The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by education kkn, 2021-01-06 10:33:36

คู่มือแนวทางการดำเนินงานโครงการ

คู่มือแนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

1

2

คำนำ

เอกสาร แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนา
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการ
จดั ทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกับอาชวี ศึกษาและอดุ มศึกษา ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏิบัติงานที่ชัดเจนในระดับสำนักงาน
ศึกษาธกิ ารภาคและสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด

สาระสำคญั ของแนวทางการดำเนินงานโครงการน้ี มงุ่ เนน้ การพฒั นาหลักสูตรทีม่ ีความเช่ือมโยงการจัดการ
เรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ในระดับจังหวัด
และภูมิภาค ให้สามารถส่งผลต่อการปฏิบัติงานให้ประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย ที่กำหนดในแผนพัฒนา
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ของนโยบาย ด้านการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสาย
อาชพี และสายสามัญ ปี พ.ศ. 2564 ให้ได้ 50 ตอ่ 50

กลุ่มนิเทศการศึกษาและพัฒนานวัตกรรม สำนักบูรณาการกิจการการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ขอขอบคุณคณะทำงานที่ได้รวมพลังในการระดมแนวคิด ออกแบบแนวทางการดำเนินงานโครงการ
ส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อประสิทธิผลของ
การพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนหรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา มี
ทางเลือกในการเข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้นอย่างหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการและบริบทในพื้นที่
ซึ่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การดำเนินงานตามโครงการจะส่งผลต่อผู้สำเร็จ
การศกึ ษามที างเลอื กหรือเส้นทางการศกึ ษาต่อทตี่ รงกบั ความต้องการของผเู้ รยี นมากทสี่ ุด

กลมุ่ นิเทศการศึกษาและพฒั นานวตั กรรม
สำนกั บรู ณาการกจิ การการศึกษา สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั 3

สว่ นที่ 1 บทนำ หน้า
1.1 หลกั การและเหตผุ ล
1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1
1.3 เปา้ หมายโครงการ 2
1.4 กล่มุ เปา้ หมายโครงการ 2
1.5 ระยะเวลาดำเนนิ การ 3
1.6 ความสำคัญของโครงการ 3
1.7 นิยามศพั ทข์ องโครงการ 3
3
ส่วนที่ 2 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ
2.1 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ 6
2.2 แนวทางการดำเนินงานจำแนกตามระดบั ปฏิบัติ 8
2.2.1 แนวทางการดำเนินงานของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 8
2.2.2 แนวทางการดำเนนิ งานของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 8
2.2.3 แนวทางการดำเนนิ งานของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด 9
2.3 ปฏิทินการดำเนนิ งานโครงการ 10

สว่ นที่ 3 เคร่อื งมือ 12
3.1 แบบนเิ ทศ ติดตามผลการดำเนินงานระดบั ภาค 17
3.2 แบบนิเทศ ตดิ ตามผลการดำเนินงานระดบั จังหวดั
21
ภาคผนวก 21
1. แนวทางการจัดการศกึ ษาเรยี นรวมหลักสตู รอาชวี ศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย 22
2. คมู่ ือแนวปฏิบัติการเรยี นรายวิชาสะสมหนว่ ยกจิ เตรยี มอาชีวศึกษา

คณะทำงาน

1

สว่ นที่ 1

บทนำ

1.1 หลักการและเหตุผลของโครงการ

การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ทั้งในด้านความรู้ ความคิด การปฏิบัติคุณธรรม
ชีวิตความเป็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี
มีขีดความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่มศักยภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้น สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
บนพื้นฐานของความเป็นไทยและความเป็นสากล รวมทั้งมีความสามารถในการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ
ตามความถนัดและความสามารถของแต่ละบุคคล แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำหนด
เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคม
เป็นธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ่ังยนื ” พัฒนาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมคี ุณภาพ สร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของ
ประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม มี 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของสำนักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ คอื 1. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นความมั่นคง 2. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างความสามารถใน
การแข่งขัน 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4. ยุทธศาสตร์ชาติด้าน
การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม และ 6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับ
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) ต่อยอดอดีต 2) ปรับปัจจุบัน
3) สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต และยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มี
เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพือ่ พัฒนาคนในทกุ มิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทย
มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ
รบั ผดิ ชอบต่อสังคมและผู้อื่น มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ัย รักษาศีลธรรม และเปน็ พลเมืองดขี องชาติ มีหลัก
คิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษา ที่ 3 และอนุรักษ์ภาษา
ทอ้ งถิน่ มีนสิ ยั รกั การเรียนร้แู ละการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเปน็ คนไทยท่ีมีทักษะสูงเป็นนวัตกร
นกั คิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอ่ืนๆ โดยมีสัมมาชีพ ตามความถนัดของตนเอง

กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 -2580) ภายใต้วิสัยทัศน์
“ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” ซึ่งได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นจุดเน้นด้านการศึกษา มีการพัฒนาหลักสูตร
และกระบวนการเรียนการสอน การใช้สถานการณ์จริงจากสถานประกอบการและชุมชน “ปรับโรงงาน เป็น
โรงเรียน” โดยมงุ่ เนน้ ใหน้ ักเรียน นกั ศึกษาได้ฝึกทักษะฝมี ือควบคู่กบั การฝึกทักษะการทำงาน ร่วมกับผู้อ่ืน เพื่อให้มี
สมรรถนะที่เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ และประสบการณ์ไป

2

ใช้ได้จริง สามารถประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจ ตามแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มีนโยบายในการเพิ่ม สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพและสาย
สามัญ โดยกำหนดเป้าหมายปี พ.ศ. 2564 ให้ได้ 50 ต่อ 50 ทั้งนี้จำเป็นต้องปรับหลักสูตรการเรียนการสอน
อาชวี ศกึ ษา และการพฒั นาครู เพ่อื ทำให้การเรียนการสอนในสายอาชพี มีคุณภาพสูงขึ้น

จากรายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี พ.ศ.2562 พบว่า คุณภาพด้านการ
พัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งมีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์
รกั การเรียนรู้ มสี ำนึกพลเมือง มคี วามกล้าหาญทางจริยธรรม มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตวั สอ่ื สาร และ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น ผลการประเมินด้านทักษะ ร้อยละ 62.30 ซึ่งต่ำกว่า
ปี พ.ศ.2561 ที่มีผลการประเมินร้อยละ 63.00 และมีรายงานผลสัดส่วนการเข้าเรียนอาชีวศึกษา ต่อสามัญ
ระดับประเทศ พบว่า ปีการศึกษา 2561 สัดส่วนผู้เรียน 27.20 ต่อ 72.80 และปีการศึกษา 2562 สัดส่วนผู้เรียน
35.62 ต่อ 64.38 ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นแต่ยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย ตามแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ดังน้นั การพฒั นา คุณภาพผ้เู รยี นให้มีคุณลกั ษณะดงั กล่าวจึงมี
ความจำเป็นจะต้องปรับหลักสูตรให้ทันสมัย พัฒนากระบวนการคิด และทักษะที่จำเป็น มีความยืดหยุ่นสอดคล้อง
กับความสามารถและความถนัดของผู้เรียนแต่ละคน ตลอดทั้งสอดคล้องกับสภาพบริบทของแต่ละพื้นที่เพื่อ ให้
ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ มีงานทำ สามารถอยู่ใน
สังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ไดจ้ ัดทำโครงการสง่ เสรมิ เวทีและประชาคมเพื่อการ
พัฒนาหลักสูตร ต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาหลักสูตรระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีความเชื่อมโยงกับหลักสูตรในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการมีงานทำ เพื่อให้ผู้เรียนที่จบการศึกษาในแต่ละระดับสามารถใช้ความรู้และ
ประสบการณไ์ ปใช้ในการประกอบอาชพี ไดต้ ามความถนัดและความสนใจ

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
เพอื่ พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานที่มคี วามเช่ือมโยงการจดั การเรยี นรใู้ นระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

กับอาชวี ศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของพนื้ ท่ใี นระดบั จงั หวดั และภมู ิภาค

1.3 เปา้ หมายโครงการ
1) เปา้ หมายเชิงปริมาณ (Output) สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด มหี ลกั สูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษา

ข้นั พน้ื ฐานกับอาชวี ศึกษาและ อดุ มศกึ ษา อยา่ งน้อย 1 หลกั สูตรตอ่ จังหวดั
ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมายโครงการ (Outputs)
1. มีหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ในระดับจังหวัด

จำนวน 77 หลักสตู ร

3

2. รายงานการวจิ ัยหรือรายงานผลการดำเนินงานโครงการระดับประเทศ ระดับภาค และระดบั จังหวัด
3. รายงานการวจิ ัยทเ่ี ป็นแนวปฏบิ ตั ิท่ีดี (Best Practice) ของการดำเนนิ งาน CLC ระดบั ประเทศ
2) เป้าหมายเชิงคุณภาพ (Outcomes) ผู้สำเร็จการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา
มที างเลือกในการเข้าสูก่ ารศกึ ษาในระดับที่สูงข้นึ ทีห่ ลากหลายสอดคล้องกบั ความต้องการและบริบทในพ้ืนท่ี
ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes)
ทุกจงั หวดั มรี อ้ ยละของผู้เรียนตอ่ สายอาชีพเพิ่มขึ้น

1.4 กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
1) สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการภาค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

สถาบนั การศึกษาทกุ ระดบั
2) ผ้บู รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผู้เรยี นในสถานศกึ ษาทกุ สงั กดั
3) ภาคเี ครือขา่ ยการศึกษาของพนื้ ที่

1.5 ระยะเวลาดำเนนิ การ
ดำเนินการในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (ตุลาคม 2563-กนั ยายน 2564)

1.6 ความสำคัญของโครงการ
1) ได้หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (Continuous and

Linking Curriculum : CLC)
2) มีทางเลือกในการเข้าสู่การศึกษาในระดับสูงขึ้นที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการและบริบทใน

พนื้ ที่
3) มีผลงานการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัยจากการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กับอาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษา (Continuous and Linking Curriculum : CLC)ระดับจังหวดั ระดับภาคและระดับ
กระทรวง

1.7 ประมวลนิยามศัพทข์ องโครงการ
1) หลกั สูตรตอ่ เน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กับอาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษา (Continuous and

Linking Curriculum : CLC) หมายถึง หลักสูตรที่สามารถเทยี บโอนหน่วยกติ หรือประสบการณ์ จากสถานศึกษา
แห่งหนึ่งเพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) ในสถานศึกษาอื่นในสมรรถนะเดียวกัน โดยมีกระบวนการอย่าง
เปน็ ระบบเช่อื มโยงกนั อย่างน้อย 2 ระดับ โดยมีองคป์ ระกอบพน้ื ฐานของหลกั สตู ร

4

1) วตั ถปุ ระสงค์
2) เนื้อหา
3) กจิ กรรมการเรียนการสอน
4) การประเมินผล
2) ลักษณะของการเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา หมายถึง วิธีการ
ทีส่ ถานศกึ ษาคพู่ ฒั นาร่วมกันจดั การศกึ ษาต้งั แตส่ องสถาบัน มี 5 ลกั ษณะของการเชือ่ มโยง ดังนี้
1. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เชื่อมโยงกับ ระดับอาชีวศึกษา (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน สามารถเทียบโอนผลการเรียนกับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพของ อาชีวศึกษา
(ม.1-3 ปวช.)
2. ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เชือ่ มโยงกับ ระดบั อาชีวศึกษา (ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายสามารถ
เทยี บโอนผลการเรียนกับประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู ) (ม.4-6 เทียบโอนกับ ปวส.)
3. ระดับการศึกษาอาชีวศึกษาเชื่อมโยงกับระดับอุดมศึกษา (ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ
ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูงสามารถเทียบโอนผลการเรยี น (ปวช. หรือ ปวส. เทียบโอนกับ ป.ตร)ี
4. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเชื่อมโยงกับ ระดับอุดมศึกษา (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถ
เทียบโอนผลการเรียนกบั ป.ตรี) (ม. 4-6 เทียบโอนกับ ป.ตรี)
5. การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เช่อื มโยงกับ ระดับอาชวี ศึกษา และระดบั อุดมศึกษา (การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เช่ือมโยงกับ ระดับอาชีวศกึ ษา และอาชีวศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรยี นกับอดุ มศึกษา)
3) Degree certification หมายถึง ประกาศนียบัตรของสถาบันที่ได้รับรองคุณวุฒิการศึกษาอย่างเป็น
ทางการจากภาครฐั และมกี ารตีค่าระดับเงนิ เดอื นจาก สำนกั งาน ก.พ.
4) Non-Degree certification หมายถึง ประกาศนียบัตรหรือใบรับรองที่สถาบันการศึกษาจัดขึ้นเป็น
การเฉพาะ ตามความต้องการของสถานประกอบการหรือตลาดแรงงาน
5) ระบบการเทียบโอนหน่วยกิต หมายถึง การนำผลการศึกษาจากสถาบันการศึกษาหนึ่ง เปรียบเทียบ
และขอรับรองสมรรถนะในผลการศึกษาของสถาบันอีกแห่งหนึ่ง โดยทำข้อตกลงและกระบวนการในการเทียบโอน
หนว่ ยกติ อยา่ งเปน็ ระบบ
6) ระบบการเทียบโอนประสบการณ์ หมายถึง การนำประสบการณใ์ นการทำงานในสมรรถนะท่ีกำหนดไว้
ในรายวิชาของสถาบันการศึกษา เปรียบเทียบเพื่อให้ได้รับการรับรอง (Accreditation) ว่าเป็นสมรรถนะของ
รายวชิ าในสถานศกึ ษาน้นั เพ่อื นำไปใชใ้ นการเทยี บโอนผลการเรียนตอ่ ไป
7) หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency base curriculum) หมายถึง หลักสูตรท่ีมีการวิเคราะห์
สมรรถนะที่คาดหวงั อยา่ งเป็นระบบ แลว้ นำมาจัดการเรียนการเรยี นรใู้ นรูปแบบของการมงุ่ เน้นการฝกึ ทกั ษะ ทักษะ
ผ่านการปฏิบตั ิจรงิ มีการประเมนิ โดยองิ สมรรถนะ
8) กลุ่มอาชีพตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 หมายถึง กลุ่มสาขาอาชีพที่ภาครัฐให้การส่งเสริม และเป็นท่ี

ต้องการของประเทศไทยในปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่

1. กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ

5

2. กล่มุ สาธารณสุข สขุ ภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์
3. กลุ่มเครื่องมอื อุปกรณ์อจั ฉรยิ ะ หนุ่ ยนต์ และระบบเครื่องกลท่ใี ช้ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ควบคุม
4. กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตท่ีเชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และ
เทคโนโลยีสมองกลฝงั ตัว
5. กลมุ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรม และบรกิ ารทมี่ มี ูลค่าสูง
9) First S Curve หมายถงึ อุตสาหกรรมเดิมท่ีมศี ักยภาพในปัจจุบัน ประกอบด้วย อตุ สาหกรรมยานยนต์
สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพและอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
10) New S Curve หมายถึง อุตสาหกรรมอนาคต ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม
การบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิตอล อุตสาหกรรมการแพทย์
ครบวงจร
11) ตลาดแรงงาน หมายถงึ จำนวนตำแหน่งงาน ที่มีความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ ที่สถานประกอบการท้ัง
ภาครัฐและภาคเอกชนมีความต้องการในปจั จบุ นั
12) ข้อมูลเกี่ยวกับ CLC หมายถึง จำนวนของสิ่งประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำโครงการ ได้แก่ จำนวน
องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งร่วมจัดการศึกษา ร่วมพัฒนาหลักสูตร และร่วมงานในช่วงใดช่วงหนึ่งของโครงกา ร,
จำนวนหลักสูตร CLC ที่มีการเชื่อมโยงกันในลักษณะต่าง ๆ , จำนวนรายวิชา, จำนวนสถาบันเชื่อมโยง เป็นต้น
รวมถึงค่าเป้าหมายที่หน่วยจัดการศึกษาหลักสูตรเชื่อมโยงสามารถจัดเก็บหลักฐานเป็นรูปธรรม ได้แก่ ระยะเวลา
เรียนลดลง, ลดค่าใช้จ่ายในการเรียน, ผู้เรียนสามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียน, โอกาสในการศึกษาต่อเพิ่มขึ้น,
โอกาสในการได้งานทำเพิ่มขึ้น, จำนวนผู้เรียนสายอาชีพเพิ่มขึ้น, ภาพลักษณ์ของการเรยี นสายอาชพี ดีขึ้น, การเพ่ิม
โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง, การเพิ่มรูปแบบในการศึกษาให้หลากหลาย, การลดปั ญหาการออก
กลางคันของผู้เรียน การสร้างโอกาสในการเปน็ ผู้ประกอบการในชุมชน และข้อมูลการเปรียบเทียบจำนวนผูเ้ รยี นท่ี
เขา้ เรยี นตอ่ สายอาชพี ต่อสายสามัญของผู้สำเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ของแต่ละปี
13) สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพต่อสายสามัญ หมายถึง ร้อยละของผู้เข้าเรียนต่อในระดับอาชีวศึกษา
(ปวช.1) เทยี บกบั รอ้ ยละของผู้เข้าเรียนตอ่ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4)

ปกี ารศึกษา จำนวนผูเ้ ขา้ ศึกษาต่อ อตั ราส่วน
ทส่ี ำเรจ็ ปวช. ม.4 ปวช. ม.4

2562 A B ( + ) × ( + ) ×
2563
C D
( + ) × ( + ) ×

6

สว่ นที่ 2

แนวทางการดำเนินงาน

การดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่อง
เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อเป็นแนวทาง
ให้กับสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษา ธิการจังหวัด
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการ จึงเสนอแนวทางการดำเนนิ งาน ดังนี้

2.1 แนวทางการดำเนินงาน

กิจกรรม สป. ศธภ. ศธจ.

ขั้นการเตรียมการ (Plan)
1. แต่งต้ังคณะทำงาน CLC ระดับกระทรวง/ภาค/จังหวัด 26 พ.ย.63 ม.ค.64 ม.ค.64

2. ประชุมคณะทำงานฯ วางแผนและออกแบบการทำงาน 15-18 ธ.ค. 63 ก.พ.64 ก.พ.64

3. ประชมุ สรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับการดำเนนิ งานโครงการ OP OP ก.พ.64
และแจ้งเกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพเพ่ือการพัฒนางาน NF NF
ตามโครงการใหก้ ับผูม้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง เชน่ หน่วยงาน
การศึกษา ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครผู สู้ อน ภาคีเครือข่าย ฯลฯ

ขัน้ การดำเนนิ การ (Do)

4. อบรมสรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับการดำเนนิ งานโครงการ 13-15 ม.ค. 64
ใหก้ บั ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ของ ศธภ. และ ศธจ.

5. เปิดรบั ข้อเสนอโครงการวิจัย 18-30 ม.ค. 64 OP OP
6. ประกาศผลการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย ก.พ.64 OP OP
7. สง่ เสริมการขบั เคลื่อนการทำงานระดับจงั หวัด OP OP OP

8. ประชุมคณะทำงาน CLC ระบบออนไลน์ เดือนละ 1 ครั้ง OP OP

7

กิจกรรม สป. ศธภ. ศธจ.

9. จบั คสู่ ถานศึกษาคู่พฒั นาหลกั สตู รตอ่ เนื่องเชื่อมโยงฯ NF NF ก.พ.64
(Matching)

10. สร้าง/พัฒนา หรือ คดั เลือกหลกั สตู ร CLC และ NF NF ก.พ.-มี.ค.64
กำหนดกระบวนการในการดำเนินงานพัฒนาหลักสตู ร CLC

11. ศธจ. จัดเวทลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU NF NF ก.พ.-ม.ี ค.64

12. ดำเนินการตามกระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร CLC NF NF มี.ค.-ก.ค. 64

ขน้ั การตดิ ตามผล (Check)

13. นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล โดยการลงพื้นท่ี พ.ค.-ก.ค. 64 NF NF
ตดิ ตามการดำเนินงาน ของ ศธภ./ศธจ.

14. กำกบั ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน CLC NF พ.ค.-ก.ค. 64 NF
ของ ศธภ. โดยลงพน้ื ที่ และระบบออนไลน์

15. ประชมุ นำเสนอแลกเปล่ียนเรียนรู้ ก.ค. 64 ก.ค. 64 ก.ค.64

16. ประเมนิ โครงการวิจัยทีเ่ ป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี ส.ค. 64 OP OP
(Best Practice)

ขน้ั การปรับปรงุ หรือกำหนดมาตรฐาน (Act)

17. ประชมุ สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งาน ส.ค. 64 ก.ค.-ก.ย 64 ก.ค.-ก.ย 64

18. สงั เคราะห์แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ส.ค. 64 OP OP
ของการดำเนนิ งาน ปี พ.ศ. 2564

หมายเหต:ุ

OP = Optional หมายถงึ กิจกรรมทไ่ี มบ่ งั คับ หากมีความประสงค์อยากดำเนนิ การสามารถดำเนนิ การได้
NF = Non-Function หมายถงึ ไม่ใชห่ น้าทท่ี ีต่ ้องดำเนินการ

8

2.2 แนวทางการดำเนินงาน จำแนกตามระดบั การปฏบิ ัติ
2.2.1 แนวทางการดำเนินงานของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

แนวทางการดำเนินงาน ระยะเวลา
1. เสนอแตง่ ต้งั คณะทำงาน CLC ระดับกระทรวง 26 พ.ย.63
2. ประชุมคณะทำงานฯ วางแผนและออกแบบการทำงาน 15-18 ธ.ค. 63
3. ประชมุ สรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการและแจ้งเกณฑ์การประเมินระดบั 13-15 ม.ค. 64
คณุ ภาพเพื่อการพัฒนางานตามโครงการให้กบั ผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้อง เช่น หนว่ ยงานการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อน ภาคเี ครือข่าย ฯลฯ 18-30 ม.ค. 64
4. เปดิ รับข้อเสนอโครงการวิจัย ก.พ.64
5. ประกาศผลการพิจารณาขอ้ เสนอโครงการวิจัย เดือนละ 1 ครั้ง
6. ประชมุ คณะทำงาน CLC ระบบออนไลน์ พ.ค–ก.ค. 64
7. นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล โดยการลงพน้ื ที่ติดตามการดำเนินงาน ของ ศธภ.
และ ศธจ. ก.ค. 64
8. ประชมุ นำเสนอแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ะดบั ประเทศ ส.ค. 64
9. ประเมนิ โครงการวจิ ยั ท่ีเป็นแนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี (Best Practice) ส.ค. 64
10. ประชุมสรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน ก.ย. 64
11. สังเคราะห์แนวปฏิบัตทิ ี่ดี (Best Practice) ของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2564

2.2.2 แนวทางการดำเนนิ งานของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ระยะเวลา
ม.ค.64
แนวทางการดำเนินงาน ก.พ.64
1. เสนอแตง่ ต้ังคณะทำงานฯ ระดบั ภาค ก.พ–ก.ค. 64
2. ประชมุ คณะทำงานฯ วางแผนและออกแบบการทำงาน
3. กำกบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนนิ งาน CLC ของ ศธภ. โดยลงพน้ื ท่ี และระบบ ก.ค. 64
ออนไลน์ ก.ค-ก.ย. 64
4. ประชุมนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดบั ภาค
5. ประชุมสรปุ และรายงานผลการดำเนินงานระดับภาค

2.2.3 แนวทางการดำเนินงานของสำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั 9

แนวทางการดำเนินงาน ระยะเวลา
ม.ค.64
1. แตง่ ตง้ั คณะทำงานฯ ระดับจงั หวดั ก.พ.64
2. ประชมุ คณะทำงานฯ วางแผนและออกแบบการทำงาน ม.ค.64
3. ประชุมสร้างความเขา้ ใจเกย่ี วกับการดำเนนิ งานโครงการของผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้อง เชน่
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และแจง้ เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพเพ่ือการพฒั นาโครงการ ก.พ.64
4. จับคสู่ ถานศกึ ษาคู่พัฒนาหลกั สูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงฯ (Matching) ก.พ.64–มี.ค.64
5. สร้าง/พัฒนา หรือ คัดเลือกหลักสตู ร CLC และกำหนดกระบวนการในการดำเนนิ งาน
พัฒนาหลกั สตู ร CLC ก.พ.-มี.ค 64
6. จดั เวทลี งนามบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ MOU ม.ี ค–ก.ค. 64
7. ดำเนินการตามกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร CLC ก.ค. 64
8. ประชุมนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ก.ค-ก.ย. 64
9. ประชมุ สรปุ และรายงานผลการดำเนินงานระดับจังหวดั

10

2.3 ปฏิทนิ การดำเนินงาน

11

ส่วนท่ี 3

เครือ่ งมอื ในการดำเนนิ งาน

ในการดำเนินงานโครงการสง่ เสรมิ เวทแี ละประชาคมเพื่อการจดั ทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง
เชือ่ มโยงการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จงึ ได้กำหนดเครอ่ื งมือ
ในการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล เกบ็ รวบรวมข้อมูลดังนี้

1. แบบนิเทศ ติดตาม ผลการดำเนินงานระดับจังหวัด
2. แบบนเิ ทศ ติดตาม ผลการดำเนินงานระดบั ภาค

ระดับจงั หวดั 12

แบบนิเทศ ติดตามผลการดำเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ เวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทำรูปแบบ
และการพฒั นาหลกั สตู รต่อเน่อื งเชือ่ มโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

……………………………………………………………….

คำชี้แจง
แบบนิเทศ ติดตามฯ ฉบับนี้ เป็นการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคม

เพื่อการจัดทำรูปแบบ และการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพื่อติดตามการดำเนินงานของสำนกั งาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด

แบบนเิ ทศ ตดิ ตามฯ ฉบับน้ี ประกอบดว้ ย 6 ตอน ได้แก่
1. ขอ้ มูลพื้นฐาน
2. ขน้ั การเตรยี มการ
3. ขั้นการดำเนินการ
4. ข้ันการติดตามผล
5. ขน้ั การปรับปรุงหรอื กำหนดมาตรฐาน
6. ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม

ตอนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน
สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด.....................................................ชือ่ ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ............................................
Email address…………..............................................……………หมายเลขโทรศพั ท์.....................................................
Fax. …………………………………….…….……................................. Id line …….……........................................................

ตอนที่ 2 ขน้ั การเตรียมการ

ท่ี รายการ การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ
1 การแต่งตั้งคณะทำงาน CLC
ระดบั จังหวดั 1. คณะทำงานในคำสง่ั ประกอบด้วย

1.1 ผูร้ บั ผิดชอบโครงการของ

สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั

1.2 ผูท้ รงคุณวุฒ,ิ ผเู้ ชีย่ วชาญจาก

สถาบนั อืน่ ๆ และหน่วยงานที่จัด

การศึกษาในระดบั จงั หวดั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2. เอกสารเพ่ิมเตมิ อน่ื ๆ ..............

13

ท่ี รายการ การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
2 การประชมุ คณะทำงานฯ วางแผนและ ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏิบตั ิ

ออกแบบการทำงาน 1. รายงานการประชมุ

3 การอบรมสรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับ 2. แผนการดำเนนิ งาน ท่ีแสดงให้
การดำเนินงานโครงการและแจง้ เกณฑ์
การประเมินระดับคณุ ภาพเพื่อการ เห็นถึงกระบวนการสร้าง/พัฒนา/
พฒั นางานตามโครงการให้กับผมู้ สี ่วน
เกย่ี วข้อง เชน่ หนว่ ยงานการศึกษา คดั เลอื กหลักสูตร/ออกแบบ
ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครผู สู้ อน ภาคี
เครอื ข่าย ฯลฯ เครอ่ื งมอื ประเมนิ และตดิ ตาม

CLC

3. ภาพกิจกรรม

4. เอกสารเพ่ิมเตมิ อน่ื ๆ ..............

1. ปฏทิ นิ การปฏิบตั ิงาน

2. ตารางการอบรม

3. เอกสารประกอบการอบรม

4. ภาพกิจกรรม

5. เอกสารเพ่ิมเติมอนื่ ๆ ..............

ตอนที่ 3 ขน้ั การดำเนินการ การปฏิบัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ที่ รายการ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบัติ
1 การจับคู่สถาบันค่พู ัฒนาหลักสูตร
ตอ่ เน่อื งเชือ่ มโยง (Matching) 1. ปฏทิ นิ การปฏบิ ัติงาน

2 การสร้าง/พัฒนา หรือ คัดเลอื ก 2. หนงั สือราชการ
หลักสตู ร CLC และกำหนด
กระบวนการในการดำเนินงานพัฒนา 3. เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง
หลกั สูตร CLC
4. ใบสมคั รเขา้ ร่วมโครงการ

5. แบบตอบรบั

6. ภาพกจิ กรรม

7. เอกสารเพิ่มเติมอ่ืนๆ .............

1. ปฏิทนิ การปฏิบัติงาน

2. หนังสือราชการ

3. เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

4. ประกาศผลการคัดเลือก

14

ที่ รายการ การปฏิบัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏิบตั ิ

หลักสตู ร

5. ประกาศรายช่ือสถานศึกษา

คพู่ ัฒนา

6. ภาพกิจกรรม

7. เอกสารเพิ่มเติมอ่ืนๆ .............

3 การจัดเวทีลงนามบันทึกข้อตกลงความ 1. หนงั สือราชการ

รว่ มมือ MOU 2. เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

3. บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ

MOU

4. ภาพกิจกรรม

5. เอกสารเพ่ิมเติมอืน่ ๆ .............

4 การดำเนินงานตามกระบวนการของ 1. ปฏทิ นิ การปฏบิ ตั ิงาน

การพัฒนาหลกั สูตร CLC 2. หนังสือราชการ

3. เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง

4. ภาพกิจกรรม

5. เอกสารเพ่ิมเตมิ อ่ืนๆ .............

ตอนที่ 4 ขน้ั การตดิ ตามผล การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลักฐาน
ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ
ท่ี รายการ
1 การประชุมนำเสนอแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 1. มีคำส่ังคณะทำงานการจดั

กิจกรรมนำเสนอ CLC และ

แลกเปล่ียนเรียนรู้

2. มแี นวทางการจัดกิจกรรม

นำเสนอ CLC และแลกเปลย่ี น

เรียนร้ทู ่เี หมาะสม

3. มกี ารประชาสัมพนั ธเ์ ชญิ ชวน

ภาคเี ครอื ข่ายในการมีส่วนรว่ ม

จดั กิจกรรมนำเสนอ CLC และ

15

ที่ รายการ การปฏิบัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบตั ิ

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

4. มกี ารเชดิ ชเู กียรติ หนว่ ยงาน

และสถานศึกษาคพู่ ฒั นาทม่ี ี

ผลงานการนำเสนอ CLC และ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้5. มีข้อมลู

หลกั สตู รต่อเนอ่ื งเช่อื มโยง

การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานฯ ของ

สถานศกึ ษาคู่พัฒนาในระดับ

จงั หวัด (สถติ ิท่เี กย่ี วข้อง)

6. เอกสารเพ่ิมเติมอ่นื ๆ .............

ตอนที่ 5 ขน้ั การปรบั ปรุงหรือกำหนดมาตรฐาน

ที่ รายการ การปฏิบัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏิบตั ิ
1 การประชุมสรปุ และรายงานผล
การดำเนินงาน 1. มีคำสัง่ คณะกรรมการจดั ทำ

สรุป และรายงานผล

การดำเนินงานโครงการ

2. รายงานผลการดำเนนิ งาน

โครงการ

3. รายงานโครงการวิจยั ที่เปน็

แนวปฏิบตั ิทดี่ ี (Best Practice)

ระดับภาค (ถ้าม)ี

4. มีการเผยแพร่รายงานผล

การดำเนนิ งาน

5. เอกสารเพิ่มเติมอ่ืนๆ .............

16

ตอนที่ 6 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม

จดุ เด่น/ข้อคน้ พบ/วธิ ีปฏิบตั ทิ ดี่ ี

.................................................................................................... ..................................................................
......................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... ...............................
............................................................................................. .........................................................................
......................................................................................................................................................................

จดุ ทคี่ วรพฒั นา

............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................

ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ

......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ ..............................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
................................................................................................................. .....................................................

ระดับภาค 17

แบบนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดำเนินงานโครงการสง่ เสรมิ เวทีและประชาคมเพื่อการจดั ทำรูปแบบ

และการพัฒนาหลกั สูตรต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยงการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกับอาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษา

ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

………………………………………………………………
คำช้แี จง

แบบนิเทศ ติดตามฯ ฉบับนี้ เป็นการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคม
เพื่อการจัดทำรูปแบบ และการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ ตดิ ตามการดำเนินงานของสำนักงาน
ศึกษาธิการภาค

แบบนเิ ทศ ตดิ ตามฯ ฉบับนี้ ประกอบดว้ ย 6 ตอน ไดแ้ ก่
1. ขอ้ มูลพื้นฐาน
2. ข้นั การเตรียมการ
3. ขั้นการดำเนินการ
4. ขัน้ การติดตามผล
5. ขนั้ การปรับปรงุ หรือกำหนดมาตรฐาน
6. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม

ตอนที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐาน
สำนกั งานศึกษาธิการภาค.........................................................ชือ่ ผ้รู ับผิดชอบโครงการ............................................
Email address…………..............................................……………หมายเลขโทรศัพท.์ ....................................................
Fax. …………………………………….…….……................................. Id line …….……........................................................

ตอนที่ 2 ขนั้ การเตรยี มการ การปฏบิ ตั ิ เอกสาร/หลักฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ
ท่ี รายการ
1 การเสนอแต่งต้งั คณะทำงาน CLC 1. คณะทำงานในคำสั่งประกอบดว้ ย

ระดบั ภาค 1.1 บคุ ลากรระดับภาค

1.2 ผรู้ ับผิดชอบโครงการของ

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

1.3 ผู้ทรงคุณวฒุ ิ, ผเู้ ช่ยี วชาญจาก

สถาบันอืน่ ๆ

2. เอกสารเพ่ิมเติมอ่นื ๆ ...................

18

ที่ รายการ การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ัติ

2 การประชมุ คณะทำงานฯ วางแผนและ 1. รายงานการประชุม

ออกแบบการทำงาน 2. แผนการดำเนินงาน

3. ภาพกิจกรรม

4. เอกสารเพิ่มเตมิ อนื่ ๆ ...................

ตอนที่ 3 ขนั้ การดำเนนิ การ การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบตั ิ
ท่ี รายการ
1 การส่งเสรมิ การขบั เคล่ือนการทำงาน 1. แผนปฏบิ ตั งิ าน

ระดบั จังหวดั 2. หนงั สือราชการ

3. เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง

4. ภาพกจิ กรรม

5. เอกสารเพ่ิมเตมิ อ่ืนๆ ...................

ตอนท่ี 4 ขน้ั การติดตามผล การปฏบิ ตั ิ เอกสาร/หลกั ฐาน
ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ
ที่ รายการ
1. คำส่งั แต่งตั้งคณะทำงานท่ี
1 การกำกบั ติดตาม และประเมินผล
การดำเนินงาน CLC ของ ศธภ. เกี่ยวขอ้ งกับการกำกับตดิ ตาม
โดยลงพน้ื ท่ี และ ระบบออนไลน์
การดำเนนิ งาน CLC

2. แนวทาง เครอ่ื งมอื และแผน

การปฏิบัตงิ านกำกับ ตดิ ตาม และ

ประเมินผลการดำเนนิ งาน CLC

ทชี่ ดั เจน

3. การนำเทคโนโลยีมาเพ่ิม

ประสิทธภิ าพการกำกับ ตดิ ตาม

และประเมนิ ผลการดำเนินงาน CLC

19

ที่ รายการ การปฏบิ ัติ เอกสาร/หลักฐาน
ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ

4. ขอ้ มูลหลกั สูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยง

การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานฯ ของ

สถานศกึ ษาคู่พัฒนาในระดบั ภาค

(สถติ ทิ ี่เก่ยี วข้อง)

5. เอกสารเพิ่มเติมอ่นื ๆ ...................

2 การประชมุ นำเสนอแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 1. คำส่งั คณะทำงานการจัดกิจกรรม

นำเสนอ CLC และแลกเปลย่ี นเรียนรู้

2. มแี นวทางการจัดกจิ กรรมนำเสนอ
CLC และแลกเปล่ยี นเรยี นร้ทู ่ีเหมาะสม

3. การประชาสมั พนั ธ์เชญิ ชวนภาคี

เครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรม

นำเสนอ CLC แลกเปล่ียนเรียนรู้ และ

เชดิ ชเู กียรติ ศธจ.และสถานศึกษา ท่มี ี

ผลงานการนำเสนอ CLC และ

แลกเปลย่ี นเรียนรู้ หรือ สง่ เสรมิ

สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมเชดิ ชูเกยี รติ

หน่วยงานและสถานศึกษาคู่พัฒนาทมี่ ี

ผลงานการนำเสนอ CLC และ

แลกเปล่ียนเรยี นรู้

4. เอกสารเพิ่มเตมิ อนื่ ๆ ...................

ตอนท่ี 5 ข้นั การปรับปรุงหรือกำหนดมาตรฐาน

ที่ รายการ การปฏิบัติ เอกสาร/หลักฐาน
ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ัติ
1 การประชุมสรุปและรายงานผล
การดำเนินงาน 1. คำส่ังคณะกรรมการจัดทำสรปุ และ

รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ

2. รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ

20

3. รายงานโครงการวจิ ยั ทีเ่ ปน็ แนว
ปฏบิ ตั ิท่ดี ี (Best Practice) ระดับภาค
(ถา้ มี)
4. การเผยแพร่รายงานผล
การดำเนนิ งาน
5. เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ...................

ตอนท่ี 6 ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม

จดุ เด่น/ขอ้ คน้ พบ/วธิ ปี ฏิบัติทด่ี ี

............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
.................................................................................................................... ..................................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

จุดทคี่ วรพฒั นา

......................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................

ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ

............................................................................................................................................ ..........................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................

21

ภาคผนวก

1. แนวทางการจดั การศกึ ษาเรียนรวมหลักสูตรอาชวี ศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
http://www.secondary35.go.th/wp-content/uploads/2019/12/book11-62.pdf

2. คมู่ ือแนวปฏบิ ัติการเรียนรายวชิ าสะสมหน่วยกจิ เตรียมอาชีวศกึ ษา
http://krooterapong.com/trp/pluginfile.php/312/mod_resource/content/1/manualpreved.pdf

22

คณะผจู้ ัดทำ

ท่ีปรึกษา รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายวรี ะ แขง็ กสิการ ผอู้ ำนวยการสำนักบูรณาการกจิ การการศกึ ษา
2. นายชาญวุฒิ วงศ์เพ็ง สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คณะทำงาน ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดบรุ รี มั ย์
1. นายอดลุ ย์ สชุ ิรมั ย์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักบรู ณาการกิจการการศึกษา สป.
2. นางปภาวรนิ ท์ เรืองประจวบกุล ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสีมา
3. ผศ.ดร.วชิ ยุทธ จนั ทะรี ผ้ชู ว่ ยอธิการบดมี หาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ
4. ผศ.ดร.ทรงกรด พิมพิศาล รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ วิทยาลัยเทคนคิ ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา
5. นายศภุ วุฒ อนั สนธิ์ ผู้อำนวยการวิทยาลยั เทคโนโลยพี ายพั และบรหิ ารธรุ กิจ จังหวัดเชยี งใหม่
6. ดร.ธนภัทร มัน่ คง ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพิษณุโลก
7. นายเดชา พลกนั ยมิ้ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอด็
8. นางพัชรี ศรี ษะภูมิ ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสมี า
9. นางประภสั สร สติ วงษ์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดร้อยเอ็ด
10. นายอุบล แกว้ ปน่ิ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดกาฬสินธุ์
11. นางศภุ คั ดอนกระสินธ์ุ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดอดุ รธานี
12. นางร่งุ ทพิ ย์ พรหมหลวงศรี ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดขอนแก่น
13. นางนตั ยา หล้าทูนธีรกุล ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเชยี งใหม่
14. นางสาวชนิกานต์ เรือนแก้ว นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการภาค 15
15. นางพนั ธทุ์ ิพย์ โลราช นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค 1
16. นายสทุ ลทัศน์ เจรญิ สุข นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั บรู ณาการกิจการการศึกษา สป.
17. น.ส.ปานมนสั โปธา พนักงานวเิ คราะห์นโยบายและแผน สำนักบรู ณาการกิจการการศึกษา สป.
18. น.ส.กรัณฑรัตน์ สายนยุ้ บคุ คลภายนอกจ้างเหมา สำนักบูรณาการกิจการการศึกษา สป.
19. น.ส.ชลธชิ า วราชาติ บคุ คลภายนอกจา้ งเหมา สำนักบรู ณาการกิจการการศึกษา สป.
20. น.ส.ปรมาภรณ์ ปัทมดิลก


Click to View FlipBook Version