The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รปภ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongjitrach071, 2022-07-12 00:49:55

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รปภ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รปภ

Keywords: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ รปภ

ความรูเบอื้ งตน เกีย่ วกับธรุ กิจรักษาความปลอดภยั

พ.ร.บ.ธรุ กิจรกั ษาความปลอดภยั พ.ศ.2558
บทนยิ าม

ธรุ กิจรักษาความปลอดภยั มีองคป ระกอบดังน้ี
1. ใหบ รกิ ารรกั ษาความปลอดภยั โดยพนักงานรักษาความปลอดภัยรบั อนุญาตทาํ หนาท่ี
2. คมุ ครองความปลอดภัยในชวี ติ รา งกาย หรอื ทรพั ยส ินของบคุ คล
3. ไดรบั เงินหรอื ประโยชนตอบแทน
4. ไมร วมบริการรักษาความปลอดภัยของรฐั ตามที่ นรม ประกาศ
บริษัทรักษาความปลอดภัย หมายความวา บริษทั ซึง่ ไดรับในอนุญาตประกอบธุรกจิ รกั ษาความปลอดภัย
บริษัท หมายความวา บริษัทวาดวยกฎหมายแพง หรือบริษัทมหาชน จํากัด ตามกฎหมายวาดวย
บริษัทมหาชนกํากดั
พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ( พปร. ) หมายความวา ผูซ่ึงไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนให
เปนพนักงานรักษาความปลอดภยั รบั อนญุ าต
คณะกรรมการ หมายความวา คณะกรรมการกาํ กบั ธรุ กิจรกั ษาความปลอดภัย
นายทะเบียน หมายความวา นายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนประจําจังหวัดกรุงเทพ ฯ และนาย
ทะเบียนประจาํ จังหวัด
พนกั งานเจา หนา ท่ี หมายความวา ผูซ ึ่ง ผบ.ตร. แตงตงั้
ผูบัญชาการตํารวจนครบาล เปนนายทะเบียนกลางและเปนนายทะเบียนประจํากรุงเทพ ฯ มีอํานาจ
หนาทีจ่ ดั ทําบญั ชีรายชือ่ บริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรกั ษาความปลอดภยั รับอนุญาตทั่วราชอาณาจักร
ผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด มีอํานาจหนาท่ีจัดทําบัญชีรายชื่อบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงาน
รักษาความปลอดภัยรับอนญุ าต ในเขตจงั หวดั ของตน
นายยกรัฐมนตรี รักษาการตาม พ.ร.บ. น้ี มอี าํ นาจออกกฎกระทรวงและกาํ หนดคาธรรมเนียม
คณะกรรมการกํากบั ธุรกิจรกั ษาความปลอดภยั
มีจํานวน 16 คน ประกอบดวย
1. ผบ.ตร. เปนประธานกรรมการ
2. กรรมการโดยตําแหนง 6 คน มีอธิบดีกรมการปกครองอธิบดีสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เลขาธิการ
คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ผอ.สํานักกิจการยุติธรรม ผูบัญชาการศูนยรักษาความปลอดภัย ผูอํานวยการ
องคการทหารผานศึก
3. กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่ง นรม. แตงตั้ง 2 คน และ 2 ใน 3 ตองเปนผูมีความรูเกี่ยวกับการรักษาความ
ปลอดภัย ผูบัญชาการตํารวจนครบาล เปนกรรมการและเลขานุการมีอาํ นาจแตงต้ังผูชวยเลขาธิการไดไมเกนิ 2 คน
เปน พันตํารวจตรี ขนึ้ ไป
กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ ตองมคี ุณสมบัติและไมมลี กั ษณะตองหาม ดังนี้
คณุ สมบตั ิ
1. มสี ัญชาติไทย
2. มีความรปู ระสบการณในงานรกั ษาความปลอดภัย
ลกั ษณะตองหา ม
1. เปนบุคคลลมละลาย
2. เปนคนวิกลจริตหรือจติ ฟนเฟอนไมสมประกอบ คนไรความสามรถหรือเสมอื นไรความสามารถ

-2-
3. เคยไดร บั โทษจําคกุ โดยคาํ พิพากษาถงึ ทีส่ ดุ ใหจาํ คุก เวนแตประมาทหรือลหุโทษ
4. ไมเ ปน ผดู าํ รงตําแหนงทางการเมอื งใด ๆ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิอยูในตําแหนงคราวละ 3 ป การประชุมตองมีเสียงขางมาก หากคะแนนเสียงเทากันให
ประธานกรรมการออกเสยี งไดอ ีก 1 เสียง กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิวา งลงไมถึง 90 วนั จะไมแ ตง ต้งั กรรมการใหมก ไ็ ด
กรรมการพนจากวาระเม่อื
1. ตาย
2. ลาออก
3. นรม.ใหอ อก เพราะบกพรองตอหนาท่ี ความประพฤตเิ ส่ือมเสียหรอื หยอนความสามารถ
4. ขาดคุณสมบตั ิและลกั ษณะตองหาม
คณะกรรมการมีอาํ นาจหนาที่
1. กาํ หนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการสง เรมิ เพ่ือใหน ายทะเบียนไปปฏบิ ตั ิ
2. เสนอความเหน็ ตอ นรม. ในการออกกฎกระทรวง
3. ออกระเบยี บกําหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยทีบ่ ริษัทตองปฏบิ ัติ
4. ออกระเบยี บกาํ หนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภยั หลกั สูตรรักษาความปลอดภัย
5. ออกระเบียบกาํ หนดมาตรฐานสถานฝกอบรม
6. ออกประกาศกาํ หนดเครอื่ งหมายพนักงานรักษาความปลอดภยั รับอนุญาต
7. พจิ ารณาวินจิ ฉัยอุทธรณค าํ ส่งั นายทะเบียน
8. ออกระเบยี นกําหนดหลักเกณฑก ารเปรียบเทียบ
9. นรม. มอบหมาย
การประชมุ คณะกรรมการ
1. ตอ งมาประชมุ เกินกง่ึ หน่งึ
2. ประธานไมม าหรอื ปฏิบตั ิหนาที่ไมไ ดเลือกกรรมการหน่ึง คนเปน ประธาน
3. การวนิ จิ ฉยั ชีข้ าดเสียงเทากัน ใหป ระธานออกเสียงอีกเสียงเพื่อชีข้ าด
4. ประธานกรรมการหรอื กรรมการเปนผมู สี ว นไดเ สยี หา มเขาประชมุ
5. คณะกรรมการจัดต้ังคณะอนุกรรมการได
6. มอี าํ นาจเชญิ บุคคลมาใหถ อ ยคาํ หรือใหสงเอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาได
7. ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติเปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ งานวิชา
การและกจิ การอ่ืนท่ีเก่ียวของกับคณะกรรมการ
บรษิ ัทรักษาความปลอดภัย
1. จะตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน
2. จะตอ งมคี ุณสมบตั ิ

2.1 มีจํานวนหนุ ที่ถือโดยบุคคลมสี ัญชาติไทย เกินก่ึงหนึง่
2.2 มีกรรมการเปนบคุ คลมสี ญั ชาตไิ ทยเกินกึ่งหนึง่
2.3 ไมเ คยถกู เพกิ ถอนใบอนุญาตมากอ น
3. การขออนญุ าตนายทะเบียนตองแจง ผขู อรบั ใบอนุญาตภายใน 60 วนั
4. ใบอนญุ าตมอี ายุ 4 ป
5. ตอ งมีคาํ นําหนาช่อื วา “บริษัทรกั ษาความปลอดภยั ” และคําลงทา ยวา “จํากัด” หรอื “จาํ กัด (มหาชน)”
ตอ ทาย

-3-
6.หามบคุ คลอน่ื ใชช ื่อ บริษทั รกั ษาความปลอดภยั
7. การขอตอใบอนุญาตตองยื่นกอนใบอนุญาตกอนหมดอายุและนายทะเบียนตองแจงภายใน 60 วัน นับ
แตวันไดร ับคาํ ขอ
8. บริษัทตอ งแสดงใบอนุญาตในทเ่ี ปดเผย
9. ใบอนญุ าตสญู หาย ถูกทําลาย ชาํ รดุ ตองแจง ภายใน 30 วัน
สัญญาจางระหวางบรษิ ัทกบั ผูร บั จางตองมีรายการ 8 ประการ
1. ช่ือและทอ่ี ยขู องบริษทั และผวู า จา ง
2. วนั ที่ทาํ สญั ญา
3. ขอบเขตงานและระยะเวลาบรกิ าร
4. คา จา งและการจา ยคา จาง
5. หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของบริษทั และผูวา จาง
6. คาปรบั
7. การกาํ หนดคาเสยี หาย
8. เลิกสัญญา
ตอ งทาํ เปน หนังสือมีรายการครบถว นไมค รบสญั ญาเปน โฆฆะ
บรษิ ัทตองปฏิบัตติ ามมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
1. กํากบั ตรวจสอบการทาํ งานของพนกั งานรกั ษาความปลอดภัยรบั อนญุ าต
2. มีระบบบันทกึ เหตกุ ารณประจําวัน
3. มศี นู ยป ระสานงาน
4. มีอปุ กรณส ื่อสารระหวา งศนู ยประสานงานกบั พปร.
5. ใหค วามรเู กยี่ วกบั การกั ษาความปลอดภัยและฝกทบทวนสมํา่ เสมอ
บรษิ ัทรักษาความปลอดภยั มีหนา ที่
1. ใหความรวมมือตํารวจ ร.ต.ต.ขึ้นไป ท่ีไดรับมอบหมายจาก หน.สถานีเพื่อตรวจดูขอมูลบันทึกเหตุการณ
ประจาํ วนั เพอ่ื นาํ ไปวางแผนรักษาความปลอดภัย
2. เม่ือไดรับแจงจาก พปร. ขอมูลอาชญากรรมเบาะแสคนรายใหแจงฝายปกครองหรือตํารวจทราบโดย
ทนั ที
3. บริษัทตองจัดทําบัญชีรายช่ือ พปร. เพื่อแจงตอนายทะเบียนภายใน 30 วัน หลังจากไดรับใบอนุญาต
หากมีการเปล่ยี นแปลงขอ มูลของ พปร. ตอ งแจงภายใน 15 วัน
4. บริษัทตอ งรายงานผลการดําเนินการในรอบปในเดอื น มกราคม ของปถ ัดไป
พนกั งานรักษาความปลอดภัยรบั อนญุ าต (พปร.)
1. ตองมใี บอนุญาตเปน พปร.
2. ตองมคี ณุ สมบตั ิและไมม ีลักษณะตองหา ม
คณุ สมบตั ิ

2.1 มสี ญั ชาติไทย
2.2 มอี ายไุ มต่ํากวา 18 ปบรบิ รู ณ
2.3 สาํ เรจ็ การศึกษาภาคบงั คับ
2.4 ไดรับหนงั สือรับรองผา นการฝก อบรม
ลักษณะตองหาม

-4-
2.5 ติดสุราติดยาเสพติดหรอื โรคติดตอ ที่คณะกรรมการกาํ หนด
2.6 เปนคนวิกลจรติ หรอื จิตฟน เฟอ นไมส มประกอบ คนไรความสามารถหรอื เสมอื นไรความสามารถ
2.7 ไมเคยตองโทษจําคุกความผิดตอชีวิตรางกาย ทรัพยสิน เพศ การพนัน ยาเสพติด เวนแตพันโทษ
มาแลวไมนอยกวา 3 ป และมิใชความผดิ เกย่ี วกบั เพศ
2.8 เคยถูกเพิกถอนใบอนญุ าตยังไมถึง 2 ป
3. ใบอนุญาตใชได 3 ป
4. การตอใบอนุญาตตองมีหนงั สือรับรองสมรรถภาพของบริษัทหรือหนังสือรับรองวาไดผานการฝกทบทวน
หลกั สตู รการรกั ษาความปลอดภยั
5. ใบอนุญาตหาย ถกู ทําลาย ชํารดุ ตอ งแจง ใน 30 วัน
6. ขณะปฏบิ ัติหนา ที่ตองสงบเครือ่ งแตงแบบตดิ เครื่องหมายและมบี ัตรประจาํ ตัวของบริษัทท่ีตนสงั กัด
7. หามแตงเคร่ืองแบบเหมือนหรือคลายตํารวจ ทหาร หรือเจาพนักงานรักษาความสงบเรียบรอยท่ี
นายทะเบียนกลางประกาศ
พนักงานรักษาความปลอดภยั รบั อนุญาต (พปร.) มหี นา ที่
1. ชว ยฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจจับตาม ป.วิ อาญา
2. รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกายทรัพยสินรวมทั้งระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยในบริเวณ
หรอื สถานท่ที ี่รับผิดชอบ
3. เมื่อมีการกระทําผิดอาชญาหรือมีเหตุรายเกิดข้ึนใหแจงฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีทันทีและปดก้ัน
และรักษาสถานทีเ่ กดิ เหตใุ หคงสภาพเดิม จนกวาฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจผมู ีอาํ นาจจะเดนิ ทางมาถงึ
การพกั ใชแ ละการเพกิ ถอนใบอนุญาตของบรษิ ทั รกั ษาความปลอดภยั
1. การพกั ใชใ บอนุญาต
1.1 ไมปฏบิ ัติตามมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัย (ม. 26)
1. 2. ไมจ ดั ทําบัญชีรายชือ่ พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั รับอนญุ าตโดยไมแ กไขใน 30 วัน
2. สัญญาท่ที ํากอ นการพักใชใ หด ําเนนิ การตอไปขณะพักใช หามทาํ สัญญาจา ง
3. บริษัทขาดคุณสมบัตแิ ละไมแ กไข ภายใน 90 วัน
การเพกิ ถอนใบอนุญาต
1. เคยถูกพกั ใช 2 คร้ัง และมีเหตุถกู พกั ใชอีกไมวาเหตผุ ลใดใน 1 ป
2. ไมแกไ ขคณุ สมบัติของบรษิ ทั ภายใน 90 วัน
คาํ ส่งั พกั ใชห รือเพิกถอนใบอนุญาตตอ งดําเนินการ ดังน้ี
1. ตอ งทําเปนหนงั สือระบุวนั ทพ่ี กั ใชห รอื เพิกถอน
2. แจง บริษทั ทราบใน 7 วนั นบั แตนายทะเบียนมีคาํ ส่ัง
3. ปด ประกาศหนังสอื ในที่เปด เผย ณ บริษทั
4. โฆษณาเครือขายสารสนเทศ ของ ตร.
บริษัทตองดําเนินการตามสัญญาที่ทํากอนการเพิกถอนตอไป โดยตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่นาย
ทะเบยี นกาํ หนด..
การเพกิ ถอนใบอนญุ าตพนักงานรกั ษาความปลอดภยั รบั อนุญาต (พปร.)
1. ขาดคุณสมบัติ
2. มีลกั ษณะตองหา ม
คาํ ส่ังเพิกถอนใหป ฏบิ ัตเิ หมอื นกับคาํ สัง่ เพิกถอนใบอนญุ าตของบรษิ ัทรักษาความปลอดภัย

-5-
การอุทธรณ
มสี ิทธิอทุ ธรณตอคณะกรรมการภายใน 30 วัน ในกรณดี งั ตอ ไปน้ี
1. คําส่งั ไมออกใบอนญุ าตหรอื ไมต อใบอนญุ าต
2. คําสง่ั ไมร ับรองสถานฝก อบรม
3. คาํ สั่งไมอ อกใบอนุญาตและไมตอใบอนญุ าต พปร.
4. คาํ สง่ั พักหรือเพกิ ถอนใบอนญุ าตของบริษัท
5. คาํ สัง่ เพกิ ถอนใบอนญุ าตเปน พปร.
อํานาจนายทะเบยี นและพนักงานเจา หนาที่
1. เขา ไปท่ที ําการของบริษัทในเวลาทาํ การ
2. มีหนังสือเรียกกรรมการ ผูจัดการหรือพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต มาใหถอยคําหรือชี้แจง
หรือสงเอกสาร หรอื หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา
3. เรียกใหผูแสดงตนวาเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ใหแสดงบัตรประจําตัว เม่ือมีเหตุ
สงสยั วา ทําผดิ ตามกฎหมายน้ี


Click to View FlipBook Version