The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.3 บทที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lewkunchaporn, 2022-05-08 05:57:43

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.3 บทที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.3 บทที่ 1

แผนการจดั การเรียนรู้ ป.3

วิชา คณติ ศาสตร์

บทท่ี 1



คำนำ

การจัดทาแผนกา ร จัด กา รเ รีย นรู้ นับ เป็ นวิธี ห นึ่งที่ ทาให้ ค รูผู้ส อ นไ ด้มีกา รเ ต รียมกา ร ส อ น
ล่วงหน้า ก่อนท่จี ะทาการสอนจริง โดยมีการเตรยี มเนอื้ หาเตรยี มกจิ กรรม เตรียมสือ่ การเรียนการสอน
รวมทั้งวิธีการวัดผลประเมินผลซึ่งการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมท่ีจะสอนให้
ผเู้ รียนบรรลุตามจุดมงุ่ หมายของหลักสตู ร

การจัดทาแผนการจัดการเรียนร้ฉู บับนี้ ผจู้ ดั ทาได้ศึกษาค้นคว้าหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) เอกสารอื่นๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง วิเคราะห์
หลักสตู ร จดั ทากาหนดการสอน โครงสรา้ งรายวิชา และหารปู แบบการทาแผนการจัดการเรยี นรู้โดย
เนน้ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นผ่านกระบวนการคดิ ดว้ ยตนเอง โดยคานงึ ถึงสภาพแวดล้อมของผู้เรียน โรงเรียน
และชุมชนเป็นหลกั

แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เพ่ือพัฒนาความเข้าใจ
เก่ียวกับสัญลักษณ์ และการดาเนินการต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยเน้นขั้นตอนหรื อวิธีการทาง
คณติ ศาสตร์ จัดทาไวเ้ พ่อื สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้ทุก
ปีการศึกษา ผู้ทจ่ี ะนาไปใช้ควรอา่ นคาชี้แจงการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ให้เขา้ ใจก่อนนาไปใชจ้ ริง

ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้จะช่วยให้การเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ดาเนินไปด้วยดี และทาให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถ มที กั ษะกระบวนการและมีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตรงตามจุดม่งุ หมายของหลักสูตร
ต่อไป

กัญชพร เชอื่ มชิต

สารบญั ข

เรื่อง หน้า
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1
ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2
คาอธบิ ายรายวิชา 7
โครงสร้างเวลาเรียน 9
โครงสรา้ งรายวิชา 10
กาหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 11
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 12
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 17
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 23
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 27
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 31
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 36
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 40
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 44
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 48
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 10 53
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11 57
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 12 61
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 13 65
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 14 69
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 15 73
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 16 77
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 17 81
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 18 85

1

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ

จานวน ผลที่เกิดข้ึนจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาท่ี
กาหนดให้

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีต้องการวัดและ

นาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง

รูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการแก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลกั การนับเบอ้ื งต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

2

ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ

จานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ
นาไปใช้

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. 3 จานวนนับไม่เกนิ 100,000 และ 0

1. อา่ นและเขียน ตวั เลขฮินดูอารบิก - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดอู ารบกิ

ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือ แสดง ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน

จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 - หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักและ

2. เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนบั การเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรูป

ไมเ่ กิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ กระจาย

- การเปรยี บเทียบและเรียงลาดบั จานวน

เศษสว่ น

3. บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วนแสดง - เศษส่วนทมี่ ีตัวเศษนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กับ

ปริมาณสงิ่ ต่างๆ และแสดงสง่ิ ตา่ งๆ ตวั สว่ น

ตามเศษส่วนที่กาหนด - การเปรยี บเทยี บและเรียงลาดบั

4. เปรียบเทียบเศษสว่ นที่ตวั เศษเท่ากัน เศษสว่ น

โดยทีต่ ัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตวั

ส่วน

การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน

5. หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0

สญั ลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ

สญั ลักษณ์แสดงการลบของจานวนไม่ - การคณู การหารยาวและการหารส้ัน

เกิน 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คูณ หารระคน

6. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค - การแก้โจทยป์ ัญหาและการสร้างโจทย์

สญั ลักษณ์ แสดงการคูณของจานวน 1 ปัญหา พร้อมท้งั หาคาตอบ

หลักกับจานวนไม่เกิน 4 หลัก และ

จานวน 2 หลกั กับจานวน 2 หลกั

7. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยค

สญั ลักษณ์ แสดงการหารท่ีตวั ตั้งไมเ่ กิน

4 หลกั ตวั หาร 1 หลัก

3

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน

ของจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0

9. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2

ขน้ั ตอน ของจานวนนับไม่เกนิ

100,000 และ 0

การบวก การลบเศษส่วน

10. หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวส่วน - การบวกและการลบเศษส่วน

เทา่ กนั และผลบวกไม่เกนิ 1 และหาผล - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและโจทย์

ลบของเศษสว่ นทม่ี ตี วั ส่วนเทา่ กัน ปัญหาการลบเศษส่วน

11. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการ

บวกเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ นเท่ากันและ

ผลบวกไม่เกนิ 1 และโจทย์ปัญหาการ

ลบเศษสว่ นท่มี ีตวั ส่วนเทา่ กัน

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชนั ลาดบั และอนกุ รม และ

นาไปใช้

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 แบบรูป
1. ระบุจานวนท่หี ายไปในแบบรูปของ - แบบรูปของจานวนทเ่ี พิ่มข้นึ หรอื ลดลง
จานวนท่เี พิ่มขึน้ หรือลดลงทลี ะเท่าๆ
กัน ทลี ะเทา่ ๆ กัน

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พนั ธ์หรอื ชว่ ยแกป้ ัญหาท่ี
กาหนดให้

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3 - -

4

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกย่ี วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ที่ตอ้ งการวัดและ

นาไปใช้

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 เงนิ

1. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา - การบอกจานวนเงินและเขียนแสดง

เกีย่ วกบั เงิน จานวนเงิน แบบใช้จดุ

2. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หา - การเปรยี บเทยี บจานวนเงินและการ

เก่ยี วกับเวลา และระยะเวลา แลกเงนิ

- การอ่านและเขียนบันทึกรายรบั

รายจา่ ย

- การแก้โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับเงิน

เวลา

- การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที

- การเขยี นบอกเวลาโดยใช้มหพั ภาค (.)

หรอื ทวิภาค (:) และการอา่ น

- การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที

- การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้

ความสมั พันธ์ระหวา่ งชัว่ โมงกบั นาที

- การอ่านและการเขียนบนั ทึกกิจกรรมท่ี

ระบุเวลา

- การแกโ้ จทย์ปญั หาเกยี่ วกบั เวลาและ

ระยะเวลา

ความยาว

3. เลือกใช้เครือ่ งมือวัดความยาวท่ี - การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตรและ

เหมาะสมวดั และบอกความยาวของส่งิ มลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร

ต่างๆ เปน็ เซนติเมตรและมิลลเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร

เมตรและเซนตเิ มตร - การเลือกเครือ่ งมอื วัดความยาวท่ี

4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ เหมาะสม

เซนติเมตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ

5. เปรยี บเทยี บความยาวระหวา่ ง เปน็ เซนติเมตร

เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกบั - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้

เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก ความสมั พันธร์ ะหว่างหนว่ ยความยาว

สถานการณ์ตา่ งๆ - การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั ความยาว

5

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป. 3 6. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา

เกีย่ วกบั ความยาวที่มีหน่วยเปน็

เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร เมตรและ

เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร

น้าหนัก

7. เลือกใช้เครือ่ งช่ังที่เหมาะสม วัดและ - การเลอื กเคร่ืองช่งั ทีเ่ หมาะสม

บอกนา้ หนักเป็นกโิ ลกรัมและขดี - การคาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและ

กิโลกรมั และกรมั เปน็ ขีด

8. คาดคะเนน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและเปน็ - การเปรียบเทยี บนา้ หนักโดยใช้

ขดี ความสมั พนั ธ์ระหว่างกโิ ลกรัมกบั กรัม

9. เปรียบเทียบน้าหนักระหวา่ งกโิ ลกรมั เมตรกิ ตันกับกิโลกรัม

และกรมั เมตริกตนั กบั กิโลกรมั จาก - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั นา้ หนัก

สถานการณ์ต่างๆ

10. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา

เกย่ี วกับน้าหนักที่มีหน่วยเปน็ กิโลกรัม

กบั กรมั เมตรกิ ตันกับกิโลกรัม

นา้ หนัก

11. เลือกใชเ้ ครื่องตวงที่เหมาะสม วดั และ - การวัดปรมิ าตรและความจุเปน็ ลิตร

เปรียบเทียบปริมาตร ความจเุ ปน็ ลิตร และมลิ ลิลิตร

และมลิ ลิลติ ร - การเลือกเครื่องตวงทเ่ี หมาะสม

12. คาดคะเนปริมาตรและความจเุ ป็นลิตร - การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็น

13. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปญั หา ลิตร

เก่ียวกับปรมิ าตรและความจทุ ่มี หี นว่ ย - การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ

เป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งลติ รกับ

มิลลลิ ิตร ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวงกบั

มลิ ลิลิตร

- การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ปริมาตร

และความจุทีม่ ีหนว่ ยเปน็ ลติ รและ

มลิ ลิลิตร

6

สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ ง

รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 รูปเรขาคณิตสองมิติ
1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมติ ทิ ่ีมีแกน - รปู ทมี่ ีแกนสมมาตร
สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร

สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการแก้ปัญหา

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอ

1. เขียนแผนภูมริ ูปภาพ และใชข้ อ้ มลู จาก ข้อมลู

แผนภมู ริ ูปภาพในการหาคาตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนก

โจทยป์ ัญหา ข้อมลู

2. เขียนตารางทางเดียวจากขอ้ มลู ทเ่ี ป็น - การอา่ นและการเขียนแผนภมู ริ ูปภาพ

จานวนนบั และใช้ขอ้ มลู จากตารางทาง - การอา่ นและการเขยี นตารางทางเดียว

เดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา (one – way table)

สาระที่ 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนบั เบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป. 3 - -

7

คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ าพ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 200 ชว่ั โมง/ปี

ศึกษาการอ่านและการเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนงั สอื แสดงจานวนนบั หลัก

ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทียบจานวน
การเรียงลาดับจานวน แบบรูปของจานวนท่ีเพิ่มขนึ้ และลดลง การบวกจานวนนับท่ีมีผลบวกไม่เกนิ
100,000 การบวกจานวนสามจานวนท่ีมีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์
ปญั หาการบวก การลบจานวนทีม่ ีตวั ตง้ั ไมเ่ กนิ 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตวั ไมท่ ราบ
ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ

การคูณจานวนหนึ่งหลักกบั จานวนไมเ่ กินส่หี ลัก การคณู กับจานวนสองหลักกับจานวนสองหลัก โจทย์
ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหาการลบ การหารทม่ี ีตัวตง้ั ไม่เกินส่ีหลกั และตวั หารมีหนึ่งหลัก การหา
ตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา
การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร

การเลือกเครื่องมือวัดความยาวทเี่ หมาะสม การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ เปน็ เซนติเมตร การ
เปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหว่างหนว่ ยความยาว โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ความยาว รปู
ท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ
เทา่ กับตัวสว่ น การเปรียบเทียบเศษสว่ น การเรยี งลาดับเศษสว่ น การบวกเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเท่ากัน
การลบเศษส่วนทมี่ ีตวั สว่ นเท่ากัน โจทย์ปญั หาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้าหนัก

เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องช่ังที่เหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น
กิโลกรมั และเป็นขีด การเปรียบเทยี บน้าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตัน
กับกโิ ลกรมั โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั น้าหนัก การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตรและมลิ ลิลิตร การเลือก
เคร่ืองตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ

ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์
ปัญหาเก่ยี วกับปริมาตรและความจุที่มหี น่วยเป็นลิตรและมิลลลิ ิตร การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และจาแนก
ขอ้ มูล การอา่ นและเขยี นแผนภูมริ ูปภาพ การอ่านและเขียนตารางทางเดยี ว การบอกเวลาเปน็ นาฬิกา
และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาที การเปรียบเทยี บ
ระยะเวลาโดยใช้ความสมั พนั ธร์ ะหว่างช่ัวโมงกบั นาที การอ่านและการเขยี นบันทกึ กิจกรรมท่ีระบุเวลา

โจทย์ปัญหาเก่ยี วกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบตั รชนิดต่างๆ การบอกจานวนเงินและ
เขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน
และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์
ปัญหาและการสร้างโจทย์ปญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน

โดยการจดั ประสบการณ์หรอื สร้างสถานการณท์ ี่ใกล้ตัวผู้เรยี นได้ศกึ ษา ค้นคว้า ฝกึ ทักษะ โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ
การแกป้ ญั หา การให้เหตผุ ล การเช่ือมโยง การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์

8

ด้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ และใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
อยา่ งสร้างสรรค์

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี
ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์และมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง

ตวั ช้ีวดั
ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2

รวม 28 ตัวชวี้ ัด

9

โครงสร้างเวลาเรยี น ภาคเรียนท่ี 1
กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

บทที/่ เร่ือง เวลา (ช่วั โมง)
ภาคเรียนท่ี 1
บทท่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 18
บทที่ 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 28
บทท่ี 3 เวลา 16
บทที่ 4 รูปเรขาคณติ 2
บทที่ 5 แผนภมู ิรูปภาพและตารางทางเดียว 7
บทท่ี 6 เศษส่วน 16
บทท่ี 7 การคณู 18

รวมภาคเรียนท่ี 1 105

10

โครงสร้างรายวชิ า

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา
เรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั (ชม.)
จานวนนับไมเ่ กิน ค 1.1
100,000 จานวนนับท่ีไม่เกิน 100,000 และ 0 สามารถอ่าน 18
ป.3/1
ป.3/2 และเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย

และตวั หนงั สือ จานวนตา่ ง ๆ จะมีคา่ มากหรือน้อย

ข้ึนอยู่กับจานวนหลักและค่าของตัวเลขในแต่ละ

หลักท่ีจะทาให้จานวนมีค่าแตกต่างกัน ซ่ึงจานวน

นับท่ีไม่เกิน 100,000 จะเป็นการบอกจานวนท่ีมี

ตวั เลขที่ไม่เกินหกหลัก จานวนนับไมเ่ กิน 100,000

สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากัน

หรือไม่เท่ากันและค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่า

หรือน้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึ่งเท่าน้ัน โดยใช้

เครือ่ งหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทียบ การ

เรยี งลาดบั จานวน หลาย ๆ จานวน ทาได้โดยการ

เปรียบเทียบจานวนทุก ๆ จานวน แล้วเรียงลาดับ

จานวนจากนอ้ ยไปมาก หรือจากมากไปน้อย

11

กาหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 จานวนนบั ไม่เกนิ 100,000

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี เร่ือง จานวน
(ช่วั โมง)
1 การอ่านและเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และ
ตัวหนงั สือแสดงจานวน 1

2 การอา่ นและเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และ 1
ตวั หนงั สือแสดงจานวน
1
3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลข
แสดงจานวนในรูปกระจาย 1

4 หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขยี นตัวเลข 1
แสดงจานวนในรูปกระจาย
1
5 หลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขียนตัวเลข 1
แสดงจานวนในรูปกระจาย 1
1
6 การเปรยี บเทียบจานวน 1
7 การเปรยี บเทียบจานวน 1
1
8 การเปรียบเทยี บจานวน 1
9 การเรียงลาดบั จานวน 1
1
10 การเรยี งลาดบั จานวน 1
1
11 แบบรูปของจานวนที่เพม่ิ ขน้ึ ทลี ะ 3 1
12 แบบรูปของจานวนทีเ่ พม่ิ ข้นึ ทลี ะ 5 18

13 แบบรปู ของจานวนที่เพม่ิ ขึ้นทลี ะ 8
14 แบบรปู ของจานวนที่เพมิ่ ขนึ้ ทีละ 10

15 แบบรปู ของจานวนทลี่ ดลงทีละ 3

16 แบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงทลี ะ 5
17 แบบรูปของจานวนทล่ี ดลงทลี ะ 8

18 แบบรูปของจานวนที่ลดลงทลี ะ 10
รวม

12

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ช่วั โมง

เรือ่ ง การอ่านและเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

และตัวหนงั สือแสดงจานวน

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่เี กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัติของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวช้วี ดั
ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน
นับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0

สาระสาคัญ
จานวนนับท่ไี ม่เกิน 100,000 และ 0 เปน็ จานวนท่ปี ระกอบดว้ ยหลักหน่วย หลกั สิบ หลกั รอ้ ย

หลักพัน หลกั หม่ืน และหลกั แสน สามารถอ่านและเขยี นแทนด้วยตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และ
ตวั หนังสอื ซง่ึ ตอ้ งใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) ทกุ ชว่ งสามตาแหนง่ ของจานวนโดยนับจากหลกั หน่วยไป
ทางซ้ายมือ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน

100,000 ได้ (K)

2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000
และ 0 ได้ถกู ต้อง (P)

3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้
ถกู ต้อง

4. นาความรเู้ กีย่ วกับการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสือแสดง

จานวนนับไม่เกนิ 100,000 ไปใชแ้ กป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวน

ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการสือ่ สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง

13

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

กิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ครูจัดกจิ กรรมโดยให้นกั เรียนดูหลักลุกคิดแลว้ ครแู นะนาว่าแต่ละหลักจะมีลูกคิดได้
เพยี ง 9 ลูกถา้ ใสค่ รบ 10 ลกู จะต้องนาลูกคิดในหลักน้ันออกแล้วใส่ลูกคดิ ในหลักถัดไปทางซา้ ย 1 ลกู
เปน็ เชน่ นีท้ ุกหลกั จากนัน้ ครูใสล่ ูกคิดในหลักลูกคิดแสดงจานวนนบั 1,235

หมื่น พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย

ครูถามนกั เรียนว่า

- จานวนลูกคดิ ในหลักหนว่ ยมีกี่ลกู และแสดงจานวนใด (5 ลกู แสดงจานวน

5)

- จานวนลกู คิดในหลกั สิบมีกล่ี กู และแสดงจานวนใด (3 ลูก แสดงจานวน 30)

- จานวนลูกคิดในหลักร้อยมกี ี่ลกู และแสดงจานวนใด (2 ลกู แสดงจานวน

200)

- จานวนลูกคิดในหลักพนั มีกีล่ กู และแสดงจานวนใด (1 ลกู แสดงจานวน

1,000)

ครูสรปุ การเขียนแสดงจานวนบนกระดานดงั น้ี

ตัวเลขฮินดูอารบิก 1,235

ตวั เลขไทย ๑,๒๓๕

ตัวหนังสอื หน่ึงพันสองรอ้ ยสามสิบห้า

ขั้นสอน
1. ครใู ห้นักเรียนใสล่ กู คิดในหลกั หน่วย หลกั สิบ หลักรอ้ ย หลกั พันโดยแตล่ ะหลกั ไมเ่ กิน

9 ลูกหรอื บางหลกั ไม่ต้องใสล่ ูกคดิ แลว้ ให้นกั เรยี นบอกจานวนลกู คิดในแต่ละหลัก เขยี นตวั เลขฮินดู-
อารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ เช่น 5,403 ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ
ตวั หนังสอื แสดงจานวนนับ 5,403 บนกระดานจะได้

14

หมืน่ พนั รอ้ ย สบิ หน่วย

ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก 5,403

ตวั เลขไทย ๕,๔๐๓

ตัวหนังสอื ห้าพันสี่ร้อยสาม

2. ครูนาลกู คิดใสใ่ นหลกั พัน 10 ลกู แล้วถามนักเรียนว่าลกู คดิ แสดงจานวนใด (10 พนั )

ครูแนะนาว่า 10 พันคือ 1 หมื่น แล้วแนะนาว่าจะต้องนาลูกคิดทั้ง 10 ลูกออกแล้วใส่ลูกคิดในหลกั

ถัดไปทางซ้ายของหลักพัน 1 ลูกแทนครูแนะนาว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลักพนั เรียกว่าหลักหมืน่

ดังนั้นลูกคิดในหลักหม่ืน 1 ลูกแสดงจานวน 1 หมื่น ครูเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ

ตัวหนงั สอื แสดงจานวน 1 หมน่ื

ตัวเลขฮินดอู ารบกิ 10,000

ตัวเลขไทย ๑๐,๐๐๐

ตัวเลขหนังสอื หน่ึงหม่ืน

3. ใส่ลูกคิดในหลักหม่นื จนครบ 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจานวนใด (10

หมน่ื )

4. ครแู นะนาว่า 10 หมืน่ คอื 1 แสนแลว้ แนะนาต้องนาลกู คิดในหลักหม่ืน 10 ลูกออก

แล้วใส่ลูกคิดในหลกั ถัดไปทางซ้ายของหลักหมื่น 1 ลูกแทนครแู นะนาว่าหลกั ถัดไปทางซ้ายของหลัก

หมื่นเรยี กว่าหลักแสนแล้วรว่ มกันสรปุ ความสัมพนั ธ์ตา่ งๆ ดงั น้ี

10 หน่วย คือ 1 สิบ

10 สิบ คือ 1 ร้อย

10 ร้อย คอื 1 พัน

10 พัน คือ 1 หมนื่

10 หม่ืน คอื 1 แสน

5. ครจู ัดลูกคิดแสดงจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 ให้นักเรียนบอกจานวนพร้อมท้ังเขียน

ตัวเลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทยและตวั หนงั สือ 2 – 3 ตัวอยา่ ง เชน่ 32,090 56,143 80,755 ครูเขยี น
ตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทยและตวั หนังสอื แสดงจานวนบนกระดาน แลว้ ให้นักเรียนจัดลูกคิดแสดง
จานวนตามครูทก่ี าหนด 3 – 4 ตวั อย่าง เช่น 21,645 43,706 50,289 64,507

6. ครใู หน้ ักเรียนทาใบงานที่ 1 การอา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ

ตัวหนังสือแสดงจานวน เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและ
นักเรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 1

15

ขัน้ สรปุ
1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเขยี นตวั เลขแสดงจานวน

นับทีม่ ากกวา่ 999 แต่ไม่เกนิ 100,000 เลขโดดทางซา้ ยของหลักร้อยอยู่ในหลักพัน เลขโดดทางซ้าย
ของหลกั พันอยใู่ นหลกั หม่นื เลขโดดทางซา้ ยของหลกั หม่ืนอย่ใู นหลักแสน

สอ่ื การเรียนรู้
1. ลกู คดิ หรือหลักลกู คดิ

2. ใบงานที่ 1 การอา่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน

การวดั ผลและประเมินผล

สง่ิ ทีต่ อ้ งการวัด วิธวี ัด เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 1 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
1 การประเมนิ
2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดีข้ึนไป
ทักษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรยี นไดค้ ะแนนระดับ
ทพ่ี งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดีขน้ึ ไป
คุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์

16

ความคิดเหน็ ผู้บริหาร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยูใ่ นระดบั ดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรยี นอยใู่ นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

17

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง

เร่ือง การอา่ นและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรียน 1 ช่วั โมง

และตัวหนงั สือแสดงจานวน

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลทีเ่ กิดขน้ึ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตวั ชวี้ ัด
ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจานวน
นบั ไมเ่ กนิ 100,000 และ 0

สาระสาคัญ
หลกั เลขประกอบหลักหนว่ ย หลักสบิ หลักรอ้ ย หลกั พัน หลกั หม่ืน และหลกั แสน โดยแต่ละ

หลักจะมีคา่ ประจาหลักเปน็ 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดทีอ่ ยู่
หลักต่างกนั ของจานวนนับมคี า่ ต่างกนั ยกเวน้ 0 อย่ใู นหลกั ใดกย็ งั มีคา่ เท่ากับ 0

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน

100,000 ได้ (K)
2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000

และ 0 ได้ถกู ต้อง (P)
3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้

ถกู ต้อง
4. นาความรูเ้ ก่ียวกับการอา่ นและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดง

จานวนนับไม่เกนิ 100,000 ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรียนรู้
การอา่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง

18

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น

1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับหลกั ลกู คิดแตล่ ะหลัก โดยครู
สาธิตการใชล้ ูกคิดหนา้ ชน้ั เรยี น แลว้ ต้ังคาถามให้นักเรยี นตอบ ดังน้ี

หม่นื พัน ร้อย สิบ หน่วย

ครถู ามนักเรียนว่า
- หลักลกู คิดด้านขาวมอื สุดใชแ้ ทนจานวนในหลกั ใด (หลักหนว่ ย)
- หลักลูกคิดถดั จากหลกั หนว่ ยไปทางซา้ ยมอื ใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั

สิบ)
- หลักลูกคดิ ถัดจากหลักสบิ ไปทางซา้ ยมอื ใชแ้ ทนจานวนในหลักใด (หลกั

ร้อย)
- หลกั ลูกคดิ ถดั จากหลักรอ้ ยไปทางซา้ ยมือใชแ้ ทนจานวนในหลักใด (หลัก

พัน)
- หลักลูกคดิ ถัดจากหลกั พนั ปทางซา้ ยมือใชแ้ ทนจานวนในหลกั ใด (หลัก

หมน่ื )
2. ครูขออาสาสมคั รนกั เรียน 1 คน ออกมาหยิบลูกคิดใสในหลักลกู คดิ แสดงจานวนไม่

เกนิ 100,000 ตามความต้องการของนกั เรยี น แลว้ นักเรยี นทงั้ ชัน้ อ่านตวั เลขที่แทนดว้ ยหลักลกู คิดนัน้

3. ครนู าลูกคดิ ใสใ่ นหลักลูกแสดงจานวนนบั 3,052 ดังรูป

หมน่ื พนั ร้อย สบิ หน่วย

19

ครูต้งั คาถามให้นักเรยี นตอบดังนี้
- หลักพันมีลกู คิดจานวนก่ีลูก และแสดงจานวนใด (3 ลูก แสดงจานวน 3,000)
- หลักร้อยมีลกู คิดจานวนกลี่ กู และแสดงจานวนใด (0 ลูก แสดงจานวน 0)
- หลักสบิ มลี กู คดิ จานวนก่ลี ูก และแสดงจานวนใด (5 ลกู แสดงจานวน 50)
- หลกั หน่วยมีลกู คิดจานวนกล่ี กู และแสดงจานวนใด (2 ลกู แสดงจานวน 2)
- หลักลกู คิดแสดงจานวนใด อา่ นวา่ อย่างไร (3,052 อา่ นวา่ สามพนั หา้ สิบสอง)
ขน้ั สอน
1. ครูแจกบัตรภาพตอ่ ไปนีใ้ ห้นักเรียนกล่มุ ละ 4 ใบ ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุม่ ช่วยกันเขียน
วงกลมแทนลูกคิดลงในบัตรภาพให้สอดคลอ้ งกับจานวนท่ีกาหนดให้

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย หม่นื พัน ร้อย สบิ หน่วย

37,028 40,869

หมื่น พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย หมน่ื พัน รอ้ ย สิบ หนว่ ย

57,475 38,009

นกั เรยี นช่วยกนั เขยี นตัวเลขไทยและตวั หนงั สือแสดงจานวน ดังน้ี
37,028 ๓๗,๐๒๘ สามหม่นื เจด็ พนั ยส่ี บิ แปด

40,869 ๔๐,๘๖๙ สหี่ มื่นแปดร้อยหกสิบเก้า
57,475 ๕๗,๔๗๕ ห้าหม่ืนเจ็ดพันส่รี ้อยเจด็ สบิ ห้า
38,009 ๓๘,๐๐๙ สามหมืน่ แปดพนั เก้า
2. ครูแจกบัตรภาพหลักลูกคิดให้นักเรียนกลุ่มละ 4 ใบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั

เขยี นจานวนแทนลูกคดิ ลงในบัตรภาพใหส้ อดคล้องกบั ภาพท่กี าหนดให้

20

หมนื่ พัน ร้อย สบิ หน่วย หมื่น พนั ร้อย สิบ หน่วย

หม่ืน พนั ร้อย สบิ หน่วย หมื่น พนั ร้อย สบิ หนว่ ย

นกั เรียนช่วยกนั เขยี นตัวเลขไทยและตวั หนงั สือแสดงจานวน ดงั น้ี
17,592 ๑๗,๕๙๒ หน่งึ หมื่นเจด็ พันห้ารอ้ ยเกา้ สิบสอง
53,156 ๕๓,๑๕๖ ห้าหมนื่ สามพนั หนงึ่ ร้อยหา้ สิบหก
47,232 ๔๗,๒๓๒ สี่หมื่นเจ็ดพนั สองร้อยสามสิบสอง
63,236 ๖๓,๒๓๖ หกหมนื่ สามพันสองร้อยสามสิบหก

3. ครูติดบัตรตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 บนกระดาน 3-4 จานวน แล้ว
สาธติ การอา่ นแต่ละจานวนให้นักเรียนฟัง โดยใหน้ กั เรียนร่วมกันอ่านตาม

94,354 50,280 38,753 85,427

4. ครใู ห้นักเรียนทาใบงานท่ี 2 การอา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ
ตัวหนังสือแสดงจานวน เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ
นกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 2

ขน้ั สรุป
1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรรู้ ว่ มกัน ดังน้ี จานวนนับท่ีไม่เกิน 100,000

สามารถอ่านและเขยี นแทนดว้ ยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสอื ซงึ่ การบอกจานวนไม่
เกนิ 100,000 จะเปน็ การบอกจานวนที่มตี วั เลขไมเ่ กนิ หกหลัก

21

สอื่ การเรียนรู้
1. ลูกคิดหรือหลกั ลกู คดิ
2. บตั รภาพ
3. บัตรตัวเลข
4. ใบงานที่ 2 การอ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวน

การวดั ผลและประเมินผล

สง่ิ ทตี่ ้องการวัด วธิ ีวดั เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน
1. ดา้ นความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 2 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์
2 การประเมนิ
2. ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกต นักเรยี นได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คุณภาพดขี ้ึนไป
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดับ
ที่พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขนึ้ ไป
คณุ ลกั ษณะ
ท่ีพึงประสงค์

22

ความคิดเหน็ ผู้บริหาร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยูใ่ นระดบั ดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรยี นอยใู่ นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

23

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชวั่ โมง

เรื่อง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตัวเลข เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง

แสดงจานวนในรปู กระจาย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลทีเ่ กิดขนึ้ จากการดาเนินการ สมบัติของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวชว้ี ัด
ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือ แสดงจานวน
นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0

สาระสาคญั
หลกั เลขประกอบหลกั หน่วย หลักสบิ หลักรอ้ ย หลกั พัน หลักหมืน่ และหลักแสน โดยแต่ละ

หลกั จะมีคา่ ประจาหลักเปน็ 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดบั ทาให้เลขโดดที่อยู่
หลักต่างกนั ของจานวนนับมคี า่ ตา่ งกนั ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดกย็ ังมีค่าเท่ากับ 0

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั พร้อมท้ังเขยี นตัวเลขแสดงจานวนนับไมเ่ กิน

1,000 ในรูปกระจายได้ (K)
2. เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายได้ถูกตอ้ ง (P)

3. นาความรู้เกย่ี วกบั หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน
รปู กระจาย ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ได้ (A)

สาระการเรยี นรู้
หลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

24

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนหลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100 โดยครู

เตรียมมดั ไม้มัดละ 10 จานวน 3 มดั กบั ไม้อกี 4 อนั แลว้ ถามคาถามใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ ดังนี้
- มีมดั ไม้อย่กู ่มี ดั กับไมอ้ กี กี่อนั (3 มัดกบั อกี 4 อัน)
- มีไมท้ ั้งหมดกี่อัน (สามสิบสี่อนั )
- เขยี นตวั เลขแสดงจานวนไมท้ งั้ หมดได้อยา่ งไร (34 หรือ ๓๔)
- 34 แทนจานวนกส่ี ิบกับก่หี นว่ ย (3 สิบกบั 4 หนว่ ย)
- 3 ทางซ้ายอยใู่ นหลักใด (หลักสิบ) และ 4 ทางขวาอย่ใู นหลักใด (หลักหนว่ ย)
- เลขโดด 3 ในหลกั สิบมีคา่ เท่าใด (30) เลขโดด 4 ในหลกั หน่วยมีคา่ เทา่ ใด (4)

ขั้นสอน
1. ครูเขยี นจานวนนับสองจานวนบนกระดานเช่น 58 แล้วถามนักเรียนวา่
- เลขโดด 5 อย่ใู นหลักใด มีค่าเทา่ ไร (หลักสิบ มีคา่ 50)
- เลขโดด 8 อย่ใู นหลักใด มีค่าเท่าไร (หลกั หน่วย มคี า่ 8)
2. ครูจัดกิจกรรมทานองเดียวกนั อีก 3 – 5 จานวนเช่น 65 76 89 95 99 จากนั้นครู

ยกตัวอย่างจานวนนับที่เลขโดดในหลักสิบและหลักหน่วยเป็นจานวนเดียวกัน เช่น 11 22 33 ให้
นกั เรยี นบอกหลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั

3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุป เลขโดดตัวเดยี วกันถ้าอย่ใู นหลักตา่ งกันจะมีคา่ ต่างกัน
4. ครยู กตัวอย่างจานวนสามหลัก เชน่ 120 และ 549 ให้นกั เรียนบอกหลักและค่าของ
เลขโดดในแตล่ ะหลัก โดยครถู ามนักเรยี นดงั นี้

120 เลขโดด 1 อยู่ในหลักใด มคี า่ เทา่ ไร (หลกั ร้อย มคี ่า 100)
เลขโดด 2 อยู่ในหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลักสิบ มคี า่ 20)
เลขโดด 0 อยใู่ นหลักใด มคี ่าเทา่ ไร (หลกั หนว่ ย มคี า่ 20)

549 เลขโดด 5 อยู่ในหลักใด มคี ่าเทา่ ไร (หลักร้อย มีคา่ 500)
เลขโดด 4 อยู่ในหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลักสิบ มคี า่ 40)
เลขโดด 9 อยู่ในหลกั ใด มคี ่าเทา่ ไร (หลกั หนว่ ย มีคา่ 9)

5. ครูยกตัวอยา่ งจานวนนบั 495 แล้วถามนกั เรยี นดังต่อไปนี้
495 เลขโดด 9 อย่ใู นหลกั ใด มีค่าเท่าไร (หลกั สิบ มีค่า 90)
495 เลขโดด 5 อยใู่ นหลักใด มีค่าเท่าไร (หลักหน่วย มีคา่ 5)
ครูถามนักเรียนว่า จานวนนบั 495 เลขโดด 9 กับ เลขโดด 5 มคี ่าต่างกนั เท่าไร คิด

ได้อยา่ งไร (85 คิดได้จาก 9 อยใู่ นหลกั สบิ มคี ่า 90 และ 5 อยู่ในหลักหน่วยมีค่า 5 ดังนั้น 90 – 5 =
85)

6. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 3 หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลข
แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ
นกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 3

25

ขนั้ สรปุ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี จานวนนับที่มีสามหลัก เลข

โดดทางขวาอยูใ่ นหลกั หน่วย เลขโดดทางซ้ายของหลักหน่วยอยใู่ นหลักสิบ เลขโดดทางซ้ายของหลัก
สบิ อยใู่ นหลักรอ้ ย

สอ่ื การเรียนรู้
1. มดั ไม้

2. ใบงานที่ 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู
กระจาย

การวัดผลและประเมนิ ผล

สง่ิ ท่ีต้องการวัด วิธีวดั เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 3 70% ขึน้ ไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
3 การประเมิน
2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมด้าน คณุ ภาพดขี นึ้ ไป
ทักษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
ทพี่ งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี ึ้นไป
คณุ ลักษณะ
ท่ีพงึ ประสงค์

26

ความคิดเหน็ ผูบ้ รหิ าร

ลงช่อื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บันทึกหลงั การเรียนการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

นกั เรยี นได้คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ

1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยใู่ นระดบั ดมี าก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรียนอยใู่ นระดับดีมาก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอย่ใู นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรยี นอยู่ในระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

27

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4

รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชว่ั โมง

เรื่อง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตัวเลข เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

แสดงจานวนในรปู กระจาย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลทีเ่ กิดขนึ้ จากการดาเนินการ สมบัติของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวชว้ี ัด
ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือ แสดงจานวน
นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0

สาระสาคญั
หลกั เลขประกอบหลกั หน่วย หลักสบิ หลักรอ้ ย หลกั พัน หลักหม่นื และหลักแสน โดยแต่ละ

หลกั จะมีคา่ ประจาหลักเปน็ 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดบั ทาให้เลขโดดที่อยู่
หลักต่างกนั ของจานวนนับมคี า่ ตา่ งกนั ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดกย็ ังมีค่าเท่ากบั 0

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั พร้อมท้ังเขยี นตัวเลขแสดงจานวนนับไมเ่ กิน

1,000 ในรูปกระจายได้ (K)
2. เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายได้ถูกตอ้ ง (P)

3. นาความรู้เกย่ี วกบั หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน
รปู กระจาย ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ได้ (A)

สาระการเรยี นรู้
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

28

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนหลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 โดยติด

บตั รภาพลกู คดิ แสดงจานวน 652 บนกระดานดังน้ี

หมน่ื พนั ร้อย สิบ หนว่ ย

ครูถามคาถามให้นักเรยี นชว่ ยกันตอบ ดงั นี้
- บตั รภาพแสดงจานวนใด (หกรอ้ ยหา้ สบิ สอง)
- เขยี นตัวเลขแสดงจานวนไดอ้ ยา่ งไร (652 หรือ ๖๕๒)
- 652 เป็นจานวนท่ีมีก่ีร้อย (6 รอ้ ย) กับกสี่ ิบ (5 สิบ) กับกีห่ น่วย (2 หนว่ ย)
- 6 อยูใ่ นหลักใด (หลกั รอ้ ย) มคี ่าเทา่ ใด (600)
- 5 อยใู่ นหลกั ใด (หลักสบิ ) มคี า่ เท่าใด (50)
- 2 อยใู่ นหลกั ใด (หลกั หน่วย) มคี า่ เท่าใด (2)
- 315 เขยี นในรปู กระจายได้อยา่ งไร (315 = 300 + 10 + 5)
ขนั้ สอน
1. ครูติดบัตรภาพลกู คดิ แสดงจานวน 8,173 บนกระดานดังน้ี

หมนื่ พัน รอ้ ย สบิ หน่วย

ครูถามคาถามให้นักเรียนชว่ ยกันตอบ ดงั นี้
- บัตรภาพแสดงจานวนใด (แปดพันหนงึ่ รอ้ ยเจ็ดสบิ สาม)
- เขยี นตวั เลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (8,173 หรอื ๘,๑๗๓)
- 8,173 เปน็ จานวนทม่ี กี พี่ ัน (8 พนั ) กับกร่ี ้อย (1 รอ้ ย) กบั ก่ีสบิ (7 สบิ ) กบั ก่ี
หน่วย (3 หน่วย)
- 8 อย่ใู นหลักใด (หลกั พนั ) มีค่าเทา่ ใด (8,000)
- 1 อยู่ในหลักใด (หลกั ร้อย) มคี ่าเท่าใด (100)
- 7 อยู่ในหลกั ใด (หลกั สบิ ) มีคา่ เท่าใด (70)
- 3 อยู่ในหลกั ใด (หลักหนว่ ย) มีคา่ เท่าใด (3)
- 8,173 เขยี นในรปู กระจายได้อยา่ งไร (8,173 = 8,000 + 100 + 70 + 3)

29

2. ครยู กตัวอย่างจานวนนับ เช่น 6,301 ให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถามต่อไปน้ี
- 6 อยใู่ นหลักใด (หลักพนั ) มคี า่ เท่าใด (3,000)
- 3 อยู่ในหลักใด (หลักรอ้ ย) มีค่าเท่าใด (300)
- 0 อย่ใู นหลกั ใด (หลักสบิ ) มคี ่าเท่าใด (0)
- 1 อยู่ในหลกั ใด (หลักหน่วย) มคี า่ เท่าใด (1)
- 6,301 เขยี นในรูปกระจายได้อย่างไร (6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1)
ครูแนะนาวา่ 6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1 สามารถเขยี นในรูปกระจายไดอ้ ีก

แบบดงั น้ี
6,301 = 6,000 + 300 + 1

3. ครบู อกจานวนนับแล้วใหต้ วั แทนนกั เรยี นออกมาเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรูป
กระจายบนกระดานดังนี้

2,430 = 2,000 + 400 + 30
5,261 = 5,000 + 200 + 60 + 1
1,245 = 1,000 + 20 + 40 + 5
9,720 = 9,000 + 700 + 20
8,012 = 8,000 + 10 + 2
4. ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี 4 หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตัวเลข
แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและ
นกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 4
ขน้ั สรปุ
1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขยี นตัวเลขแสดงจานวน
นบั ใดๆ ในรปู กระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกคา่ ของเลขโดดในหลกั ต่างๆ ของจานวนนนั้
สื่อการเรยี นรู้
1. บตั รภาพลูกคดิ
2. ใบงานท่ี 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป
กระจาย
การวดั ผลและประเมนิ ผล

ส่ิงที่ตอ้ งการวดั วธิ ีวดั เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 4 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
4 การประเมิน
2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดีขึ้นไป
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดับ
ท่ีพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คณุ ภาพดขี นึ้ ไป
คณุ ลกั ษณะ
ที่พงึ ประสงค์

30

ความคิดเหน็ ผูบ้ รหิ าร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บันทึกหลงั การเรียนการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้

นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยูใ่ นระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นกั เรียนอย่ใู นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรยี นอย่ใู นระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

31

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกนิ 100,000 เวลาเรยี น 18 ชวั่ โมง

เรือ่ ง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตัวเลข เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง

แสดงจานวนในรปู กระจาย

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลทีเ่ กดิ ขึน้ จากการดาเนินการ สมบัติของการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวชี้วดั
ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขยี น ตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนังสือ แสดงจานวน
นบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0

สาระสาคญั
หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลกั รอ้ ย หลกั พัน หลกั หม่นื และหลักแสน โดยแต่ละ

หลักจะมีค่าประจาหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดบั ทาให้เลขโดดท่ีอยู่
หลักต่างกนั ของจานวนนบั มีคา่ ต่างกัน ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดกย็ งั มีคา่ เท่ากบั 0

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั พร้อมทง้ั เขยี นตัวเลขแสดงจานวนนับไมเ่ กิน

1,000 ในรปู กระจายได้ (K)
2. เขยี นตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจายได้ถูกต้อง (P)

3. นาความรูเ้ ก่ยี วกับหลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน
รูปกระจาย ไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มวี นิ ัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

32

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนจานวนนบั ไม่เกิน 10,000 โดยครยู กตวั อย่าง 2,496 โดยครูตดิ บัตรภาพ

หลักลูกคิดแสดงจานวน 2,496 บนกระดานดงั น้ี

หม่นื พนั รอ้ ย สบิ หน่วย

ครูถามคาถามใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบ ดงั นี้
- บัตรภาพหลักลูกคดิ แสดงจานวนใด (สองพันสร่ี อ้ ยเก้าสิบหก)
- เขียนตัวเลขแสดงจานวนไดอ้ ย่างไร (2,496 หรือ ๒,๔๙๖)
- 2,496 เขยี นในรูปกระจายได้อยา่ งไร (2,496 = 2,000 + 400 + 90 + 6)
ขัน้ สอน
1. ครกู าหนดจานวนห้าหลกั ใหน้ กั เรยี นช่วยกันใส่ลกู คิดแสดงจานวนที่กาหนดให้ทีละ
จานวน เชน่ 38,047 62,365 ครตู รวจสอบความถูกต้อง แล้วครูติดบัตรภาพหลกั ลูกคดิ ท่ีแสดงจานวน
38,047 บนกระดาน

หมน่ื พนั รอ้ ย สิบ หน่วย

ครูถามคาถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ดังนี้
- บัตรภาพหลกั ลกู คดิ แสดงจานวนใด (สามหมน่ื แปดพันสส่ี บิ เจ็ด)
- เขยี นตวั เลขแสดงจานวนไดอ้ ย่างไร (38,047 หรอื ๓๘,๐๔๗)
- 38,047 เปน็ จานวนกี่หม่นื (3 หมนื่ ) กับก่ีพัน (8 พนั ) กบั กีร่ ้อย (0 ร้อย) กบั ก่ี
สิบ (4 สิบ) กับกห่ี น่วย (7 หนว่ ย)
- 3 อยูใ่ นหลกั ใด (หลกั หมนื่ ) มคี า่ เท่าใด (30,000)
- 8 อยู่ในหลักใด (หลกั พนั ) มีคา่ เท่าใด (8,000)
- 0 อยู่ในหลักใด (หลกั รอ้ ย) มีค่าเท่าใด (0)
- 4 อยใู่ นหลักใด (หลักสบิ ) มีคา่ เท่าใด (40)
- 7 อยู่ในหลักใด (หลกั หนว่ ย) มีคา่ เทา่ ใด (7)
- 38,047 เขียนในรปู กระจายได้อย่างไร (38,047 = 30,000 + 8,000 + 40 + 7)

33

2. ครแู นะนาการเขียน 62,365 ในรูปกระจายดงั นี้
62,365 = 60,000 + 2,000 + 300 + 60 + 5

3. ครูติดบตั รภาพลกู คิดแสดงจานวน 100,000

หมนื่ พนั ร้อย สบิ หน่วย

ครถู ามคาถามใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบ ดังนี้
- บตั รภาพหลักลกู คิดแสดงจานวนใด (หนึง่ แสน)
- เขียนตัวเลขแสดงจานวนไดอ้ ยา่ งไร (100,000 หรอื ๑๐๐,๐๐๐)
4. ครยู กตวั อยา่ งจานวนนับทม่ี ากกวา่ 10,000 แต่น้อยกว่า 100,000 เช่น 40,740 บน
กระดานให้นกั เรยี นช่วยกันบอกคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก ดังนี้

4 ในหลักหม่ืนมคี ่าเทา่ ใด (40,000)
0 ในหลกั พนั มคี า่ เทา่ ใด (0)
7 ในหลักร้อยมีคา่ เทา่ ใด (700)
4 ในหลักสบิ มีคา่ เท่าใด (40)
0 ในหลกั หน่วยมคี ่าเท่าใด (0)
หลงั จากน้ัน ครูให้นกั เรียนช่วยกันตอบคาถามต่อไปน้ี
- 40,740 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (40,740 = 40,000 + 700 + 40)
- ค่าของเลขโดด 4 ในหลักสิบและหลักหมื่นต่างกันหรือไม่(ต่างกัน) ถ้าต่างกัน
ตา่ งกนั อยู่เท่าใด (40,000 – 40 = 39,960)
- ค่าของเลขโดด 0 ในหลกั หน่วยและหลักพันต่างกันหรือไม่ (ไม่ต่างกัน)
5. ครูยกตวั อย่างทานองเดียวกนั น้อี กี 1-2 ตวั อย่างเช่น 25,713 78,406
6. ครใู หน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 5 หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขียนตัวเลข
แสดงจานวนในรูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ
นักเรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 5

ข้นั สรุป
1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้รว่ มกัน ดังนี้ การเขยี นตวั เลขแสดงจานวน

ใดๆ ในรูปกระจาย เป็นการเขยี นในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลกั ต่างๆ ของจานวนน้ัน และเลข
โดดเดยี วกนั ถา้ อยู่ในหลักตา่ งกันจะมคี า่ ต่างกนั ยกเวน้ 0

34

ส่ือการเรียนรู้
1. บัตรภาพลูกคดิ
2. ใบงานท่ี 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู

กระจาย

การวัดผลและประเมนิ ผล

ส่งิ ที่ตอ้ งการวัด วิธวี ัด เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 5 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์
5 การประเมิน
2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤตกิ รรมด้าน คณุ ภาพดีขึ้นไป
ทกั ษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
ท่ีพึงประสงค์ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี ้ึนไป
คุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์

35

ความคิดเหน็ ผู้บริหาร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยูใ่ นระดบั ดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรยี นอยใู่ นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

36

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกนิ 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง

เรื่อง การเปรียบเทยี บจานวน เวลาเรียน 1 ช่วั โมง

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัตขิ องการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตัวช้ีวดั

ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์
ต่างๆ

สาระสาคัญ

จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกนั ได้ โดยมีค่าเท่ากนั หรือไมเ่ ท่ากนั
และค่าไมเ่ ทา่ กันอาจมคี ่ามากกว่าหรือนอ้ ยกว่ากันอยา่ งใดอย่างหน่ึงเทา่ นั้น โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠
> < แสดงการเปรียบเทียบ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทมี่ จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กันได้ (K)
2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า
มากกวา่ หรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ตอ้ ง
3. เขียนเปรียบเทียบจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ต้อง (P)

4. นาความร้เู ก่ียวกบั การเปรยี บเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การเปรียบเทยี บจานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเช่ือมโยง
3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

37

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น

1. ครูทบทวนการเปรียบเทยี บจานวนนบั สองจานวนที่ไม่เกิน 1,000 โดยครูยกตัวอย่าง
มาคร้ังละ 2 จานวนให้นักเรียนเปรียบเทียบจานวนใดมากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ โดยให้เหตุผล
ประกอบแลว้ เขยี นประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการเปรยี บเทียบบนกระดานเช่น

316 > 87 268 < 452

254 > 248 199 < 209

918 = 918 0=0

2. นักเรยี นร่วมกันสรุปการเปรียบเทียบจานวน ดังนี้

1) เปรยี บเทียบจานวนหลกั กอ่ น จานวนใดมีจานวนหลักมากกวา่ จานวนนน้ั จะ
มากกว่า

2) ถา้ จานวนหลักเท่ากัน ให้เปรียบเทยี บคา่ ของเลขโดดในหลกั ทางซ้ายสุดก่อน ถ้า
คา่ ของเลขโดดในหลักทางซ้ายสุดของจานวนใดมากกวา่ จานวนนั้นจะมากกวา่ ถ้าค่าของเลขโดดใน
หลกั ทางซ้ายสดุ ของท้ังสองจานวนเท่ากันใหเ้ ปรยี บเทียบคา่ ของเลขโดดในหลักถดั ไปทางขวาทลี ะหลัก

ขน้ั สอน
1. ครูเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับสองจานวนท่ีไมเ่ กิน 100,000 โดยท้ังสองมีจานวน

หลกั ไมเ่ ท่ากับบนกระดาน เชน่

52,582 5,248

ครูถามคาถามใหน้ กั เรยี นช่วยกนั ตอบ ดงั นี้
- จานวนสองจานวนน้ีเท่ากนั หรือไม่ (ไมเ่ ท่ากนั )

- จานวนทางซา้ ยมอื มีกีห่ ลัก (5 หลกั )
- จานวนทางขวามือมกี หี่ ลกั (4 หลกั )
- จานวนทางซ้ายจะมากกว่าหรอื น้อยกว่าจานวนทางขวา (มากกว่า)
2. ครแู นะนาให้นกั เรียนใช้เครอื่ งหมาย > หรือ < แสดงการเปรยี บเทยี บจานวน

52,582 มากกวา่ 5,248 5,248 น้อยกวา่ 52,582
52,582 > 5,248 5,248 < 52,582

38
3. ครูยกตวั อย่าง จานวนคูอ่ ื่น ๆ ทีม่ ีจานวนหลักไม่เทา่ กันอกี 3 ตวั อย่างแลว้ ให้นกั เรียน
พิจารณาเปรยี บเทยี บพรอ้ มท้ังอธบิ ายเหตผุ ล

3,567 21,542

100,000 12,541

43,261 1,342

4. ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 6 หลัก การเปรียบเทยี บจานวน เมื่อเสร็จแลว้ ใหน้ ักเรียน
ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้ันครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 6

ขน้ั สรุป
1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสิ่งทีไ่ ด้เรยี นร้รู ว่ มกัน ดงั น้ี การเปรียบเทียบจานวนนับไม่

เกิน 100,000 ท่ีจานวนหลักไมเ่ ทา่ กันโดยจานวนนับที่มีจานวนหลกั มากกว่าจะมากกว่าและจานวน
นบั ทีม่ จี านวนหลักน้อยกว่าจะนอ้ ยกว่า

ส่อื การเรยี นรู้
ใบงานท่ี 6 หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

การวัดผลและประเมนิ ผล

สงิ่ ทต่ี ้องการวดั วิธีวัด เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 6 70% ข้ึนไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
6 การประเมนิ
2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดับ
กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤตกิ รรมดา้ น คณุ ภาพดีขน้ึ ไป
ทักษะกระบวนการ
3. ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดับ
ท่พี ึงประสงค์ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขนึ้ ไป
คณุ ลักษณะ
ทีพ่ งึ ประสงค์

39

ความคิดเหน็ ผู้บริหาร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยูใ่ นระดบั ดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรยี นอยใู่ นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

40

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง

เรื่อง การเปรียบเทยี บจานวน เวลาเรียน 1 ช่วั โมง

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัตขิ องการ

ดาเนินการ และการนาไปใช้

ตัวช้ีวดั

ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์
ต่างๆ

สาระสาคัญ

จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากนั หรือไมเ่ ท่ากนั
และค่าไมเ่ ทา่ กันอาจมคี ่ามากกว่าหรอื น้อยกว่ากันอยา่ งใดอย่างหน่ึงเทา่ นั้น โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠
> < แสดงการเปรียบเทียบ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 ทมี่ จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กันได้ (K)
2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า
มากกวา่ หรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ตอ้ ง
3. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ต้อง (P)

4. นาความร้เู ก่ียวกบั การเปรียบเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การเปรียบเทยี บจานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง
3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

41

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครทู บทวนการเปรยี บเทียบจานวนนบั สองจานวนท่ไี ม่เกิน 100,000 ท่ีมจี านวนหลัก

ไม่เท่ากันโดยครูยกตวั อยา่ งมาครงั้ ละ 2 จานวนให้นกั เรียนเปรยี บเทียบว่าจานวนใดมากกวา่ นอ้ ยกว่า
หรอื เทา่ กันโดยให้เหตุผลประกอบแล้วเขียนประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการเปรยี บเทยี บบนกระดาน เชน่

1,543 < 42,560 81,425 > 9,741

3,468 < 59,467 10,456 > 9,999

41,843 > 8,913 42,536 = 42,563

2. นกั เรยี นสรุปการเปรียบเทยี บจานวนไมเ่ กนิ 100,000 ท่ีมีจานวนหลกั ไม่เทา่ กัน ดังน้ี
ถ้าจานวนสองจานวนท่ีนามาเปรียบเทยี บกนั มีจานวนหลักไม่เท่ากัน จานวนที่มีจานวนหลักมากกวา่

จะมากกว่าและจานวนทม่ี ีจานวนหลกั น้อยกวา่ จะน้อยกว่า
ขัน้ สอน
1. ครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนท่ีมีจานวนหลักเท่ากันและเลขโดดทางซ้ายสุด

ไม่เท่ากนั เชน่

74,684 96,751

ครถู ามคาถามใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ ดังน้ี

- จานวนสองจานวนน้ีมีจานวนหลกั เท่ากันหรือไม่ (เท่ากัน)
- 7 ในหลกั หมืน่ มคี า่ เท่าไร (70,000)
- 9 ในหลักหมน่ื มคี ่าเท่าไร (90,000)
- จานวนใดมากกว่า (96,751) เพราะเหตุใด (90,000 มากกวา่ 70,000)

2. ครแู นะนาให้นักเรียนใช้เครอ่ื งหมาย > หรือ < แสดงการเปรยี บเทยี บจานวน

74,684 น้อยกว่า 96,751 96,751 มากกว่า 74,684
74,684 < 96,751 96,751 > 74,684

42
3. จากน้ันครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนที่มีจานวนหลักเท่ากันและเลขโดด
ทางซา้ ยสุดไม่เทา่ กนั ใหน้ ักเรยี นเปรียบเทียบจานวนพร้อมทงั้ บอกเหตผุ ลอกี 3 ตัวอยา่ งเชน่

37,591 81,751

55,671 12,951

43,581 28,478

4. ครูใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 7 หลัก การเปรียบเทียบจานวน เม่ือเสรจ็ แลว้ ให้นักเรียน
ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนนั้ ครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 7

ข้นั สรปุ
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเปรียบเทียบจานวนท่มี ี

จานวนหลักเท่ากันวา่ ถ้าจานวนท่ีนามาเปรียบเทยี บกันมจี านวนหลักเท่ากนั ให้เปรียบเทียบค่าของ
เลขโดดหลกั ซา้ ยสุดก่อน

สอื่ การเรียนรู้
ใบงานที่ 7 การเปรยี บเทยี บจานวน

การวดั ผลและประเมินผล

ส่งิ ท่ตี ้องการวัด วิธวี ดั เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ดา้ นความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 7 70% ขึ้นไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
7 การประเมิน
2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี น้ึ ไป
ทักษะกระบวนการ
3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั
ที่พงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดขี น้ึ ไป
คณุ ลกั ษณะ
ท่ีพงึ ประสงค์

43

ความคิดเหน็ ผูบ้ รหิ าร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บันทึกหลงั การเรียนการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้

นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยูใ่ นระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นกั เรียนอย่ใู นระดับดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรยี นอย่ใู นระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )

44

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกนิ 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง

เรื่อง การเปรียบเทยี บจานวน เวลาเรียน 1 ช่วั โมง

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

................................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัตขิ องการ

ดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตัวช้ีวดั

ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์
ต่างๆ

สาระสาคัญ

จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกนั ได้ โดยมีค่าเท่ากนั หรือไมเ่ ท่ากนั
และค่าไมเ่ ทา่ กันอาจมคี ่ามากกว่าหรือนอ้ ยกว่ากันอยา่ งใดอย่างหน่ึงเทา่ นั้น โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠
> < แสดงการเปรียบเทียบ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทมี่ จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กันได้ (K)
2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า
มากกวา่ หรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ตอ้ ง
3. เขียนเปรียบเทียบจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ต้อง (P)

4. นาความร้เู ก่ียวกบั การเปรยี บเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A)

สาระการเรยี นรู้
การเปรียบเทยี บจานวน

ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
1. ความสามารถในการสอื่ สารและการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
2. ความสามารถในการเช่ือมโยง
3. ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

45

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครูทบทวนการเปรยี บเทยี บจานวนนับสองจานวนที่ไม่เกิน 100,000 ทมี่ จี านวนหลัก

เท่ากนั และเลขโดดทางซา้ ยสุดไมเ่ ท่ากัน โดยครูยกตวั อยา่ งมาครง้ั ละ 2 จานวนใหน้ กั เรียนเปรียบเทียบ
ว่าจานวนใดมากกว่า น้อยกว่า โดยให้เหตุผลประกอบแล้วเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
เปรียบเทยี บบนกระดาน เชน่

71,543 > 42,560 81,425 > 29,741

38,468 < 59,467 40,456 > 39,999

ขั้นสอน
1. ครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนท่ีมจี านวนหลักเทา่ กันและเลขโดดทางซ้ายสดุ

เท่ากัน เชน่

85,711 83,167

ครถู ามคาถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้
- จานวนสองจานวนนี้มีจานวนหลักเทา่ กนั หรอื ไม่ (เท่ากนั )

- เลขโดด 8 ใน 85,711 อย่หู ลกั ใด มีค่าเท่าไร (หลกั หม่นื มคี า่ 80,000)
- เลขโดด 8 ใน 83,167 อยู่หลักใด มคี ่าเทา่ ไร (หลกั หม่นื มคี า่ 80,000)
- คา่ ของเลขโดด 8 ในหลักหม่นื ของทัง้ สองจานวนเท่ากันหรือไม่ (เทา่ กนั )
- เลขโดดในหลักพนั ของ 85,711 กับ 83,167 มีค่าเทา่ กนั หรอื ไม่ (ไมเ่ ท่ากัน)

- เลขโดด 5 ใน 85,711 อยหู่ ลักใด มีค่าเท่าไร (หลกั พนั มคี า่ 5,000)
- เลขโดด 3 ใน 83,167 อยหู่ ลักใด มีค่าเทา่ ไร (หลกั พัน มีคา่ 3,000)
- จานวนใดมากกวา่ เพราะเหตใุ ด (85,711 เพราะ 5,000 มากกว่า 3,000)

2. ครแู นะนาใหน้ ักเรยี นใชเ้ คร่ืองหมาย > หรือ < แสดงการเปรียบเทยี บจานวน

85,711 มากกวา่ 83,167 83,167 นอ้ ยกว่า 85,711
85,711 > 83,167 83,167 < 85,711

46
3. จากนั้นครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนท่ีมีจานวนหลักเท่ากันและเลขโดด
ทางซ้ายสดุ เทา่ กันให้นักเรียนเปรียบเทยี บจานวนพร้อมท้งั บอกเหตผุ ลอีก 3 ตวั อย่างเชน่

37,591 81,751

37,591 81,751

37,591 81,751

4. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 8 หลกั การเปรยี บเทียบจานวน เมื่อเสร็จแล้วใหน้ ักเรียน
ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 8

ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ร่วมกนั ดังนี้ การเปรียบเทียบจานวนที่มี

จานวนหลักเท่ากันว่า ถ้าจานวนท่ีนามาเปรียบเทียบกันมีจานวนหลักเท่ากัน ให้เปรียบเทียบค่าของ
เลขโดดหลักซ้ายสุดกอ่ น ถา้ คา่ ของเลขโดดทางซ้ายสุดของจานวนใดมากกวา่ จานวนนน้ั มากกวา่ ถ้า
ค่าของเลขโดดซ้ายสุดเท่ากัน ให้เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวาทีละหลกั ด้วยวธิ ี
เดียวกนั

ส่อื การเรยี นรู้
ใบงานท่ี 8 การเปรยี บเทียบจานวน

การวดั ผลและประเมนิ ผล

สง่ิ ที่ต้องการวดั วธิ ีวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 8 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
8 การประเมนิ
2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดบั
กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดขี ึ้นไป
ทกั ษะกระบวนการ
3. ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดับ
ท่พี งึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี ้นึ ไป
คณุ ลักษณะ
ทพ่ี ึงประสงค์

47

ความคิดเหน็ ผู้บริหาร

ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ

(นายกติ ตธิ ัข จนั ทรเ์ พยี ร)
ผอู้ านวยการโรงเรียน

บนั ทึกหลังการเรยี นการสอน

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

นักเรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

นักเรียนอยูใ่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คิดเป็นร้อยละ

นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นร้อยละ

นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

นักเรยี นอยใู่ นระดบั ดมี าก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรยี นอยใู่ นระดับดี คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

นักเรียนอยู่ในระดับปรบั ปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ

2. ปญั หาและอปุ สรรค

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา

ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน
(นางสาวกัญชพร เช่ือมชติ )


Click to View FlipBook Version