The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินงานโครงการ IFTE

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by education kkn, 2021-01-06 21:21:16

แนวทางการดำเนินงานโครงการ IFTE

แนวทางการดำเนินงานโครงการ IFTE

แนวทางการดำเนินงาน
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา

กลมุ่ นิเทศการศึกษาและพัฒนานวัตกรรม
สำนักบูรณาการกจิ การการศึกษา
สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


คำนำ

แนวทางการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา
เพื่อพัฒนาการศึกษา เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนโครงการให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้โครงการ
Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ 1) เพื่อให้มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด
2) เพอื่ สง่ เสรมิ สนับสนุน พฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
3) เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผล 4) เพื่อสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และ5) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน
พัฒนาให้สถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้น การดำเนินการ
ของโครงการมีกิจกรรมทสี่ ำคญั ได้แก่ การรวบรวมสารสนเทศ นวตั กรรม และการวิจัยทางการศึกษาดา้ นการบริหารจัดการ
การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล โดยการพัฒนานวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบ แนวทาง การวิเคราะห์
การวิจัย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ การบูรณาการ และเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาวิธีปฏิบัติที่ดี
(Best Practice) ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และการถ่ายทอด
องค์ความรู้ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับรู้รับทราบผลงาน ทั้งนี้มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ สถานศึกษามีร้อยละของนักเรียน
ทมี่ ีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐานแต่ละวชิ าผา่ นเกณฑ์เพิ่มขึ้น

กลุ่มนิเทศการศึกษาและพัฒนานวัตกรรม สำนักบรู ณาการกิจการการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่านที่ได้ร่วมแรงร่วมใจในการระดมแนวคิด ออกแบบแนวทางการดำเนินการโครงการ
ได้วางแผนและออกแบบการดำเนินงานตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา
เพื่อพัฒนาการศึกษา ให้ดำเนินไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพื่อประสิทธิผลของคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนและสถานศึกษา
มีร้อยละของนักเรียนที่คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์เพิ่มข้ึน
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การดำเนินงานตามโครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่อื พัฒนาการศกึ ษา จะส่งผลต่อคณุ ภาพของผู้เรียนในทสี่ ุด

กลุม่ นเิ ทศการศึกษาและพฒั นานวตั กรรม
สำนักบรู ณาการกจิ การการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบัญ ข

คำนำ 1
สารบญั 1
ส่วนที่ 1 หลกั การและเหตุผลโครงการ 2
2
1.1 บทนำ 3
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4
1.3 ขอบเขตของโครงการ 4
1.4 ความสำคัญของโครงการ 5
1.5 นยิ ามศัพท์ของโครงการ 5
1.6 ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จของโครงการ 6
สว่ นท่ี 2 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ
2.1 แนวทางการจดั ทำศนู ย์กลางข้อมลู สารสนเทศ นวตั กรรม และงานวิจัยทางการศึกษา 7
2.2 แนวทางการสง่ เสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบรหิ ารจดั การ
8
การจดั การเรยี นรู้ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล 9
2.3 แนวทางการสงั เคราะห์ วิเคราะห์ วิจัย และเผยแพรน่ วัตกรรม 10
15
การบรหิ ารจัดการศึกษา การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 19
2.4 แนวทางการสร้างเครือข่ายความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 21
ส่วนที่ 3 เครอ่ื งมือ 22
3.1 แบบเกบ็ ข้อมูลสารสนเทศ นวตั กรรม และงานวิจัยทางการศกึ ษา 34
3.2 แบบติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
3.3 แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรม
3.4 แบบรายงานการสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือ
ภาคผนวก
คณะทำงาน

1

ส่วนท่ี 1

บทนำ

หลักการและเหตุผลของโครงการ

การที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้
ความสำคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็ง และมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการ
การพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาว โดยเฉพาะ “การพัฒนาคน” ให้มีการเตรียมความพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัย
แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ทั้งในเชิงระบบและโครงสรา้ งของสังคมไทยให้มี
ภูมิค้มุ กันต่อการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ที่จะเกดิ ขึ้น

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” พัฒนาคนใน
ทุกมิตแิ ละในทุกชว่ งวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมีคณุ ภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต
บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์และ
วางเปา้ หมายทสี่ ามารถตอบสนองการพัฒนาท่สี ำคัญในด้านตา่ ง ๆ คือ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตร์พฒั นาหลกั สตู ร
กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ที่มุ่งหวังให้คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
และการพัฒนาประเทศในอนาคต ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยทุ ธศาสตรผ์ ลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ทม่ี ุ่งหวงั ใหม้ กี ารผลิตครูได้สอดคล้อง
กับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพ
ในการสอนได้อย่างเต็มที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนา
กำลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ที่มุ่งหวังให้กำลังคนได้รับการผลิต
และพัฒนาเพ่ือเสริมสรา้ งศักยภาพการแข่งขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการ
พัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ที่มุ่งหวังให้การบริการการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มทุกวัยในระดับที่เหมาะสมกับสภาพบริบทและสภาพพื้นที่ ซ่ึง
ตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการและด้านความเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ส่งเสริม
และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ที่มุ่งหวังให้คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซง่ึ ตอบสนองการพฒั นาในด้านการเข้าถงึ การใหบ้ รกิ าร ดา้ นความเทา่ เทยี ม และด้าน
ประสิทธิภาพ และยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน
การจดั การศกึ ษา ที่มุ่งหวงั ให้มกี ารใช้ทรัพยากรท้ังด้านงบประมาณและบุคลากรได้อย่างคุ้มค่า ไมเ่ กิดการสูญเปล่า
และมีความคล่องตวั ซงึ่ ตอบสนองการพฒั นาในดา้ นประสทิ ธิภาพ

2

จากรายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2562 พบว่า ในแผนแม่บทด้านการพัฒนา
การเรียนรู้ ซึ่งมีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิดวิเคราะห์ รักการเรียนรู้
มสี ำนกึ พลเมอื ง มีความกลา้ หาญทางจรยิ ธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่อื สารและทำงานร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมปี ระสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึน้ ผลการประเมินด้านทักษะ อยู่ที่ 62.30 คะแนน ต่ำกว่า ปี 2561 ซึ่งผล
การประเมินอยู่ท่ี 63.00 และจากรายงานวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ) พบวา่ ปญั หาคุณภาพการศึกษาไทย
สาเหตหุ ลักสว่ นหนึ่ง เกดิ จากระบบการศึกษาไทยไม่เอ้ือต่อการสรา้ งความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) หลักสูตร
และตำราเรียนของไทยไมส่ อดคล้องกับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 การทดสอบยังคงเน้นการจดจำเนื้อหา
มากกว่าการเรียนเพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจอย่างแท้จริง

กระบวนการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริหารจัดการศึกษา
กระบวนการจัดการเรยี นการสอน และกระบวนการนเิ ทศการศึกษา ซึง่ จะตอ้ งมคี วามรอ้ ยรัดสัมพันธ์กนั เป็นอย่างดี
โดยต้องอาศัยความร่วมมือกันของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน การสร้างเครือข่ายในการทำงานในแต่ละพื้นท่ี
จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการร่วมคิด ร่วมทำร่วมประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนากระบวนการทำงาน และสร้างนวัตกรรมในการทำงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบทและ
ความตอ้ งการของแตล่ ะพน้ื ที่ รองรบั การพฒั นาผูเ้ รยี นให้มคี วามรู้และทกั ษะในศตวรรษที่ 21

จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดทำโครงการ IFTE (Innovation
For Thai Education) ขึ้น ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยการนำผลการวิเคราะห์และการวิจัยการพัฒนารูปแบบ
และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการวิเคราะห์และการวิจัยแนวทาง
การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารการจดั การศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education) และ
โครงการ “ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 มาสรุป
หลอมรวมและใช้ในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา เพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่าย
ความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านกระบวนการ
บริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ
ของผู้เรียนในดา้ นทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และทกั ษะชวี ติ ในศตวรรษ ที่ 21

วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

1. เพ่ือให้มีศูนย์กลางข้อมลู สารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจยั ทางการศกึ ษาระดับจงั หวัด
2. เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนนุ พัฒนา นวัตกรรมการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศ ตดิ ตามและ
ประเมินผล
3. เพอื่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจยั และเผยแพร่นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ
ตดิ ตามและประเมนิ ผล
4. เพอ่ื สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
5. เพอื่ สง่ เสริม สนับสนนุ พฒั นาใหส้ ถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ัน
พน้ื ฐานผ่านเกณฑ์เพม่ิ ขึ้น

3

ขอบเขตของโครงการ
1. สาระสำคัญของโครงการ
1.1 เป็นการพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับจังหวัด

ทส่ี ำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ท่ัวประเทศ
1.2 เป็นการพัฒนานวตั กรรมการบริหารจดั การศึกษา การจดั การเรยี นรู้และการนิเทศ ติดตาม

และประเมนิ ผล เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับจงั หวัด ระดับภาคและระดับกระทรวง
1.3 เปน็ การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วจิ ัยการพฒั นานวัตกรรมการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้

และการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระดบั จงั หวัด ระดับภาคและระดบั กระทรวง
1.4 เป็นการสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาระดบั จังหวดั ระดับภาค

และระดบั กระทรวง
1.5 เปน็ การสง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนาใหส้ ถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษา

ระดับชาติขัน้ พื้นฐานผ่านเกณฑ์เพิม่ ข้นึ
2. กลมุ่ เป้าหมายของโครงการ
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการภาค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียนในสถานศึกษาทุกสังกัด รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ 77
จงั หวดั

3. ระยะเวลาดำเนินการ
โครงการ Innovations For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพื่อพัฒนาการศกึ ษา

เริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตลุ าคม 2563-กนั ยายน 2564)

4

ความสำคัญของโครงการ
1. ได้ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดของสำนักงาน

ศกึ ษาธิการจังหวดั ทวั่ ประเทศ
2. มีนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อพัฒนา

คณุ ภาพการศกึ ษาที่หลากหลายในระดับจงั หวดั ระดบั ภาคและระดบั กระทรวง
3. มีผลงานการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัยจากการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้

การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาในระดับจงั หวัด ระดับภาคและระดบั กระทรวง
4. มีการสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดบั จังหวัด ระดับภาคและระดับกระทรวง
5. มีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาให้สถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ขน้ั พน้ื ฐานผา่ นเกณฑ์เพ่มิ ข้ึน
6. มีการบูรณาการด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผลระหว่าง

สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดและระดับภาค ในการพัฒนาคนให้พร้อมเข้าสู่สังคมคุณภาพ
ในศตวรรษที่ 21 เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายที่เกี่ยวข้องได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธทิ์ างการศึกษาและการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ตามสมรรถนะของผู้เรยี นเพ่ิมข้ึน

นิยามศัพท์ของโครงการ
1. ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา หมายถึง ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน

(O-NET) นวัตกรรมทางการศึกษา และงานวิจัยทางการศึกษา ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ใหส้ อดคล้องกับสภาพปัจจบุ นั ปัญหา และความต้องการของแตล่ ะพ้นื ที่

2. นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง แนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนา ปรับปรุงหรือ
ดัดแปลงใหม้ คี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการนำมาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3. งานวิจัยทางการศึกษา หมายถึง ผลงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานเกี่ยวกับการบริหาร
จดั การศึกษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล โดยผ่านกระบวนการแสวงหาความรู้ความจริง
ทีม่ ีระบบและวิธกี ารทเ่ี ชือ่ ถือได้และเปน็ ท่ยี อมรับ

4. เครือข่ายความร่วมมือ หมายถงึ การสร้างความร่วมมือจาก หนว่ ยงาน องค์กรทง้ั ภาครฐั เอกชน และ
ประชาชน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ ของโครงการ
1. มขี อ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษาทมี่ ีความถกู ต้อง ครอบคลมุ ชดั เจน และเปน็ ปจั จบุ ัน
2. มีนวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล

5

3. มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตามและประเมินผล
4. มีการขยายผล เผยแพร่ นวัตกรรมการการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล
5. มีเครือข่ายความรว่ มมือ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในระดับจงั หวัด
6. มี Supervisor Teams เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดบั จังหวดั
7. ผู้เรียนในสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้น

6

ส่วนที่ 2

แนวทางการดำเนนิ งาน

ในการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนา
การศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเป็นแนวทางให้กับสำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดดำเนินไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึงได้เสนอ
แนวทางการดำเนินงาน ดงั นี้

1. จดั ทำศูนยก์ ลางขอ้ มูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศกึ ษา ระยะเวลา
แนวทางการดำเนินงาน ต.ค.63-ม.ค.64

1.สำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ต.ค.63-ม.ค.64
1.1 แตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน
1.2 รวบรวมข้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จากทุกจังหวัด
ในสำนักงานศึกษาธิการภาค โดยใช้ระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัล
1.3 สรปุ สงั เคราะห์และบันทกึ ข้อมูล
1.4 เผยแพร่ และนำข้อมลู ไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
1.5 รายงานขอ้ มูลให้กับสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง

2. สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
2.1 แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน
2.2 รวบรวมขอ้ มลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) จากหน่วยงาน

ท่เี กย่ี วข้อง โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล
2.2 สรุป สังเคราะหแ์ ละบันทึกข้อมลู
2.3 เผยแพร่ และนำข้อมูลไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2.4 รายงานข้อมูลให้กบั สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง

7

2. แนวทางการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมทางการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ

ตดิ ตามและประเมินผล

แนวทางการดำเนนิ งาน ระยะเวลา

สำนกั งานศึกษาธิการภาค

1. ช้แี จงการดำเนินการโครงการ ธ.ค.63-ม.ี ค.64

1) แต่งตั้งคณะทำงานระดับภาค

2) ประชมุ ช้แี จงการดำเนินงานโครงการ

3) กำหนดแนวทางการขบั เคลอื่ นโครงการ

2. นิเทศ ติดตามผลการดำเนนิ การโครงการ ธ.ค.63-ม.ี ค.64

1) แตง่ ต้ังคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการ

2) กำหนดแผนและปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการ

3) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลโครงการ

4) สรุปและรายงานผลการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลโครงการ

สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั

1. ช้แี จงการดำเนินงานโครงการ ธ.ค.63-มี.ค.64

1) ประชมุ ช้ีแจงแนวทางการดำเนินงานโครงการใหผ้ ู้มีส่วนเกย่ี วข้องรับทราบ

2) แตง่ ตงั้ คณะทำงานระดับจงั หวดั

3) กำหนดกล่มุ เปา้ หมาย : สถานศกึ ษา

4) นำเสนอโครงการ ให้ กศจ. ทราบ

2. สร้างการรับร้เู กีย่ วกบั การดำเนนิ งานโครงการ เช่น การประชมุ อบรม การวเิ คราะห์สังเคราะห์ ธ.ค.63-ม.ี ค.64

จดุ เดน่ จุดท่ีควรพฒั นา สภาพของสถานศกึ ษาท่ีเปน็ กลุ่มเปา้ หมาย ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกับการสรา้ ง

และพัฒนานวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล

3. การนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ธ.ค.63-ม.ี ค.64

1) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล

2) กำหนดแผนและปฏิทนิ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล

3) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลเกี่ยวกบั การสร้างและพฒั นานวตั กรรม การบรหิ ารจดั การ

การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล

4) สรุปและรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

8

3. แนวทางการสังเคราะห์ วิเคราะห์ วจิ ัย และเผยแพรน่ วตั กรรม การบริหารจัดการศกึ ษา การจดั การเรียนรู้
การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล

แนวทางการดำเนนิ งาน ระยะเวลา
เม.ย. – ก.ค.64
สำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค
1. แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ถอดบทเรยี น คดั เลอื กนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้ เม.ย. – ก.ค.64
เม.ย. – ก.ค.64
และการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ก.ค.- ส.ค.64

1) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินงาน

2) จดั กิจกรรมและเปลย่ี นเรียนรู้และถอดบทเรียนพฒั นานวัตกรรมตามโครงการ

3) คดั เลอื กนวตั กรรมการปฏิบตั ทิ ด่ี ี (Best Practice) ด้านการบริหารจดั การ ด้านการ

จดั การเรยี นรู้ ด้านการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล

4) ประกาศผลการคัดเลือกฯ ระดับภาค
5) เผยแพรน่ วตั กรรม ผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ เชน่ สอ่ื ออนไลน์,บทความ,วารสาร,หนงั สือ
ราชการ ฯลฯ
6) สรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน
สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน คัดเลือกนวัตกรรม การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล
1) แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนินงาน
2) จดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละถอดบทเรียนพัฒนานวัตกรรมตามโครงการ
3) คัดเลือกนวัตกรรมการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัด
การเรียนรู้ ด้านการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล
4) ประกาศผลการคัดเลือก
5) รายงานผลการคดั เลือกนวตั กรรมให้สำนักงานศึกษาธกิ ารภาค
2. การสังเคราะห์ วิจยั นวัตกรรม การบริหารจดั การ การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศติดตามและ
ประเมนิ ผล ของสถานศึกษาในจงั หวัด
1) สงั เคราะห์ วจิ ัย นวัตกรรม การบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศติดตามและ
ประเมนิ ผล ของสถานศึกษาในจังหวดั
2) สรุปผลสังเคราะห์ วิเคราะห์ วิจัย นวัตกรรม การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
การนิเทศติดตามและประเมนิ ผล ของสถานศึกษาในจังหวัด
3. สรุปรายงานผล และเผยแพร่นวัตกรรม การบริหารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ การนิเทศ
ตดิ ตามและประเมนิ ผล ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ เช่น สื่อออนไลน์,บทความ,วารสาร,หนังสือราชการ
ฯลฯ

9

4. แนวทางการสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะเวลา

แนวทางการดำเนนิ งาน ต.ค.63 - ก.ย.64

การสร้างเครือขา่ ยระดบั ภาคและระดับจังหวดั

1) แสวงหาและสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2) สร้างการรบั รู้ สร้างข้อตกลงและรว่ มวางแผน (partnership agreement & action
planning) เมื่อผู้นำและผู้บริหารของเครอื ข่ายเห็นความสำคญั และประโยชนร์ ว่ มกนั และตกลง
เป็นการเบอ้ื งตน้ ที่จะรว่ มมือเป็นเครือข่าย เพ่ือใหเ้ กิดแนวทางการดำเนินงาน จดั กิจกรรม สรา้ ง
ข้อตกลงและรว่ มวางแผน เพื่อให้เกดิ แนวทางความรว่ มมือที่ชดั เจน
3) รว่ มดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา

10

ส่วนท่ี 3

เครื่องมอื ในการดำเนนิ งาน

ในการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงได้กำหนดเครื่องมือในการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผล เก็บรวบรวมขอ้ มูลดงั นี้

1. แบบเกบ็ ข้อมลู สารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษา
2. แบบตดิ ตามผลการดำเนนิ งานโครงการ
3. แบบรายงานการพัฒนานวตั กรรม
4. แบบรายงานการสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือ
มีรายละเอยี ดดงั น้ี

11

ระดับภาคและระดบั จงั หวัด

แบบเก็บขอ้ มูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวจิ ัยทางการศกึ ษา

สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด.....................................................สำนักงานศกึ ษาธิการภาค.........................

1. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) โรงเรียนทจ่ี ดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานใน

จงั หวดั / ภาค

จำนวนโรงเรียนทงั้ หมด................แห่ง

1.1 ค่าเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6

สังกัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562
สพม.
สช.
อปท.
พศ.

ตชด.
อื่นๆ .....................

รวม/เฉล่ยี

1.2 ค่าเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

สงั กดั /กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

สพป.

สพม.
สช.
อปท.
พศ.
ตชด.

อื่นๆ .....................
รวม/เฉล่ีย

12

1.3 คา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6

สงั กดั ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา
/กลุ่ม
สาระ2560
สพป. 2561
สพม. 2562
สช. 2560
อปท. 2561
พศ. 2562
ตชด. 2560
อน่ื ๆ 2561
รวม/ 2562
เฉลี่ย 2560
2561
2562
2560
2561
2562

1.4 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนนเฉล่ยี ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50 ขึ้นไป

สังกดั /กลมุ่ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

สพป.
สพม.
สช.
อปท.
พศ.
ตชด.
อื่นๆ .....................

รวม/เฉลย่ี

13

1.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่มีคะแนนเฉล่ียผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 50 ข้นึ ไป

สังกัด/กล่มุ สาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

สพป.

สพม.
สช.

อปท.
พศ.
ตชด.
อนื่ ๆ .....................

รวม/เฉลีย่

1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 50 ขึ้นไป

สงั กัด ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา
/กลมุ่
สาระ 2560
สพป. 2561
สพม. 2562
สช. 2560
อปท. 2561
พศ. 2562
ตชด. 2560
อนื่ ๆ 2561
........ 2562
รวม/ 2560
เฉลี่ย 2561
2562
2560
2561
2562

14

2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ในโรงเรียนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ Innovation For Thai

Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา ในจังหวดั / ภาค

จำนวนโรงเรยี นทง้ั หมด.....................แห่ง

2.1 ค่าเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

สังกัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562
สพม.
สช.
อปท.
พศ.
ตชด.
อ่ืนๆ .....................

รวม/เฉลย่ี

2.2 คา่ เฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3

สงั กัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562
สพม.
สช.
อปท.
พศ.
ตชด.
อน่ื ๆ .....................

รวม/เฉล่ยี

15

2.3 คา่ เฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

สงั กดั / ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา
กลมุ่
สาระ 2560
สพป. 2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562

สพม.

สช.

อปท.

พศ.

ตชด.

อน่ื ๆ
........

รวม/
เฉลี่ย

2.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมคี ะแนนเฉลยี่ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50 ขึ้นไป

สงั กัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

สพป. 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562
สพม.
สช.
อปท.

พศ.
ตชด.

อ่ืนๆ .....................
รวม/เฉล่ีย

16

2.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีคะแนนเฉลย่ี ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไป

สงั กัด/กลุ่มสาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

สพป.

สพม.
สช.

อปท.
พศ.
ตชด.
อื่นๆ .....................

รวม/เฉลยี่

2.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีคะแนนเฉล่ียผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป

สังกัด/ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษา
กลมุ่
2560
สาระ 2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562
2560
2561
2562

สพป.

สพม.

สช.

อปท.

พศ.

ตชด.

อนื่ ๆ

........

รวม/

เฉลี่ย

3. นวตั กรรมทางการศึกษา ด้านการจดั การเรยี นรู้ 17
ช่อื นวตั กรรม หนว่ ยงาน/
ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ดา้ นการนิเทศการศกึ ษา
ชื่อนวตั กรรม หนว่ ยงาน/ โรงเรียน ชื่อนวัตกรรม หนว่ ยงาน/

โรงเรียน โรงเรยี น

4. การวิจยั ทางการศึกษา

ดา้ นการบริหารจัดการ ดา้ นการจัดการเรียนรู้ ดา้ นการนิเทศการศกึ ษา
ชื่องานวจิ ยั หน่วยงาน/ ช่ืองานวจิ ยั หนว่ ยงาน/
ชอื่ งานวจิ ัย หนว่ ยงาน/
โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน

ระดับภาค 18

แบบตดิ ตามผลการดำเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คำชแ้ี จง

แบบตดิ ตามนใี้ ช้ในการตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพฒั นาการศึกษา เพ่ือติดตามความกา้ วหนา้ ในการดำเนนิ งานโครงการและ ใหท้ ราบ
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดในพื้นทีร่ ับผิดชอบ

*******************************
ประเดน็ การติดตามประเมินผล
1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการฯ ในระดับจังหวดั โดยพิจารณาตามความเหมาะสม

 มี คำสง่ั ที่...........................................................................................................................................
................................................................................................................................................. ................................

 ไมม่ ี เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .....
............................................................................................................. ....................................................................
2. มีการนำเสนอโครงการ ให้ กศจ. ทราบ

 มี วนั ท่ี....................................................................................................................... ........................
.......................................................................................................... .......................................................................

 ไม่มี เนอื่ งจาก ..................................................................................................................................
............................................................................................................................................................... ..................
3. มกี ารสรา้ งการรบั รเู้ กีย่ วกับการดำเนินงานโครงการฯ

 มี วันท.่ี ..............................................................................................................................................
วิธีการในการสรา้ งการรบั รู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 ไม่มี เน่อื งจาก ..................................................................................................................................

.............................................................. ............................................................................................................. ......
4. มีนวตั กรรมทางการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

 นวัตกรรมทางการบริหารจดั การ
....................................................................................................................................................... ..........................

 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้
.................................................................................................................................................................................

 นวัตกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล
....................................................................................... ..........................................................................................

 ไม่มี เน่อื งจาก ............................................................................................................................. .....

19

5. ข้ันตอน กระบวนการการดำเนินงานโครงการ
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
6. ผลการใช้นวตั กรรมทางการบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล

6.1 ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กับสถานศึกษา
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

6.2 ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กับครูผู้สอน
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................ .....................................................................................

6.3 ผลท่ีเกิดขน้ึ กับผเู้ รียน
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

6.4 ผลท่เี กิดขนึ้ อน่ื ๆ
...................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
7. ปญั หา อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

ลงชอื่ ...............................................................ผ้ใู หข้ ้อมูล
(……………………………………..………………)

ระดบั จงั หวดั 20

แบบนเิ ทศ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

……………………………………………………

คำชแ้ี จง

แบบติดตามนี้ใช้ในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศึกษา เพอ่ื พฒั นาการศึกษา เพ่อื ติดตามความกา้ วหน้าในการดำเนนิ งานโครงการของสถานศึกษา

*******************************

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป

ชอ่ื สถานศกึ ษา.......................................................................... สงั กดั .......................................................

เปดิ ทำการสอนในระดับช้นั ............................................. ถงึ ระดบั ช้ัน ..............................................

จำนวนนักเรียนท้ังหมด............. คน ชาย................คน หญงิ ................... คน

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

จำนวนครูท้ังหมด .............................................. คน ชาย............... คน หญิง................... คน

จำนวนบคุ ลากรทางการศึกษาทงั้ หมด ............... คน ชาย............... คน หญงิ ................... คน

ตอนท่ี 2 การติดตามผลทเี่ กดิ กบั การดำเนนิ งานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศกึ ษา ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1) สถานศกึ ษามีการประชุมช้แี จงการดำเนนิ การโครงการ

 มี ......................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

 ไมม่ ี เนอ่ื งจาก ..................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... ..........................

2) สถานศึกษามีการสรา้ งการรับร้เู ก่ียวกบั การดำเนินงานโครงการฯ

 มี ...........................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ...

 ไม่มี เนื่องจาก ..................................................................................................................................

............................................................................................................ .....................................................................

3) สถานศึกษามีนวตั กรรมการบริหารจดั การ

 ชื่อนวตั กรรม................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................. ....................................................

 ไม่มี เนอ่ื งจาก ..................................................................................................................................

........................................................................................................... ......................................................................

21

4) สถานศึกษามีนวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้
 ชอ่ื นวัตกรรม.....................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

 ไม่มี เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .....
........................................................................................................... ......................................................................
5) สถานศึกษามีนวตั กรรมด้านการนเิ ทศภายใน

 ชอ่ื นวัตกรรม............................................................................................................................. ........
.......................................................................................................................... .......................................................
.................................................................................................................................................................................

 ไมม่ ี เน่อื งจาก ................................................................................................................................ ..
........................................................................................................... ......................................................................

บนั ทึกเพิม่ เติม / จุดเดน่ / ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ....................................................
.............................................................................. ............................................................................................ .......
............................................................................................................................................................ .....................
........................................................................................................................ .........................................................
........................................................ .................................................................................................................. .......
................................................................................................................................................. ................................

ลงช่อื ....................................................
(...................................................)
ผูน้ เิ ทศ

22

แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม

................................................................

1. ชื่อนวตั กรรม

............................................................................................................................. .......................................................

....................................................... ...................................................................................................... .......................

....................................................................................................................................................................................

2. ชื่อผู้สร้าง

ชื่อ.............................................. นามสกุล..............................ตำแหน่ง................................................

โรงเรียน......................................เขต/อำเภอ.....................จงั หวดั .........................โทร.........................

มือถือ..........................................E-mail address.............................................................................

3. แนวทางการคดิ คน้ นวตั กรรม

แสวงหานวตั กรรม/แบบอย่างที่ดีจากแหล่งตา่ งๆ ที่เคยมผี ู้สรา้ งหรือ ทำไว้แล้ว แล้วนำมาปรับปรงุ หรือพัฒนาใหม่

การสร้างนวัตกรรมใหม่

4. ประเภทของนวตั กรรม

การบรหิ ารจดั การศึกษา การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล

5. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา

....................................................................................................................................... ...............................

................................................................................................................................... ...................................

............................................................................................... .......................................................................

6. วัตถปุ ระสงค์

............................................................................................................................. .........................................

............................................................................................................................. .........................................

......................................................................................................................................................................

7. กลุ่มเปา้ หมาย

ประชากร / กลุ่มตัวอยา่ ง

............................................................................................................................. .........................................

................................................................................................... ...................................................................

............................................................................................................................................. .........................

8. หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีท่ใี ช้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23

9. การออกแบบนวัตกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
10. วิธีดำเนนิ การ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………......…………………………….............................
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………..
11. ผลการสรา้ งหรอื พัฒนานวัตกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………......…………………………….............................
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………..
12. การเผยแพรน่ วตั กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………......…………………………….............................
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………..

ลงชอื่ ผู้รายงาน…………………........………………………………..
ตำแหนง่ ............................................................................

24

แบบรายงานการสร้างเครือข่ายความร่วมมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

คำชแ้ี จง ใหก้ รอกข้อมูลในตารางตามสภาพท่ีเปน็ จริง โดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ท่กี ำหนด

เกณฑ์การพจิ ารณาระดับคณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ 1 หมายถงึ มีการดำเนนิ งานแต่ไมพ่ บร่องรอย หลกั ฐาน หรือมแี ต่ไมช่ ัดเจน
ระดับคุณภาพ 2 หมายถงึ มกี ารดำเนนิ งานที่พบรอ่ งรอยหลักฐานท่ชี ัดเจน
ระดบั คุณภาพ 3 หมายถึง มกี ารดำเนินงานท่ีพบร่องรอยหลักฐานทชี่ ดั เจน ครบถ้วน สมบูรณ์

การปฏิบัติ ระดับคณุ ภาพ หลักฐาน/

ขอ้ ที่ ประเดน็ การประเมิน/ตวั บ่งชี้ มี ไม่มี 3 2 1 ร่องรอยเชงิ

ประจกั ษ์

1 มกี ารแตง่ ต้ังจากผแู้ ทนหน่วยงานทางการศึกษา และ ผเู้ กี่ยวข้อง ..……………..

กับการศึกษาเป็นเครือข่าย ....... ....... .... .... .... ………………..

2 มกี ารวางแผนและกำหนดบทบาทหน้าทข่ี องเครือข่ายที่ชดั เจน ……………….
....... ....... .... .... .... ……………….
3 สมาชกิ เครือขา่ ยมีความสามารถ ประสบการณ์ หลากหลาย
……………….
สาขาวิชา ....... ....... .... .... .... ..……………..

4 สมาชิกเครือขา่ ยทีเ่ ข้าร่วมโครงการ มีความรู้และเขา้ ใจเกยี่ วกบั ………………..

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) ....... ....... .... .... .... ……………….

5 สมาชกิ เครอื ข่ายทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการ ให้การสนบั สนุนการทำงาน ....... ....... .... .... .... ……………….

6 สมาชกิ เครอื ข่ายรว่ มดำเนินงาน ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการ ....... ....... .... .... .... ……………….

ดำเนินโครงการ ..……………..

รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่าย ...........................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................................
.............................................................................................................................................................................. .....
...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................ .......................................................
.................................................................................................................................................. .................................
...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................................

25

ภาคผนวก

26

(ตวั อย่าง)
แบบวเิ คราะห์องคป์ ระกอบการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้
การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

นวัตกรรมการศกึ ษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดและสำนักงานศกึ ษาธกิ ารภาค

ขอ้ มูลทั่วไป
ชื่อสถานศึกษา.......................................................................... สงั กัด.......................................................
รายงานการวจิ ยั นวัตกรรม เร่ือง..................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..

บทสรปุ ผู้บรหิ าร
คำนำ
สารบญั
สารบญั ตาราง
สารบัญภาพ
สว่ นท่ี 1 บทนำ

1.1 หลกั การ
1.2 วัตถปุ ระสงค์
1.3 ขอบเขตการดำเนนิ งาน
1.4 กิจกรรมดำเนินงาน
1.5 ระยะเวลาดำเนินการ
1.6 งบประมาณ
สว่ นที่ 2 แนวคดิ และงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
สว่ นท่ี 3 ผลการดำเนนิ งาน
3.1 ผลการใชน้ วตั กรรม การบรหิ ารจดั การศึกษา การจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศติดตามและ
ประเมินผล (ผลทเ่ี กดิ ต่อผู้บริหาร,คร,ู นกั เรยี น)
3.2 ความพึงพอใจต่อการใชน้ วัตกรรม การบรหิ ารจดั การศกึ ษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ
ติดตามและประเมินผล (ความพึงพอใจของผูบ้ รหิ าร , ศึกษานิเทศก์, ครู , นกั เรียน)
ภาคผนวก

คำสงั่
ภาพกิจกรรม
นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษา การจดั การเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล ตามโครงการ
เครอื่ งมอื ฯลฯ

27

(ตวั อย่าง)
แบบวิเคราะห์นวัตกรรม การบริหารจัดการศกึ ษา การจดั การเรียนรู้ การนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล

สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั /สำนักงานศึกษาศึกษาธิการภาค

ท่ี องค์ประกอบ การบรหิ าร การจัดการ การนเิ ทศตดิ ตาม หมายเหตุ
รปู แบบ/แนวทาง จัดการ เรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1 รายงานการวิจยั /รปู แบบ เรื่อง

2 หลักการ/ความเป็นมา
3 วตั ถปุ ระสงค์
4 กจิ กรรมดำเนินงาน
5 ผลการใช้รูปแบบ/แนวทางการ

บริหารจัดการศกึ ษา การจัดการ
เรยี นรู้ การนเิ ทศตดิ ตามและ
ประเมินผล (ผลท่เี กดิ ต่อ
ผ้บู ริหาร,คร,ู นกั เรียน)
6 ความพงึ พอใจต่อการใช้รปู แบบ/
แนวทาง การบรหิ ารจัดการศึกษา
การจัดการเรยี นรู้ การนิเทศ
ตดิ ตามและประเมินผล
(ความพึงพอใจของผูบ้ รหิ าร ,
ศึกษานเิ ทศก์, ครู , นกั เรียน)

ความคดิ เหน็ เพ่มิ เติม
............................................................................................................................. .......................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................ .......................................................

28

กรอบเกณฑ์การคดั เลอื กนวัตกรรมทางการบรหิ ารจดั การศึกษา/การจดั การเรยี นร/ู้ การนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล
ของสถานศึกษา สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ในพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบระดบั ภาค

ภายใต้โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา
นวัตกรรม  การบรหิ ารจดั การศกึ ษา  การจดั การเรียนรู้  การนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล

คำชี้แจง กรอบเกณฑ์การคดั เลือกนวตั กรรม ประกอบด้วย 2 สว่ น จำนวน 20 ตวั ชว้ี ัด
ส่วนที่ 1 การประเมินนวัตกรรมของสถานศกึ ษานำรอ่ ง

ประกอบด้วย องคป์ ระกอบการประเมิน จำนวน 3 ดา้ น 17 ตัวช้ีวดั
องคป์ ระกอบท่ี 1 ด้านความสำคัญของนวัตกรรม จำนวน 3 ตวั ชี้วดั ดงั นี้

ตวั ชี้วดั ที่ 1 ความเป็นมาและสภาพของปญั หา
ตวั ชว้ี ดั ที่ 2 แนวทางการแกไ้ ขปญั หาและหรอื การพฒั นา
ตัวชี้วัดที่ 3 ประโยชนแ์ ละความสำคญั
องค์ประกอบที่ 2 ดา้ นกระบวนการพฒั นานวตั กรรม จำนวน 6 ตวั ชี้วัด ดังนี้
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายการพฒั นา
ตวั ชี้วัดท่ี 2 หลกั การ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพัฒนา
ตัวชวี้ ัดที่ 3 การออกแบบและแนวทางการพัฒนา
ตัวชว้ี ดั ท่ี 5 การนำไปใช้
ตัวชว้ี ดั ที่ 6 การประเมินและการปรับปรงุ
องค์ประกอบท่ี 3 ดา้ นผลที่เกดิ ขนึ้ จากการดำเนินงานตามนวัตกรรม
3.1 ผลทเี่ กิดข้นึ กบั สถานศึกษาและผู้บรหิ าร
ตวั ชว้ี ัดที่ 1 มีข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษา
ตัวชวี้ ัดท่ี 2 มีการดำเนนิ งาน/การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา/การจัดการเรยี นรู้/การนเิ ทศตดิ ตาม
และประเมนิ ผล อย่างเป็นระบบ
ตัวชีว้ ัดที่ 3 การมีเครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 การยอมรับทีม่ ตี ่อสถานศึกษา
3.2 ผลท่ีเกิดข้ึนกบั ครผู ู้สอน
ตวั ชวี้ ัดที่ 1 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้
ตัวชี้วดั ที่ 2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ตัวชี้วัดท่ี 3 การพฒั นาสอื่ การเรียนรู้
ตวั ชีว้ ัดท่ี 4 การวดั และการประเมินผล
3.3 ผลที่เกิดข้นึ กบั ผู้เรียน
ตัวชี้วัดที่ 1 ผู้เรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์เพิ่มข้ึน
สว่ นท่ี 2 การนำเสนอผลงานนวัตกรรม
ดา้ นการนำเสนอผลงานและสอื่ เอกสารประกอบการนำเสนอ ประกอบด้วย 3 ตัวชวี้ ดั ดังน้ี
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 ดา้ นความถูกต้อง ชดั เจนและครอบคลมุ
ตัวชว้ี ดั ที่ 2 ดา้ นความเหมาะสมของการนำเสนอ
ตวั ชวี้ ัดที่ 3 ดา้ นการตอบประเดน็ /ข้อซักถาม

29

รายละเอียดเกณฑ์การคัดเลือกนวัตกรรมทางการบริหารจดั การศึกษา/การจัดการเรียนรู้/การนิเทศตดิ ตามและประเมินผล
ของสถานศกึ ษา สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ในพนื้ ทร่ี ับผิดชอบระดบั ภาค

ภายใตโ้ ครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาการศกึ ษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ส่วนที่ 1 การประเมินรูปแบบ/แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษานำร่อง องค์ประกอบ

การประเมิน จำนวน 3 ด้าน 19 ตัวช้วี ดั คะแนนรวม 100 คะแนน (คิดเปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 80 ของคะแนนรวม)

องค์ประกอบท่ี 1 ด้านความสำคัญของรูปแบบ/แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องสถานศกึ ษานำร่อง

จำนวน 3 ตวั ชวี้ ดั (20 คะแนน)

ที่ ตัวช้วี ดั รายการ เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความเป็นมา 1) วเิ คราะห์ผลการทดสอบ O-NET ทง้ั ในภาพรวมและรายบคุ คล ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

และสภาพ เพือ่ กำหนดเป้าหมายท่ชี ดั เจนในการพฒั นาตามรูปแบบ/แนวทาง ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

ปญั หา 2) นำเสนอความเป็นมาและความสำคัญของปญั หาทีจ่ ะแก้ไข/พัฒนา ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

3) มกี ารวเิ คราะห์ปัญหาและจดั ลำดับความสำคญั ของปญั หา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

4) ศึกษา/วเิ คราะห์ ปัจจยั ภานใน ปัจจยั ภายนอกทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

พัฒนาคุณภาพตามบทบาทของสถานศกึ ษา

5) เลือกปญั หาท่ีมีความเป้นไปไดใ้ นการแกไ้ ข/พัฒนา

2. แนวทางการ 1) บคุ ลากรและผ้เู กยี่ วข้องมีส่วนรว่ มในการกำหนดแนวทางการ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

แก้ไขปญั หา แกไ้ ข/พัฒนา ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

และการ 2) กำหนดเป้าหมายการพฒั นาคณุ ภาพท่ีชดั เจนและเหมาะสม ปฏิบัตไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

พฒั นา สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) มกี ารเสนอแนวคิด ทฤษฏี ทจี่ ะนำมาใช้ในการแกไ้ ข/พัฒนา ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4) มีความเชื่อมโยงและความถูกตอ้ งของแนวคิดทฤษฎีสู่การปฏบิ ตั ิ

5) มกี ารกำหนดรปู แบบในการแกไ้ ข/พัฒนา

3. ประโยชน/์ 1) รปู แบบ/แนวทางการพฒั นามคี วามชัดเจนสำหรับสถานศกึ ษา ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ความสำคญั ในการดำเนนิ งานด้านขอ้ มูลสารสนเทศและงานวชิ าการ ปฏิบัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

2) สะทอ้ นให้เห็นถงึ การปรบั เปล่ียน/พฒั นาแนวทางการบรหิ าร ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

จดั การ บุคลากร เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปฏบิ ตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) บคุ ลากรสามารถนำรปู แบบไปพฒั นาด้านการจดั การเรียนรไู้ ด้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4) กระบวนการในการบรหิ ารจดั การตามรูปแบบสอดคล้องกับ

เปา้ หมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

5) กระบวนการจดั การเรยี นรู้ออกแบบไดต้ รงตามเป้าหมายและ

วัตถุประสงค์

30

องคป์ ระกอบที่ 2 ด้านกระบวนการพฒั นารูปแบบ/แนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นรูข้ องสถานศกึ ษานำร่อง

จำนวน 6 ตัวชี้วดั (40 คะแนน)

ที่ ตวั ช้วี ดั รายการ เกณฑ์การให้คะแนน

1. วัตถปุ ระสงค์ 1) วัตถปุ ระสงคส์ อดคล้องกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

และเป้าหมาย ในการพฒั นา ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

การพัฒนา 2) วัตถุประสงค์ของการดำเนินงานมคี วามชัดเจนเป็นรูปธรรม ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

ทงั้ เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) กำหนดวัตถุประสงคท์ ่ีมีความเปน็ ไปได้ ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4) ระบเุ ป้าหมายเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพอย่างชดั เจน สามารถวดั

และประเมินผลได้

5) วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายแสดงถึงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพของ

การปฏบิ ัติงาน

2. หลักการ 1) ศกึ ษาเอกสาร หลักการ แนวคดิ ทฤษฎที เี่ ก่ยี วขอ้ ง ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ทฤษฎี 2) มกี ารสงั เคราะห์ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎที ีจ่ ะนำมาใชใ้ นการแกไ้ ข ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

แนวคิดในการ ปญั หา ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

พัฒนา 3) นำเสนอ ระบุ หลกั การ ทฤษฎี แนวคิดทส่ี อดคล้องกับรปู แบบใน ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

การพฒั นาอยา่ งเป็นระบบ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4) สามารถอธิบายเน้อื หา/แนวทาง ในการพฒั นาไดช้ ดั เจน ครบถว้ น

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย

5) มีการระบหุ ลักการ แนวคดิ ทฤษฎี ท่มี ีความเป็นไปได้ ในการพัฒนา

รปู แบบ/แนวทางให้สมั ฤทธิ์ผล

3. การออกแบบ 1) มกี ารนำผลการสงั เคราะห์ หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

แนวทางการ มาใช้ในการออกแบบแนวทางการพัฒนา ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

พฒั นา 2) มีการออกแบบนวตั กรรมท่ีสอดคล้องกับ ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายในการพฒั นา ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) บคุ ลากรและผู้เกย่ี วขอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการออกแบบ ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

นวัตกรรมการพัฒนาท่ีชดั เจน

4) มีการสรา้ งนวัตกรรมการพฒั นา โดยกำหนดขัน้ ตอนและกจิ กรรม

ท่ีชัดเจน

5) มกี ารตรวจสอบความเปน็ ไปไดข้ องนวัตกรรมการพฒั นากอ่ นนำไปใช้

4. การมีสว่ นร่วม 1) ผบู้ รหิ ารมสี ่วนรว่ มในการพัฒนานวตั กรรม ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ในการพฒั นา 2) ครมู ีส่วนร่วมในการพฒั นานวตั กรรม ปฏบิ ัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

3) นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนานวตั กรรม ปฏบิ ัตไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) คณะกรรมการสถานศึกษาส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) ชมุ ชนและหน่วยงานอืน่ มีสว่ นรว่ มในการพัฒนานวตั กรรม ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

5. การนำไปใช้ 1) มีการจดั ทำเอกสารคมู่ อื แนวทางการดำเนินงานตามนวัตกรรม ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ทช่ี ดั เจน ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

2) มีการช้แี จง ทำความเข้าใจกบั ผเู้ กี่ยวขอ้ งทีน่ ำนวตั กรรม ไปใช้ ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

31

ท่ี ตัวชีว้ ัด รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

6. การประเมนิ 3) มีการสนับสนุนทรัพยากรหรอื งบประมาณ ในการนำนวตั กรรมไปใช้ ปฏิบัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน
และการ
ปรับปรุง 4) มกี ารนเิ ทศ ติดตาม ให้ความชว่ ยเหลอื ระหวา่ งการนำนวตั กรรมไปใช้ ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

5) มกี ารจัดการแลกเปล่ียนเรียนรเู้ พือ่ สรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้

ทางวชิ าชีพ (PLC) ในโรงเรยี น

1) มีเคร่ืองมือประเมินที่มีคณุ ภาพและเทยี่ งตรง ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

2) มกี ารประเมนิ ที่มสี ่วนร่วมจากทุกฝ่ายทเ่ี กยี่ วข้อง ปฏิบัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

3) มีการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ นวัตกรรมการพัฒนาศึกษา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) มกี ารสรุปผลการประเมนิ นวตั กรรมการพัฒนาศกึ ษา ปฏบิ ัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) นำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงพฒั นา ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 ดา้ นผลท่เี กิดขนึ้ จากการดำเนนิ งานตามรูปแบบ/แนวทางการพฒั นาการจัดการเรยี นรูข้ องสถานศึกษา

จำนวน 12 ตวั ชว้ี ัด (40 คะแนน)

ที่ ตวั ช้วี ดั รายการ เกณฑ์การใหค้ ะแนน

1. ผลทเี่ กดิ ขึ้นกบั สถานศึกษา

1. ขอ้ มูล 1) มีสารสนเทศและผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาในระดับ ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

สารสนเทศของ สถานศึกษาและระดับห้องเรยี น ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

สถานศกึ ษา 2) จัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐานได้ครบถ้วนครอบคลุมการ ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

ใช้งานและสารสนเทศที่จัดเก็บไว้มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

และเปน็ ปจั จุบนั ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

3) จัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศอย่างเป็นระบบทันสมัยทันต่อ

การใชง้ านมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ืองและมีการปรบั ปรงุ อย่เู สมอ

4) นำข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ในการบริหารและจัดการงาน

ของสถานศึกษา และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนได้เกิดประโยชน์

คุ้มค่า

5) เผยแพร่ขอ้ มลู สารสนเทศ และกิจกรรมในสถานศึกษาโดยใชว้ ธิ ีการ

ท่หี ลากหลายและน่าสนใจมผี ลงานปรากฏชดั

2. การดำเนินงาน/ 1) มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับนวตั กรรมการพัฒนา ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

การบริหาร 2) กำหนดผู้รับผิดชอบการดำเนินงาการออกแบบและจัดการเรียนรู้ ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

จัดการของ ครอบคลุมรายวชิ าที่ตอ้ งการปรับปรงุ แก้ไขและพัฒนา ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

สถานศึกษา 3) กำหนดห้วงเวลาการดำเนินงาน การจัดการเรียนรู้เสริม การนิเทศ ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

ติดตามและประเมินผล ตามปฏทิ นิ การพัฒนานวัตกรรม ปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4) สถานศึกษามีการดำเนินการตามแผนงานและมีระบบการนิเทศ

ตดิ ตามอย่างต่อเนือ่ ง

5) ผบู้ ริหารจัดการศกึ ษาโดยยดึ แผนพฒั นาสถานศึกษาทมี่ ุ่งเนน้ พฒั นา

คณุ ภาพนกั เรยี นอยา่ งครบถ้วน

32

ที่ ตัวชว้ี ดั รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

3. การมีสว่ นรว่ ม 1) บุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วม ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ปบั สถานศกึ ษา ในการวางแผน ดำเนินการตรวจสอบและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

2) ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ และมี ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

ส่วนร่วมในการวางแผน ดำเนินการตรวจสอบและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) ผูบ้ รหิ าร/สถานศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ เครอื ข่ายชมุ ชนการเรียนรู้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

ทางวิชาชพี (PLC) ใหม้ คี วามเขม้ แขง็

4) สถานศึกษามีการขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

(PLC) โดยมผี เู้ ชยี่ วชาญใหค้ วามรู้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

5) ผู้บริหาร/สถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผล

การพัฒนาโรงเรยี น ให้ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ได้รับทราบ

4. การยอมรบั ทมี่ ี 1) ผู้บริหารยอมรับและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ตอ่ สถานศึกษา 2) ครูยอมรับและให้ความร่วมมือในการดำเนินการพัฒนา ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

ตามนวตั กรรม ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

3) นักเรยี นมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมตามนวัตกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

4) ชมุ ชนให้การสนับสนุนและมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาตามนวัตกรรม ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

5) ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 70

2. ผลที่เกดิ ข้ึนกบั ครูผู้สอน

1. การออกแบบ 1) มีการนำผลวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET มาตรฐานตัวชี้วัด ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

การจัดการ แต่ละรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแนวทาง ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

เรียนรู้ การทดสอบ O-NET พร้อมทั้งข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

2) กำหนดเป้าเหมายการจัดการเรียนรู้ด้านองค์ความรู้ทักษะ ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

กระบวนการตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และยึดรายละเอียดจาก Test

Blueprint ของการทดสอบO-NET กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้

3) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและ

ตัวชวี้ ัดตามเป้าหมายทตี่ ้องการพฒั นา

4) ใช้หลักการ เทคนิคการสอนต่างๆ ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

เปา้ หมายของการพัฒนานวตั กรรม

5) มแี ผนการจัดการเรยี นรู้ที่มีองคป์ ระกอบ ครบถว้ นสมบรู ณแ์ ละผ่าน

การตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ก่อนการนำไปใช้

2. การจดั กจิ กรรม 1) จัดกิจกรรมการเรยี นรูhตามแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

การเรยี นรู้ 2) นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

3) ใชส้ ่ือเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบการจัดกจิ กรรม ปฏบิ ตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

การเรียนรู้ ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

4) มกี ารนเิ ทศเพือ่ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

5) มีการปรบั ปรงุ และพฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง

33

ที่ ตัวช้วี ดั รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

3. การพัฒนาสอื่ 1) ออกแบบและพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีให้มีคุณภาพสะดวก ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

การเรยี นรู้ ต่อการใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

2) นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ เลือกใช้ ผลิตและพัฒนา ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

คณุ ภาพของส่อื นวัตกรรมเทคโนโลยี ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) สื่อนวตั กรรมเทคโนโลยี แหล่งการเรียนรู้ ได้สอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย ปฏบิ ัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

และกจิ กรรมการเรียนรู้

4) มกี ารประเมินสื่อ โดยการมสี ว่ นร่วมของผู้เรยี น

5) นำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนรู้

ใหม้ ีคณุ ภาพ

4. การวดั และ 1) เลือกเครื่องมือ/วิธีการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ประเมินผล ของนวตั กรรม ปฏบิ ตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

2) สร้างและพัฒนาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวัด ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

และประเมนิ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสมและถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

3) กำหนดเกณฑก์ ารประเมินได้อย่างชัดเจน ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4) ใช้ผลของการวัดและประเมินผลเพื่อออกแบบวางแผน

และดำเนินการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ทั้งด้านการบริหารและ

การจดั การเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบต่อเนอ่ื ง

5) วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศที่ได้จาก การวัดและประเมินผล

นำเสนอต่อนักเรยี นและผู้ปกครองเพอื่ รับทราบพฒั นาการ

3. ผลท่เี กดิ กบั ผู้เรียน

1. ผู้เรียนมคี ะแนน 1) มผี ลการทดสอบ O-NET ทั้งในภาพรวมและรายบคุ คล ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ผลการทดสอบ 2) มีจำนวนนักเรียนที่มีผลการ ทดสอบ O-NET เพิ่มข้ึนร้อยละ 50 ปฏบิ ัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

ทางการศกึ ษา ขน้ึ ไป ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

ระดับชาติข้ัน 3) มกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู O-NET มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน
พ้นื ฐาน(O-NET) 4) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน
ทม่ี ีการสอบ O-NET
แต่ละวิชาผา่ น 5) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนตามนวัตกรรม
เกณฑ์เพิม่ ขึน้ ของจังหวัด

วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู คณะกรรมการฯ ลงพืน้ ทป่ี ระเมนิ สถานศกึ ษาเพอ่ื พจิ ารณาหลักฐาน/ผลงานและ

สมั ภาษณผ์ ้เู ก่ยี วข้อง ระหวา่ งวันท่ี .......................................................................................

1) พิจารณาจากหลักฐานและผลงานทป่ี รากฏ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี/แผนพัฒนาสถานศึกษา, รายงานผลการทดสอบ

O-NET ของ สทศ., แผนการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ O-NET, แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ งต่างๆ, รายงานผลการ

ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม/การปฏบิ ัติงาน, คำสง่ั /ประกาศ, รายงานผลความสำเรจ็ /ความพึงพอใจของโครงการ/กิจกรรม, สอื่ /นวัตกรรม

การเรยี นรู้, ทะเบยี นส่ือ/เทคโนโลยี/รายงานการใช้ส่อื เทคโนโลยี,บนั ทึกการปฏบิ ัตงิ าน/บนั ทึกการ ประชุม/การนำผลการรายงาน

ไปใช/้ เอกสารการประชมุ , บนั ทึกการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้, ผลงาน/ชิ้นงานจากการศึกษาค้นคว้า/นวตั กรรมของผู้เรียน, นิทรรศการ/

เอกสารวารสารประชาสัมพันธ์,เกยี รติบตั ร โล่รางวัล ผลงานจากการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน ฯลฯ

2) สมั ภาษณ์ ผูบ้ ริหาร ครู นักเรียน ผ้ปู กครอง และผเู้ ก่ียวขอ้ ง

34

ส่วนท่ี 2 การนำเสนอผลงานการพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา องค์ประกอบการประเมนิ จำนวน 2 ดา้ น 7 ตัวชีว้ ัด

คะแนนรวม 100 คะแนน (คดิ เป็นสดั สว่ นร้อยละ 20 ของคะแนนรวม)

องคป์ ระกอบท่ี 1 ดา้ นนทิ รรศการ จำนวน 4 ตัวช้ีวัด (50 คะแนน)

ท่ี ตวั ชี้วัด รายการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

1. เนื้อหาการ 1) เนือ้ หามีความสอดคลอ้ งกับเร่ืองท่ีนำเสนอ ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

นำเสนอ 2) เนือ้ หามีความครบถว้ น ครอบคลุม ปฏบิ ัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

3) มีการอา้ งอิงแหล่งขอ้ มลู ได้อยา่ งชัดเจน ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) มคี วามนา่ เช่ือถอื ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) มีประโยชน์ตอ่ ผเู้ ขา้ ชมนทิ รรศการ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

2. ร ู ป แ บ บ ก า ร 1) มีความริเร่มิ สรา้ งสรรค์ ปฏิบัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

นำเสนอ 2) บอร์ดนิทรรศการ การตกแต่ง สื่อประกอบรูปแบบการนำเสนอ ปฏิบัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

มีความตอ่ เนอื่ งสอดคล้อง ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

3) ชิ้นงาน/ผลงาน/เอกสาร มจี ุดเด่น สอื่ สารเข้าใจง่าย ปฏิบตั ิได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

4) ผลงานมคี วามน่าเชอ่ื ถอื และเป็นแบบอยา่ งการปฏบิ ตั ิได้ ปฏบิ ัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

5) จัดแสดงนิทรรศการมีชีวิต

3. การใช้พนื้ ที่ 1) การใชพ้ นื้ ท่ไี ดอ้ ย่างคุม้ คา่ ปฏิบตั ิได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

นำเสนอได้ 2) ใช้พ้ืนท่ีตรงตามทกี่ ำหนด ปฏบิ ัติได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

อยา่ งเหมาะสม 3) ใชพ้ ื้นทีอ่ ย่างสรา้ งสรรค์ ปฏิบตั ิได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) ความเหมาะสมของวสั ดกุ ับขนาดพืน้ ที่ ปฏิบัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) การใชพ้ ื้นท่ี/แบ่งสดั ส่วนได้อย่างเหมาะสม ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

4. การมสี ว่ นร่วม 1) สร้างแรงจงู ใจให้ผู้เข้าชมนิทรรศการเขา้ มามีสว่ นรว่ มกับนิทรรศการ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ของผู้เข้าชม 2) มกี จิ กรรมให้ผูช้ มนิทรรศการมีสว่ นร่วม ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

นทิ รรศการ 3) มสี ่อื เอกสารเผยแพร่ใหผ้ ูช้ มนิทรรศการมสี ่วนรว่ ม ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) มกี ารตอบประเดน็ ขอ้ ซักถามให้แก่ผูเ้ ขา้ ชมนทิ รรศการ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ขา้ ชมนทิ รรศการแสดงความคิดเหน็ /ความพึงพอใจ ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

ตอ่ นิทรรศการ

องค์ประกอบที่ 2 ด้านการนำเสนอบนเวที จำนวน 3 ตัวช้วี ดั (50 คะแนน)

ท่ี ตัวชว้ี ัด รายการ เกณฑ์การให้คะแนน

1. ดา้ นความถกู 1) การนำเสนอตรงประเด็น ปฏิบัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

ต้อง ชดั เจน 2) เนื้อหามีความครอบคลุม ครบถ้วน ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

และครอบคลุม 3) นำเสนอเนอ้ื หาตามลำดบั /ขัน้ ตอน ปฏบิ ัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) เน้ือหามีความชัดเจนเขา้ ใจง่าย ปฏิบัติได้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) นำเสนอเนอ้ื หาครบถ้วน ครอบคลุม ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

2. ด้านความ 1) นำเสนอเนอื้ หาภายในเวลาทีก่ ำหนด ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน

เหมาะสมของ 2) ใชภ้ าษาถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ ปฏิบตั ิได้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน

การนำเสนอ 3) สอ่ื ในการนำเสนอมีความเหมาะสม ทนั สมยั ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน

4) ขนาดและรูปแบบตัวอกั ษรชดั เจน อา่ นงา่ ย ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน

5) ส่ือ/ภาพประกอบมคี วามสอดคล้องกับเนอ้ื หาและน่าสนใจ ปฏิบัติได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

35

ท่ี ตัวชวี้ ัด รายการ เกณฑ์การให้คะแนน
3. ด้านการตอบ 1) ตอบข้อซักถามได้ตรงประเด็นคำถาม ปฏบิ ัติได้ 5 รายการ ได้ 5 คะแนน
2) สามารถเชื่อมโยงกระบวนการทำงานได้อยา่ งชัดเจน ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ ได้ 4 คะแนน
ประเด็น/ขอ้ 3) แสดงให้เหน็ ถงึ ความรู้และความเขา้ ใจในเรอ่ื งที่ทำ ปฏิบัติได้ 3 รายการ ได้ 3 คะแนน
ซักถาม 4) มคี วามมน่ั ใจในการตอบคำถาม ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ ได้ 2 คะแนน
5) แสดงไหวพริบในการแกไ้ ขปญั หาได้อยา่ งทันท่วงที ปฏบิ ตั ิได้ 1 รายการ ได้ 1 คะแนน

วิธีการประเมินและแหล่งเรียนรู้ คณะกรรมการฯ ประเมินการนำเสนอผลการดำเนินงานและการจัดแสดงนิทรรศการ
ในการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละถอดบทเรยี นรปู แบบ/แนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นรขู้ องจังหวัดในพ้นื ทร่ี ะดบั ภาค

1. พจิ ารณาจากการนำเสนอผลการดำเนนิ งาน และการตอบประเด็นข้อซักถาม
2. พิจารณาจากสอื่ ทน่ี ำเสนอ

6. ข้ันตอนการจดั ทำคะแนน
เมอื่ คณะกรรมการฯ แต่ละคนให้คะแนนตามรายการในแบบประเมินของตนและรวมคะแนนแต่ละสว่ นไว้แลว้ ให้

ประธานและคณะกรรมการประเมินอภิปรายร่วมกันให้ได้ข้อยุติ และสรุปผลการประเมินในแบบสรุปผล (ภาคผนวก ข)
โดยมีขั้นตอนการจดั ทำ ดังน้ี

1. หาผลรวมคะแนนแต่ละสว่ นของคณะกรรมการ
2. ตรวจสอบผลรวมคะแนนแต่ละสว่ นของกรรมการแตล่ ะคน
3. หาคะแนนเฉลย่ี แตล่ ะสว่ นของกรรมการท้ังชุด (คะแนนเตม็ 100 คะแนน)
4. นำค่าเฉลย่ี แตล่ ะส่วน (ผลจากขอ้ 3) คณู คา่ น้ำหนักรอ้ ยละแตล่ ะส่วน
5. รวมผลคะแนนทไี่ ดต้ ามข้อ 4 คิดเป็นคะแนนรวม (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)
6. นำผลคะแนนรวมมาเทียบเกณฑ์การประเมินระดับคณุ ภาพเพื่อหาระดบั คณุ ภาพของการดำเนนิ งาน
7. นำผลการประเมินของสถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ มาพจิ ารณาจัดลำดบั คะแนนจากสงู ไปต่ำเพ่อื คัดเลือกเปน็
สถานศึกษานำร่อง ทีม่ ีรปู แบบ/แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ระดบั ภาค ตามโครงการ โครงการ Innovation For
Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาการศกึ ษาตามแบบสรปุ (ภาคผนวก ค)
8. เสนอผลการคัดเลือก ให้ศึกษาธกิ ารภาค พจิ ารณาลงนามในประกาศผลการคัดเลือก

36

ตวั อย่างแบบสรปุ คะแนนผลการประเมินสถานศึกษา ก. จากคณะกรรมการ (จำนวน 5 คน)

ขอ้ 2 ขอ้ 3 ขอ้ 4

คะแนน คะแนนของคณะกรรมการ คนท่ี คะแนน คะแนนรวม 100
เตม็ เฉลยี่ คา่ นำ้ หนัก ได้
การประเมนิ ( ̅ ) ร้อยละ (A) (N)
200 1. 2. 3 4. 5.
89.2 71.36
ส่วนที่ 1 การประเมินคุณภาพของ 80
86
นวัตกรรมการพัฒนาการจัดการ 100 80 90 95 92 89 175.2 20 17.2
100 88.56
เรียนรขู้ องสถานศึกษา

สว่ นท่ี 2 การนำเสนอผลงาน 100 85 85 80 90 90

คะแนนรวม 200 165 175 175 182 179

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ข้อ 5
คะแนน 80.00 ข้ึนไป
คะแนน 70.00 – 70.99 หมายถึง ดเี ย่ียม ข้อ 6
คะแนน 60.00 – 69.99 หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 50.00 – 59.99 หมายถึง ดี
คะแนน น้อยกว่า 50.00 หมายถึง พอใช้
หมายถงึ ปรบั ปรุง

จากตาราง พบวา่ สถานศึกษา ก มคี ะแนนผลการประเมนิ เท่ากบั 88.56 มีผลงานดำเนนิ งานอยู่ในระดับดเี ย่ียม

37

ตัวอย่างแบบตอบรบั การเผยแพร่ผลงานวิจัยนวัตกรรม

หน่วยงาน.......................................................................................................................................................
ตำแหนง่ ..........................................................................................................................................................

ไดร้ บั เอกสารเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยนวัตกรรมของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด..............................................
เรื่อง ผลการวิเคราะห์ วิจัยรูปแบบ แนวทางการบริหารจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศติดตาม
และประเมินผล

หน่วยงาน.....................................................................................ไดศ้ ึกษาและนำไปใชแ้ ล้ว พจิ ารณาแล้ว
เหน็ วา่ ........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................................

ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การปรบั ปรุงพัฒนา
............................................................................................................................................................... .....................
..................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................... ..........................................................
.................................................................................................................................... ...............................................

จึงขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี

ลงช่ือ.............................................................
(..........................................................)

ตำแหน่ง.............................................................

38

คณะผจู้ ัดทำ

ทป่ี รกึ ษา ผูต้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ รกั ษาราชการแทน
1. นายวีระ แข็งกสกิ าร รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
ผู้อำนวยการสำนกั บรู ณาการกิจการการศกึ ษา
2. นายชาญวฒุ ิ วงศเ์ พ็ง สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

คณะทำงาน ศกึ ษานเิ ทศกเ์ ช่ยี วชาญ ข้าราชการบำนาญ
1. นายสมหวงั พนั ธะลี ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนักบรู ณาการกจิ การการศึกษา สป.
2. นางปภาวรนิ ท์ เรอื งประจวบกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดบรุ ีรมั ย์
3. นายอดลุ ย์ สชุ ิรมั ย์ ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สมทุ รสงคราม
4. นางสาวเกษศิรนิ ทร์ ศรีสมั ฤทธ์ิ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั ยโสธร
5. นายสามารถ ผ่องศรี ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสกลนคร
6. นางอรณุ รุ่ง โยธสิงห์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นครพนม
7. นางสาวอิศราภรณ์ ชูมาศ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดชัยภมู ิ
8. นายวิธวิทย์ ประสานศักดิท์ วี ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี
9. นางสุวมิ ล ไวยารัตน์ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั ขอนแก่น
10. นางรวิปรยี า แดนเสนา ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดขอนแกน่
11. นางอาทิฐยา วรนิตย์ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั บุรีรัมย์
12. นางสาวราตรี สงวนรัมย์ นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการภาค 15
13. นางพนั ธุท์ ิพย์ โลราช ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพัทลุง
14. นางสาวจรวุ รรณ ชูขาว ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั บรุ ีรมั ย์
15. นางสาวพริ ิยา เอกวิเศษ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ สำนกั งานศึกษาธิการภาค 1
16. นายสุทลทศั น์ เจรญิ สขุ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักบรู ณาการกิจการการศึกษา สป.
17. นางสาวปานมนสั โปธา บคุ คลภายนอกจ้างเหมา สำนักบูรณาการกจิ การการศึกษา สป.
18. นางสาวปรมาภรณ์ ปทั มดลิ ก


Click to View FlipBook Version