“ภูมปิ ัญญาการทอผา้ ลายมกุ ”
ชุมชนบา้ นนาจาน ตาบลบา้ นโพน
อาเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนคร
นายฉตั รมงคล ระวโิ รจน์
สาขาวจิ ยั วฒั นธรรม ศลิ ปกรรม และการออกแบบ
คณะศลิ ปกรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
รหสั นกั ศกึ ษา 655220002-5
ส า ร บั ญ ➢ ความหมาย
➢ ค ว า ม เ ป็ น ม า
➢ ค ว า ม สา คั ญ
➢ บ ริ บ ท พื้ น ท่ี
➢ ก า ร เ ดิ น ท า ง
➢ อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร ท่ อ ผ้ า ค ร า ม ล า ย มุ ก
➢ ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ผ้ า ค ร า ม ล า ย มุ ก
- ก า ร ผ ลิ ต ค ร า ม
- ขั้น ต อ น ก า ร ท อ
- ล ว ด ล า ย ผ้ า
➢ วิ เ ค ร า ะ ห์
➢ ส รุ ป ผ ล
➢ บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
➢ ภ า พ ก า ร ล ง พื้ น ท่ี
ความหมาย
“ผา้ ครามลายมกุ ” เป็นผา้ ทอทอ้ งถน่ิ ทน่ี าเอาผา้ ยอ้ มครามและการทอผา้ ยกมกุ ทเ่ี ป็นการทอทม่ี รี ปู แบบทโ่ี ดด
เดน่ คอื ลวดลายทเ่ี กดิ จากการทออนั ซบั ซอ้ น อตั ลกั ษณ์ทโ่ี ดดเดน่ เกดิ จากการยกเสน้ ดา้ ยยนื และเสรมิ ดา้ ยยนื พเิ ศษ จน
กลายเป็นลวดลายทย่ี น่ื นูนขน้ึ มาจากผนื ผา้ มองดคู ลา้ ยหน้ามขุ ทย่ี น่ื ออกจากตวั บา้ น ทม่ี ชี อ่ื วา่ ผา้ มกุ กเ็ พราะลายดอกบน
ผา้ นนั้ มเี ล่อื มลายสวยงาม แพรวพราวราวกบั เอาหอยมกุ มาเจยี ระไนแลว้ ฝังไปเป็นลายลงบนผา้ ทงั้ ผนื รวมถึงผา้ ยอ้ ม
ครามทเ่ี พมิ่ ความโดดเดน่ ใหล้ ายมุก (สถาบนั วฒั นธรรมศกึ ษากรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม,ออนไลน์)
ความเป็ นมา
การทอผา้ ครามลายมกุ นบั ตงั้ แต่พ.ศ. 2534 นางสภุ าพอุปคิ ไดน้ าผา้ จอ่ งจากบา้ นหนองสงั ข์ จงั หวดั นครพนม เขา้ มา
ในชุมชน และมกี ารกอ่ ตงั้ กลุม่ ขน้ึ มา โดยนางสทุ ศั ษา งว้ิ พรหม เป็นประธานกลุม่ และมสี มาชกิ ทงั้ หมด 21 คน การดาเนินงานของ
กลุม่ ในตอนนนั้ ยงั ไมเ่ ป็นรปู เป็นรา่ งมากนกั เน่อื งจากคนสว่ นใหญ่ยงั ไมน่ ิยมผา้ พน้ื เมอื งมกี ารทอไวใ้ ช้เองและขายบา้ ง ชาวบา้ นทา
เป็นอาชพี เสรมิ หลกั จากทาไร่ ทานา เสรจ็ เป็นการรวมตวั กนั ของคนในชมุ ชน เพอ่ื ใหช้ าวบา้ นมรี ายไดเ้ สรมิ สมยั ก่อในใชฝ้ ้ายเขน็
มอื ในการทอ สว่ นใหญ่ทอเกบ็ ไวใ้ ชเ้ องในครวั เรอื น
ใน ปี พ.ศ. 2556 มหี น่วยงานภาครฐั ไดม้ าใหค้ วามรแู้ ละคาแนะนากบั ชาวบา้ นใหท้ อผา้ ยอ้ มสจี ากธรรมชาตทิ ม่ี อี ยกู่ บั
ตวั เรา จากใบไม้ เปลอื กไม้ ขโ้ี คลน หรอื จากครงั่ และกลุ่มกเ็ ลยหนั มาทอผา้ ยอ้ มสธี รรมชาติ และใชเ้ สน้ ใยธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ดุ ใน
สมยั กอ่ นบรรพบรุ ษุ ป่ยู า่ ตายาย กย็ อ้ มครามธรรมชาตมิ าโดยตลอด ซง่ึ เป็นภมู ปิ ัญญาทส่ี บื ทอดกนั มาสลู่ ูกหลานเป็นภมู ปิ ัญญาท่ี
ทรงคุณคา่ ทล่ี กู หลานตอ้ งรกั ษาไวส้ บื ไป ทางกลุ่มจงึ ใชภ้ มู ปิ ัญญาทส่ี บื ทอดการยอ้ มครามมาผสมผสานกบั สธี รรมชาตจิ ากเปลอื ก
ไมใ้ บไมท้ ห่ี าจากป่าในชมุ ชน นามาสรา้ งเป็นผา้ ครามมกุ ทเ่ี ป็นการทอจากสธี รรมชาตผิ สมคราม และในปัจจบุ นั มชี อ่ื วา่ “กลุม่ ทอ
ผา้ ครามมกุ ” มนี างสภุ าพ อุปคิ เป็นประธานกลุ่ม มกี ารพฒั นาลายจากอดตี จนมาถงึ ปัจจบุ นั และมผี า้ ครามลายมุกในปัจจบุ นั มี 9
ลายในผนื เดยี ว ทาใหเ้ ป็นทโ่ี ดดเดน่ ของกลุ่ม และมผี ลติ ภณั ฑผ์ า้ พนั คอ ผา้ คลุมไหล่ ผา้ พนั คอลายมกุ ผา้ คลมุ ไหล่ลายมุก ผา้ ถุง
ครามมกุ เป็นตน้ (หทั ยา มอมงุ คุณ,2563)
ความสาคัญ
บา้ นนาจาน อาเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนคร เป็นหมบู่ า้ นหน่ึงทม่ี คี วามโดดเด่นของ
ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นในดา้ นการทอผา้ ชาวบา้ นสามารถทอผา้ พน้ื เมอื งทอมอื ไดส้ วยงามหลายชนิด
โดยเฉพาะผา้ ทอมอื ลายมกุ ซง่ึ นบั วา่ เป็นผา้ ทม่ี ลี วดลายประณีตงดงามเป็นเอกลกั ษณ์ของบา้ นนา
จาน ตาบลบา้ นโพน อาเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนคร ซง่ึ เป็นการสบื ทอดภมู ปิ ัญญาจากบรรพ
บรุ ษุ จนถงึ ปัจจุบนั (วรารตั น์ วฒั นชโนบล,2558)
บริบทพ้ืนท่ี
บา้ นนาจาน มลี กั ษณะพน้ื ทส่ี ว่ นใหญ่เป็นทร่ี าบ สลบั กบั เนินดนิ มกี ารพง่ึ พงิ ธรรมชาติ และมสี งั คมทพ่ี ง่ึ พา
อาศยั แบบเครอื ญาติ ชาวบา้ นนาจานนบั ถอื ศาสนาพทุ ธอยแู่ บบเรยี บงา่ ย และในอดตี มปี ่าไมเ้ ป็นจานวนมาก ลกั ษณะ
ป่าไมเ้ ป็นป่าเบญจพรรณ ไมเ้ ตง็ รงั ไมแ้ ดง ไมป้ ระดู่ มเี น้อื ทท่ี งั้ หมด 7,389 ไร่ โดยมอี าณาเขต ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ตดิ กบั เขตอาเภอกุสุมาลย์
ทศิ ใต้ ตดิ กบั บา้ นวงั บา้ นเซอื ม ตาบลบา้ นโพน
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั บา้ นปุ่งใหญ่ ตาบลนาตงวฒั นา
บ้านนาจาน ตงั้ อยู่ในทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือของจงั หวดั สกลนคร อยู่ห่างจากตวั เมอื งสกลนคร ประมา ณ 54
กโิ ลเมตร
แผนที่
ตงั้ พกิ ดั ทว่ี า่ การอาเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนครไปยงั บา้ นนาจาร ระยะทางประมาณ 18 กโิ ลเมตร
(ทม่ี า : Google.map,เขา้ ถงึ เมอ่ื 14/9/65)
การเดินทาง
เรม่ิ ทห่ี น้าทว่ี า่ การอาเภอโพนนาแกว้ ตรงไปตามถนนหมายเลข 22 ถงึ 3 แยก เลย้ี วซา้ ย ตรงไปตามถนนไปทาง
ไปทางโรงเรยี นโพนพทิ ยาคม บา้ นโพนเพอ่ื ไปยงั บา้ นนาจาน
กอ่ นเขา้ บา้ นนาจาน 1.5 กม. กลมุ่ ทอ่ ผา้ ครามมกุ บา้ นนาจาน
อุ ป ก ร ณ์ ท่ี ใ ช้
ใ น ก า ร ท่ อ ผ้ า ค ร า ม ล า ย มุ ก
1.ฟื ม
2.แปรงหวหี กู
3.กระสวย
4.ฝ้ายซกี วง
(เรยอง)
5 . ห ล า ปั ่น ห ล อ ด
6.หลกั เฝือ
7.หลอด
8.ไมย้ กดอก
9.ลูกตุ้ม
10.ไมเ้ หยยี บเทา้
11.ไม้ขอ
12.กห่ี รอื หกู
กระบวนการ
ผ ลิ ต ผ้ า ค ร า ม ล า ย มุ ก
1 2 3 “ ก า ร ย้ อ ม สี จ า ก ค ร า ม ธ ร ร ม ช า ติ ”
1 . ก า ร เ ต รี ย ม สี ค ร า ม
ธ ร ร ม ช า ติ จ า ก ใ บ ค ร า ม ส ด
2 . ก า ร เ ต รี ย ม น้า ค ร า ม แ ล ะ เ นื้ อ
คราม
3 . ก า ร ก่ อ ห ม้ อ ค ร า ม เ ต รี ย ม น้า
ย้ อ ม
4 56 4 . ก า ร เ ต รี ย ม น้า ขี้ เ ถ้ า ( น้า ด่ า ง )
5 . ก า ร ย้ อ ม ค ร า ม
6 . ก า ร ดู แ ล น้า ย้ อ ม ใ น ห ม้ อ
คราม
“ ขั้น ต อ น ก า ร ท อ ผ้ า ค ร า ม ล า ย
มุ ก ”
1. สบื เสน้ ดา้ ยยนื เขา้ กบั แกนมว้ นดา้ ยยนื และรอ้ ยปลายดา้ ยแต่ละเสน้ เขา้ ในตะกอแต่ละชุมและฟันหวี ดงึ
ปลายเส้นด้ายยนื ทงั้ หมดมว้ นเขา้ กบั แกนมว้ นผ้าอีกด้านหน่ึง ปรบั ความตงึ หย่อนให้พอเหมาะ กรอด้ายเขา้
กระสวยเพอ่ื ใชเ้ ป็นดา้ ยพงุ่
2. เรมิ่ การทอโดยกดเครอ่ื งแยกหมตู่ ะกอ เสน้ ดา้ ยยนื ชุดท่ี 1 จะถูกแยกออกและเกดิ ช่องวา่ ง สอดกระสวย
ดา้ ยพงุ่ ผา่ นสลบั ตะกอชดุ ท่ี 1 ยกตะกอชดุ ท่ี 2 สอดกระสวยดา้ ยพงุ่ กลบั ทาสลบั กนั ไปเรอ่ื ย ๆ
3. การกระทบฟันหวี (ฟืม) เม่อื สอดกระสวยดา้ ยพุง่ กลบั กจ็ ะกระทบ ฟันหวี เพ่อื ใหด้ า้ ยพุ่งแนบตดิ กนั ได้
เน้อื ผา้ ทแ่ี น่นหนา
4. การเกบ็ หรอื มว้ นผา้ เมอ่ื ทอผา้ ไดพ้ อประมาณแลว้ กจ็ ะมว้ นเกบ็ ใน แกนมว้ นผา้ โดยผ่อนแกนดา้ ยยนื ให้
คลายออกและปรบั ความตงึ หยอ่ นใหมใ่ หพ้ อเหมาะ (สทิ ธชิ ยั สมานชาต,ิ 2562)
ตวั อย่างการ
ประกอบครบส่วน
ล ว ด ล า ย ผ้ า มุ ก
รปู แบบทโ่ี ดดเดน่ ของผา้ มกุ คอื ลวดลายทเ่ี กดิ จากการทออนั ซบั ซอ้ น
อตั ลกั ษณ์ทโ่ี ดดเดน่ เกดิ จากการยกเสน้ ดา้ ยยนื และเสรมิ ดา้ ยยนื พเิ ศษ จน
กลายเป็นลวดลายทย่ี น่ื นูนขน้ึ มาจากผนื ผา้ มองดคู ลา้ ยหน้ามขุ ทย่ี น่ื ออกจาก
ตวั บา้ น ทม่ี ชี อ่ื วา่ ผา้ มกุ กเ็ พราะลายดอกบนผา้ นนั้ มเี ลอ่ื มลายสวยงาม แพรว
พราวราวกบั เอาหอยมุกมาเจยี ระไนแลว้ ฝังไปเป็นลายลงบนผา้ ทงั้ ผนื (สุภา
รตั น์ รตั นวรรณโสภา,2547)
ลายเหรยี ญชยั
ลายน้ีเปน็ ลวดลายที่ชา่ งทอผ้าออกแบบข้ึนเองโดยใสช่ ่อื ของหลานชายเป็นช่ือลาย "เหรยี ญ
เพชร" เปน็ การออกแบบและรังสรรค์ลวดลายของช่างทอผ้ามุก ทาให้ลวดลายบนผ้ามกุ
เพ่ิมขนึ้ ไปเรอ่ื ยๆ ลกั ษณะของลวดลาย ลายนี้จดุ เดน่ จะอย่ทู ร่ี ปู สเ่ี หลย่ี มดา้ นขนานที่อยตู่ รง
กลางและมกี ารใชเ้ ส้นดา้ ยออกแบบการตกแต่งให้ลวดลายมคี วามโดดเดน่ บนผืนผา้
ลวดลายยอดนิ ยม
ลายนาค
ลายนาคเป็นลายทีแ่ ฝงความเช่อื ลงไปในผนื ผ้า เพราะคนอีสานส่วนมากจะมีความเช่ือเรื่อง
พญานาคเป็นส่วนมากและนับถือ ช่างทอผ้าในสมัยโบราณจึงดัดแปลงตัวพญานาคมาใส่กับผื่นผ้า
เพอื่ ให้เกดิ ความขลังและศกั ด์ิสิทธ์ิและทาให้ผ้าน่าเกรงขามไม่ทาสุรุ่ยสุร่าย ถือว่าเป็นการรักษาผ้า
ฝนสมัยอดีตได้ดี ลักษณะของลวดลาย จะเป็นพญานาคชูคอ ท่ีหลังใส่กันและมีรูปส่ีเหล่ียมด้าน
ขนานตรงกลางเพ่ือให้เกดิ ความโดดเด่นของผืนผ้าและมีพญานาคอีก 2 ตัวที่หันหัวลงข้างล้าง การ
ทอในลกั ษณะแบบนเ้ี ปน็ การทาให้ลายของผา้ มกุ บาลานซ์กนั ไดพ้ อดี
ลายเต่า
ลายเตา่ ใหญเ่ ป็นลายท่ไี ดม้ ากจากสตั วน์ า้ คือ เต่า โดยชา่ งทอมคี วามเช่ือวา่ เตา่ มอี ายุยืนยาว
เลยประดิษฐ์ลายเต่าใหญ่ขึ้นมาใส่กับผ้ามุก เพื่อให้ผ้ามีอายุยืนยาวเหมือนกับเต่า ลักษณะ
ของลาย จะเปน็ รูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนานเปรียบเสมอื นตวั ของเตา่ และมรี ปู สเ่ี หลีย่ มดา้ นขนาน
เลก็ ๆเปรียบเสมือนขาของเต่า
วิเคราะห์
รปู ธรรม
จากการลงพน้ื ทเ่ี พอ่ื ศกึ ษาภมู ปิ ัญญาการทอผา้ ลายมกุ ชมุ ชนบา้ นนาจาน ตาบลบา้ นโพนอาเภอโพนนาแก้ว จงั หวดั
สกลนคร พบวา่ ในหมบู่ า้ นนาจาน ตาบลบา้ นโพน อาเภอโพนนาแกว้ จงั หวดั สกลนคร มภี มู ปิ ัญญาการทอผา้ ลายมกุ ละ
กระบวนการทอผา้ ลายมกุ ทม่ี กี ระบวนการผลติ จากวสั ดุธรรมชาติ ทงั้ การยอ้ มผา้ จากตน้ คราม ทอผา้ ดว้ ยมอื จนออกมาเป็น
ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน ซง่ึ ในยคุ ปัจจบุ นั ปฏเิ สธไมไ่ ดเ้ ลยวา่ การทอ่ ผา้ ในปัจจบุ นั ผลติ ขน้ึ เพอ่ื สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครวั
นามปธรรม
การผา้ ในอดตี มไี วเ้ พอ่ื การนุ่งหม่ ของคนในชุมชน หลงั จากมเี วลาวา่ งจากการทานา หรอื ทางานของคนแต่ละคน โดย
ผา้ อสี าน การทอผา้ เป็นอุตสาหกรรมภายในบา้ นอนั เป็นหน้าทข่ี องผหู้ ญงิ ชาวพน้ื เมอื งมกั จะใชเ้ วลาวา่ ง หลงั จากการเกบ็ เกย่ี วมา
ทอผา้ สาหรบั ผใู้ ชใ้ นครอบครวั หรอื ทอไวส้ าหรบั ถวายพระในเทศกาลต่าง ๆ ชาวอสี านรบั เอาอทิ ธพิ ลของธรรมชาตริ อบขา้ งมาใช้
เป็นศลิ ปะในการทอผา้ ลายตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งงดงาม
สรุปผล ภาครฐั ไดเ้ ขา้ มาเรง่ เหน็
นางสภุ าพ อปุ คิ ความสาคญั ของผา้ ครามลาย
มกุ ทบ่ี า้ นนาจานและเขา้ มา
และนางจรยิ า คาตะลบ ตงั้ กลมุ่ ทอผา้ สนบั สนุนการทอผา้ เป็นการทอ
“กลมุ่ ผา้ จอ่ ง”
ไดไ้ ปฝึกการทอผา้ ท่ี ผา้ จากสธี รรมชาติ
2536
บา้ นหนองสงั ข์
สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ เรยี นรู้ 2535 เผยแพร่ พฒั นา 2556 สร้างรายได้
พระบรมราชินีนาถ พระ 2535 2546 2556
บรมราชชนนีพนั ปี หลวง
นารปู แบบการ นาเอาภมู ปิ ัญญาทม่ี ี นางสภุ าพ อุปคิ
ทอผา้ ยกมกุ ของ อยแู่ ลว้ มาปรบั เขา้ กบั เปลย่ี นชอ่ื กลมุ่ ทอผา้
บา้ นหนองสงั ขใ์ ชใ้ นการสรา้ ง ลายผา้ มกุ ทม่ี ี และเพม่ิ “กลุม่ ผา้ ครามลายมกุ ”
รายไดใ้ หก้ บั ตนเอง และเป็นวสิ าหกจิ ชมุ ชน
ลวดลายในผา้ ขน้ึ
การทอผา้ ครามลายมุกเกดิ จากนางสุภาพ อุปคิ และนางจรยิ า คาตะลบ ทม่ี ที กั ษะการทอผา้ อยแู่ ลว้ แต่เป็นการทอผา้ ทไ่ี มม่ อี ะไรโดดเด่น
และไมไ่ ดม้ ลี วดลายอะไรผา้ เพราะเป็นการทอผา้ เพอ่ื ใชใ้ นครอบครวั เท่านนั้ แต่เน่ืองดว้ ยในปี พ.ศ. 2534 ไดเ้ หน็ ขา่ วเกย่ี วกบั พระราชกรณียกจิ
ของ สมสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทพ่ี ระองคท์ า่ นใหค้ วามสนใจในผา้ และอยากใหป้ ระชาชนใน
ประเทศไดอ้ นุรกั ษ์ และเผยแพรค่ วามเป็นผา้ พน้ื บา้ นทต่ี วั เองมอี ยแู่ ลว้ ใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั และเป็นการสรา้ งรายไดใ้ หต้ นเองกบั ครอบครวั
ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล
น า ง จ ริ ย า คา ต ะ ล บ
ร อ ง ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม ก ลุ่ ม ผ้ า ค ร า ม ล า ย มุ ก
บรรณานุกรม
วรารตั น์ วฒั นชโนบล.(2558).การจดั การความรกู้ ารทอผา้ พน้ื บา้ นของกลุม่ อาชพี เสรมิ บา้ นสขุ
สทิ ธชิ ยั สมานชาต.ิ (2562). มรดกภมู ปิ ัญญาสง่ิ ทออสี าน. กรงุ เทพ:โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั
สุภารตั น์ รตั นวรรณโสภา. (2547).พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคและปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดทม่ี ผี ลต่อการตดั สนิ ใจซ้อื ผา้ มกุ ของเขา้
ราชการในเขตเทศบาลเมอื ง จงั หวดั นครพนม. บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
สถาบนั วฒั นธรรมศกึ ษากรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม. www.twistthaitrends.com,ออนไลน์
หทั ยา มอมงุ คณุ . (2563). การทกั ทอลายมกุ บนผา้ คราม โพนนาแกว้ .
จ บ ก า ร นา เ ส น อ