่ ผลเกดิ การสรา้ งรายได้
ใหก้ บั ชมุ ชนบา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ อกี ทง้ั ธุงใยแมงแมงบา้ นเสมาท่ีมีความ
หลากหลายสี หลากหลายขนาด หลากหลายลวดลาย สะทอ้ นใหเ้ หน็ ธุงในบทบาททางดา้ นสุนทรียศาสตรท์ างความงาม ใน
สง่ิ ท่ชี มุ ชนบา้ นเสมาไดผ้ ลติ หรอื สรา้ งสรรคข์ ้ึน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความงามท่เี กดิ จากความศรทั ธาจงึ สง่ ผลใหธ้ ุงใยแมง
ภมู ิปญั ญาชมุ ชนบา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ มคี วามงามท่หี ลากหลายและกลายเป็ น
เอกลกั ษณ์ท่เี กดิ ตามความนิยมเฉพาะถ่นิ สง่ ผลใหธ้ ุงใยแมงมมุ บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั
กาฬสนิ ธุ์ โด่งดงั และมีช่ือเสยี งจนกอ่ เกดิ รายไดแ้ ละเศรษฐกจิ จนถงึ ปจั จบุ นั
บรรณานุกรม
ณฏั ฐ์กฑ ฤษ ณฑ ไชยจนิ ดา. (2563). ธุง , ตงุ สญั ลกั ษณ์แหง่ ศรทั ธาท่หี มอื นหรอื ต่างของอสี านและลา้ นนา.
สาขาวฒั นธรรม ศิลปฤรรม และฤารออฤแบบ คณะศิลปฤรรมศาสตรฑ มหาวทิ ยาลยั ขอนแฤ่น.
ประทบั ใจ สฤิ ขา. (2555). ธุงอสี าน. อบุ ลราชธานี : โรงพมิ พศฑ ิรธิ รรมออฟเซท็ .
วณี า วสี เพญ็ . (2562). ธุงผะเหวดอสี าน : พทุ ธศิลป์แหง่ พลงั ศรทั ธา. มหาสารคาม : สถาบนั วจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
วทิ ยา วฒุ ไิ ธสง. (ม.ป.ป.). ศูนยวฑ ฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแฤ่น. เรอ่ี งตงุ : สบื คน้ . (เมอ่ื วนั ท่ี 8 ฤนั ยายน 2565).
สทิ ธชิ ยั ระหารนอฤ. (2564). วทิ ยานิพนธ์ เรอ่ื งพลวตั วฒั นธรรมการใชธ้ ุงกบั ประเพณีประดษิ ฐบ์ นพ้นื ท่พี ระธาตยุ าค. ศิลปศาสตรมหาบณั กติ .
สาขาวชิ าศาสนาและภูมปิ ญั ญาเพอ่ื ฤารพฒั นา. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
สถาบนั ภา า ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ฐสฤลนคร. (2562). เร่อื งธุงสสี นั กฐนิ ประเพณีควรสบื สาน. สานฤั พมิ พมฑ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ฐสฤลนคร.
รายนามผูใ้ หส้ มั ภาษณ์
เฤสร แสนศฤั ด์.ิ (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภาษณ์, ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ /ผูน้ า้ ประฤอบพธิ ี. โบราณสถาน
พระธาตยุ าคู บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
คาพนั ธฑ คามว่ งไทย. (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภาษณ์, ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท3่ี 2 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
เจดิ จนั ทรฑ บตุ รโพธ์ศิ ร.ี (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท7่ี 5 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
ทองพนั ธฑ ทรพั ยชฑ ม. (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท1่ี 71 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
บญุ ถน่ิ ศิลาดร. (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท6่ี 8 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
บานเยน็ นาชยั เลศิ . (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท1่ี 44 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
เปลย่ี ง ศิรแิ สน. (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท1่ี 32 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
ปราณี นาชยั ลาน. (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท2่ี 03 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
เรยี งศฤั ด์ิ ภูมวิ นั . (12 ฤนั ยายน 2565). สมั ภา ณ,ฑ ปราชญทฑ อ้ งถน่ิ บา้ นเลขท1่ี 70 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7
บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอฤมลาไสย จงั หวดั ฤาฬสนิ ธุ.ฑ
รายนามผูใ้ หส้ มั ภาษณ์
พระมหารตั นะ รตนสริ ิ. (6 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสวดั โพธิ์ชยั เสมาราม
บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
พิสมยั เทพโพด. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี140 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์
วาสนา สภุ าษี. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี3 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
ศิรินาถ นาไชยสินธุ.์ (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่1ี 28 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
ศรเี พ็ญ แสนศิรา. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี205 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
เสง่ียม วงศช์ ยั นนั ท.์ (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่2ี 8 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
สมยั นอ้ ยสารบญุ . (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี58 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์
เสริม วาวแวว (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี10 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
หนไู พร อินทรโสพา. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่2ี 9 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
อานวย โนนหินหกั . (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่1ี 81 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์
รายนามผูใ้ หส้ มั ภาษณ์
พระมหารตั นะ รตนสริ ิ. (6 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสวดั โพธิ์ชยั เสมาราม
บา้ นเสมา ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
พิสมยั เทพโพด. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี140 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์
วาสนา สภุ าษี. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี3 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
ศิรินาถ นาไชยสินธุ.์ (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่1ี 28 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
ศรเี พ็ญ แสนศิรา. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี205 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
เสง่ียม วงศช์ ยั นนั ท.์ (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่2ี 8 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
สมยั นอ้ ยสารบญุ . (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี58 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์
เสริม วาวแวว (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่ี10 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
หนไู พร อินทรโสพา. (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่2ี 9 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสินธุ.์
อานวย โนนหินหกั . (12 กนั ยายน 2565). สมั ภาษณ,์ ปราชญท์ อ้ งถ่ิน บา้ นเลขท่1ี 81 บา้ นเสมา หมทู่ ่ี 7 บา้ นเสมา
ตาบลหนองแปน อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ.์