รูปแบบซุ้มประตูมณฑปทรงปราสาทยอด วัดแสนสุขาราม หลวงพระบาง
ฉัตรมงคล ระวโิ รจน์
บทนำ
แขวงหลวงพระบางตงั้ อย่เู ขตภาคเหนือของประเทศลาว มรี อ่ งรอยการดำรงชีวิต นอกจากนน้ั ยังมี
ประวตั ศิ าสตร์ จารตี ประเพณี และศิลปวฒั นธรรมมาอย่างยาวนาน มีคติความเช่อื เก่ยี วกับพุทธศาสนา ท่ไี ด้ว่า
เป็นศนู ยร์ วมทางจติ ใจของชาวหลวงพระบาง แม้วถิ ชี ีวติ จะแตกต่างไปจากอดตี แล้ว แตผ่ คู้ นยงั คงยดึ มน่ั ใน
พระพุทธศาสนาอยา่ งมาก ดังจะเหน็ ได้จากการใสบ่ าตรขา้ วเหนียวตอนเชา้ แทบทกุ บา้ นในตอนสายหมูศ่ รัทธา
จะจดั ภัตตาหารไปถวายให้พระสงฆ์ทวี่ ัดทุกวัน อีกทั้งในวนั ธรรมสวนะจะมีผคู้ นไปทำบุญทว่ี ดั อย่างเนืองแน่น
ซง่ึ สง่ิ เหล่าน้ีเป็นหลักการท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงความผกู พนั ระหว่างวัด กบั ชาวบ้านในเมอื งหลวงพระบาง ไดเ้ ป็น
อยา่ งดี (วรลญั จก์ บุณยสรุ ัตน์, 2555)
วดั ถอื ไดว้ ่าเป็นสถานท่ยี ดึ เหนี่ยวจิตใจคนลาวในหลวงพระบาง และยังเป็นสถานท่ที เ่ี ป็นจดุ สว่ นรวม
วฒั นธรรมหลายด้าน โดยเฉพาะอุโบสถ ถือไดว้ า่ เป็นสถานที่ทส่ี ำคัญในการประกอบพิธกี รรมทางศาสนา
อโุ บสถหรอื ท่ชี าวหลวงพระบางเรียกว่าอาราม และเรียกทวั่ ไปว่าสมเปน็ อาคารทส่ี ำคัญมากของวดั สันนิษฐาน
ว่าสิมคงแปลง มาจากคำวา่ “สมี า” คือ “พัทธสีมา” ท่ใี ช้เรยี กอุโบสถท่มี ีการผูกเสมาเป็นหลกั กำหนดเขตไว้
โดยรอบสิมของหลวงพระบางมลี ักษณะเดน่ ท่ีรวมวหิ าร และอโุ บสถเขา้ ไว้ดว้ ยกนั ไมน่ ิยมแยกเป็นวหิ าร ซุ้ม
ประตูอโุ บสถ หมายถงึ ลวดลายการตกแต่ง รปู ทรง ท่บี รเิ วณประตทู างเขา้ อุโบสถวัดนั้น เปน็ องค์ประกอบที่
สำคัญในการเขา้ ไปภายในอโุ บสถ(วรลัญจก์ บณุ ยสุรัตน์, 2548) วัดแสนสขุ าราม ก็เป็นอีกวดั ทีม่ ีอุโบสถท่มี ี และ
มีซมุ้ ประตูท่มี ีการสรา้ งแบบผสมผสาน ซ่ึงปรากฏหลักฐานศิลปะรัตนโกสนิ ทรใ์ นซมุ้ ประตูอโุ บสถ
วดั แสนสขุ ารามเดมิ ช่ือวัดแสน เป็นวัดเก่าแก่ท่ีสรา้ งข้นึ เมอื่ พ.ศ. 2261 โดยตาเจา้ รงั่ ในสมัยเจ้าก่ิงกสิ
ราช ภายหลังทีน่ ครหลวงพระบางแยกออกจากนครเวยี งจนั ทน์ ได้ 11 ปี ได้สรา้ งทบั วดั เก่าในวมยั พทุ ธศตวรรษ
ท่ี 20 ต่อมาจึงได้ตง้ั ช่อื ใหมช่ ่อื ว่า วัดแสนสขุ าราม อุโบสถท่ีวัดแสนสุขาราม เปน็ สถานท่ีทมี่ ีรปู แบบการสรา้ งที่
ไดร้ ับอิทธิพลจากหลายสมยั ซง่ึ วดั แสนสขุ าราม และวดั หนองศรีคูณเมือง มีการสรา้ งโบสถแ์ บบผสมผสาน ซ่งึ
เหน็ ได้ชัดจากซุ้มประตูมณฑปทรงปราสาทยอด รปู แบบศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ (วรลัญจก์ บุณยสรุ ตั น์, 2548)
ลกั ษณะทรงมณฑปปราสาทยอดแบบรัตนโกสินทร์
ซุ้มประตูทรงมณฑปเป็นลกั ษณะการจำลองมณฑปปราสาทยอดในศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ มาไวใ้ นซุ้ม
ประตู ซง่ึ รูปแบบมณฑปปราสาทยอดแบบรัตนโกสนิ ทร์มีลักษณะสำคัญ คือ
1) ส่วนบน มอี งคป์ ระกอบท่ีอยู่เหนือส่วนเรือนขึน้ ไป แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น 1) สว่ นยอด ประกอบดว้ ย
ปลยี อด ลกู แก้ว บัวกลมุ่ เหม บลั ลังก์ และองค์ระฆัง 2) สว่ นหลังคา ประกอบด้วย เชงิ กลอน นาคปกั บนั แถลง
และ ท้องไม้ โดยทัง้ สองสว่ นมรี ปู แบบซ้อนเป็นช้ันๆ เหมือนกัน ซึ่งชั้นทปี่ รากฏมที งั้ 3 5 7 ท้ังน้ีข้นึ อยู่กับ
ฐานานุศักดเ์ิ ท่าน้นั เชน่ ปราสาทยอดมณฑปพระพุทธบาทสระบรุ ี พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นต้น
2) ส่วนตัวเรือน ในทางโครงสร้างคอื ส่วนทีท่ ำหน้าทยี่ ึดต่อปราสาทยอดมลี ักษณะ ปดิ ลอ้ มห่อหุ้ม
อาคาร และรับน้ำหนักจากส่วนหลงั คารวมกับสว่ นตวั เรือนเองถ่ายลงส่โู ครงสร้างส่วนฐาน องคป์ ระกอบสว่ นนี้
ไดแ้ ก่ เสาผนัง ประตู หนา้ ต่าง บันได พ้นื ที่ใชส้ อย เปน็ ตน้
3) ส่วนฐาน ประกอบด้วยพน้ื ฐาน และฐานราก โครงสรา้ งสว่ นฐานทำหนา้ ทรี่ บั น้ำหนักพ้ืนและ
น้ำหนกั ท้งั หมดของอาคาร ถ่ายลงสู่ฐานราก และลงสู่พนื้ ดินอดั ฐานในสถาปตั ยกรรมไทยมหี ลายรูปแบบ เช่น
ฐานบัว ฐานสงิ ห์ ฐานเชงิ บาตร เป็นต้น ซงึ่ เป็นองคป์ ระกอบตกแตง่ อาคาร ตามระเบียบวิธีลักษณะเฉพาะของ
ฐานนั้นๆ และยงั บอกถึงฐานานุศักดข์ิ องผู้ใช้อกี ด้วย (กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม)
ช่อื ภาพ : มณฑปพระพทุ ธบาทสระบุรี ช่ือภาพ : พระท่ีนัง่ ดสุ ติ มหาปราสาท
ทม่ี า : www.muangboranmuseum.com ทีม่ า : th.wikipedia.org/wiki/พระทน่ี ่งั ดสุ ติ มหาปราสาท
สวนท่ีเป็นหัวใจสำคัญของมณฑป คือ สวนยอด ท่ีอยู่ในรูปทรงคล้าย “จอมแห” ส่วนดังกล่าว เป็น
ส่วนทต่ี อ่ เนือ่ งข้นึ มาจากองคประกอบสวนเรือน โดยมณฑปปราสาทยอด มรี ะเบยี บแบบแผนท่คี อนข้างตายตัว
กลาวคือ มีลักษณะเป็นเชิงกลอนซ้อนเป็นชั้นๆ ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญที่สะทอนให้เห็นถึงคุณลักษณะของทรง
มณฑปปราสาทยอด ในศิลปะรัตนโกสินทร์ (เสกสรร พรมสุข,2558)
ลักษณะซุ้มประตูมณฑปทรงปราสาทยอดวดั แสนสุขาราม
ซุม้ ประตูมณฑปทรงปราสาทยอดวัดแสนสขุ าราม เปน็ ซมุ้ ประตูภายในอโุ บสถวัดแสนสุขาราม สร้าง
เม่อื ปีพ.ศ. 2261 และมกี ารบูรณะถึงสองรอบ ในปีพ.ศ. 2475 และพ.ศ. 2500 อุโบสถวดั แสนสขุ ารามมรี ปู แบบ
การสร้างศิลปะผสมผสาน และมีซมุ้ ประตูมณฑปทรงปราสาทยอด ศิลปะรัตนโกสินทร์
ปลียอด
ชอ่ื ภาพ : ซุ้มประตมู ณฑปทรงปราสาทยอดวัดแสนสขุ าราม ลูกแก้ว
ท่ีมา : ฉัตรมงคล ระวิโรจน์
บวั กลุ่ม
นาคปัก เหม
ทอ้ งไม้ บัลลังก์
บันแถลง องคร์ ะฆัง
เชงิ กลอน
สรปุ
จะเหน็ ได้วา่ งานศลิ ปะรัตนโกสินทร์ ทป่ี รากฎในซุ้มประตูมณฑปทรงปราสาทยอดวดั แสนสุขาราม ท่ีมี
รูปทรงคลา้ ยจอมแห ซง่ึ ส่วนดงั กลา่ ว เปน็ ส่วนทตี่ อ่ เนื่องขึ้นมาจากองคประกอบสวนเรือน โดยมณฑปปราสาท
ยอด มรี ะเบยี บแบบแผนท่ีคอนข้างตายตัว กลาวคือ มลี กั ษณะเป็นเชงิ กลอนซ้อนเป็นช้นั ๆ มอี งค์ประกอบที่พบ
อยู่ 2 ส่วน 1) ส่วนยอด ประกอบด้วยปลียอด ลกู แก้ว บวั กลุ่ม เหม บลั ลังก์ และองค์ระฆงั 2) สว่ นหลังคา
ประกอบดว้ ย เชิงกลอน นาคปัก บนั แถลง และ ทอ้ งไม้ โดยทัง้ สองสว่ นมรี ูปแบบซ้อนเปน็ ชน้ั ๆ เหมือนกัน ซ่งึ
ชั้นที่ปรากฏมีทง้ั หมด 7 ชั้น
จากที่กลา่ วมาขา้ งตน้ จงึ พบวา่ ซุม้ ประตูมณฑปทรงปราสาทยอดวัดแสนสุขาราม ได้รบั อิทธพิ ลศลิ ปะ
รตั นโกสนิ ทร์ เพียงแต่เป็นรูปแบบการจำลองเอามณฑปมาไวใ้ นซ้มุ ประตูอโุ บสถ ถือว่าเป็นศิลปะท่มี ีความ
ผสมผสานกนั ในศิลปะลาวหลวงพระบางทีต่ ัวอุโบสถ และมีรปู แบบซุ้มประตูมณฑปทรงปราสาทยอด แบบ
ศิลปะรตั นโกสทิ ร์
อ้างองิ
วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2548). ชื่นชมสถาปัตย์ : วัดในหลวงพระบาง. กรุงเทพมหานคร : เมือง
โบราณ
วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. (2555). ชื่นชมสถาปัตยกรรมในหลวงพระบาง. กรุงเทพมหานคร : เมือง
โบราณ
ศกั ด์ชิ ยั สายสงิ ห.์ (2555). เจดีย์ พระพุทธรปู ฮูปแตม้ สิม ศิลปะลาว และอสี าน. กรุงเทพมหานคร
: มวิ เซียมเพรส.
บุณยกร วชิระเธียรชยั .(2558). สถาปตยกรรมเครือ่ งยอด “ทรงจอมแห” วาด้วยหลักวิชา เสน รูป
และความรูสกึ : กรณีศกึ ษา “ยอดบุษบก-มณฑป”. วารสารหน้าจ่วั
เสกสรร พรมสขุ . (2558). เคร่ืองยอดปราสาทยอดมณฑป. มหาวิทยาลัยศิลปากร