2565รำยงำนประจำปี
2022
ANNUAL
REPORT
สำนักงำนปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
OFFICE OF THE PERMANENR SECRERATY MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES
คำนำ
รายงานประจำปี 2565 สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฉบับนี้ จัดทำข้ึน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลการดำเนินงานของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ รวมทั้งผลการดำเนินกิจกรรมสำคัญตลอดปี 2565 ให้แก่ผู้สนใจได้รับทราบ
ประกอบด้วย เนื้อหา 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ
ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน และส่วนท่ี 4 เรื่องอื่นๆ ซึ่งคณะผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็น
ประโยชน์ต่อหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษาและ
ประชาชนทั่วไปด้วย
สำนกั งำนปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สารบญั หนา้
2ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ภาพรวม 3
3
1.1 แผนยทุ ธศาสตร์หรือแผนกลยุทธข์ องหนว่ ยงาน 4
วิสยั ทัศน์/พันธกจิ /วัฒนธรรม/คา่ นิยม 5
ประเด็นการพฒั นา/เปา้ หมาย/แนวทางการพฒั นา 6
ภารกิจ/อำนาจหน้าที่ 6
7
1.2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของหนว่ ยงาน 8
1) โครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2) กรอบอัตรากำลังคน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 12
3) งบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2565
15
11ส่วนที่ 2 ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ
16
2.1 สรปุ ผลสมั ฤทธ์ขิ องการปฏิบัติราชการทีส่ อดคล้องกับผลผลติ ตามพระราชบญั ญัติ 16
งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2565
16
2.2 สรุปสาระสำคญั ของผลการปฏิบัตริ าชการทีส่ อดคล้องกับผลผลิตตามพระราชบัญญัติ 16
งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2565 16
ยทุ ธศาสตรจ์ ัดสรร : ยุทธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง 18
แผนงาน : แผนงานบรู ณาการขับเคล่ือนการแกไ้ ขปญั หาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 18
เปา้ หมายการใหบ้ ริการหน่วยงาน : เกษตรกรในจังหวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดร้ บั การพฒั นาและสง่ เสรมิ อาชพี 18
18
ด้านการเกษตร 18
โครงการตำบลมน่ั คง มงั่ คง่ั ยง่ั ยนื ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
24
กจิ กรรมการพัฒนาการเกษตรในพน้ื ทช่ี ายแดนภาคใต้ 24
24
ยทุ ธศาสตรจ์ ัดสรร : ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 24
แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สริมสร้างพลงั ทางสังคม 24
เป้าหมายการใหบ้ ริการหน่วยงาน : เกษตรกรสามารถพ่ึงพาตนเองได้
โครงการส่งเสรมิ การดำเนนิ งานอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมสนบั สนนุ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ
ยุทธศาสตร์จัดสรร : ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมูลคา่
เปา้ หมายการให้บรกิ ารหนว่ ยงาน : ศักยภาพในการขบั เคล่อื นภารกจิ ดา้ นการเกษตรและสหกรณ์เพมิ่ ข้นึ
โครงการพฒั นาเกษตรกรรมยง่ั ยืน
กิจกรรมขบั เคลอื่ นเกษตรกรรมย่งั ยืน
แผนงาน : แผนงานพ้นื ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน หน้า
เป้าหมายการให้บริการหนว่ ยงาน : ศักยภาพในการขบั เคล่ือนภารกจิ ดา้ นการเกษตรและสหกรณ์เพ่มิ ข้นึ
ผลผลติ : อำนวยการและบริหารจดั การดา้ นการเกษตร 29
29
กจิ กรรมท่ี 1 สนับสนนุ การบริหารจัดการดา้ นการเกษตร 29
กจิ กรรมย่อย การบริหารงานสารบรรณ 29
กจิ กรรมยอ่ ย การบริหารงานบคุ คล 29
กจิ กรรมยอ่ ย การบริหารงบประมาณ งานพสั ดุ และบรหิ ารการเบกิ จ่าย 29
กจิ กรรมย่อย การบริการเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ดา้ นการเกษตร 29
กิจกรรมยอ่ ย การพัฒนาเกษตรกรตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 30
กิจกรรมย่อย การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 34
กิจกรรมยอ่ ย การอำนวยการด้านกฎหมาย 35
กิจกรรมย่อย ดำเนนิ ภารกิจด้านการเกษตรต่างประเทศ 36
กิจกรรมย่อย พัฒนาความร่วมมอื และขยายการดำเนนิ งานดา้ นการเกษตรตา่ งประเทศ 37
กิจกรรมยอ่ ย การสนบั สนนุ การตรวจราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 47
กิจกรรมยอ่ ย การตรวจสอบภายใน 65
กิจกรรมยอ่ ย การจัดการเพ่อื การช่วยเหลอื การสนบั สนนุ เงนิ กแู้ ก่เกษตรกร 68
กิจกรรมย่อย การบริหารแผนงาน/โครงการ ของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 71
กิจกรรมยอ่ ย การอำนวยการดา้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาภยั พิบัตดิ า้ นการเกษตร 73
กิจกรรมย่อย การพฒั นาระบบราชการ 75
กิจกรรมยอ่ ย การกํากับดแู ลและสนับสนนุ การบรหิ ารงานกองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร 79
กิจกรรมยอ่ ย การปฏิบัติการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต 88
กิจกรรมยอ่ ย การอำนวยการดา้ นการสง่ เสริมและพฒั นาระบบเกษตรพันธสญั ญาที่เปน็ ธรรม 90
กิจกรรมยอ่ ย การสนับสนนุ ภารกจิ ของรัฐมนตรี 93
95
กจิ กรรมท่ี 2 การบรู ณาการงานในส่วนภมู ภิ าค 95
กิจกรรมที่ 3 การจัดการระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 97
2.3 รายงานผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 100
ส่วนท่ี 3 รายงานการเงนิ 105 106
108
งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงนิ 112
ส่วนท่ี 4 เรอ่ื งอน่ื ๆ 110 122
การจัดงานวันสำคัญ 121
ภาคผนวก
รายนามผบู้ รหิ ารสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2565
ส่วนท่ี 1
ข้อมลู ภาพรวม
2
สำนกั งำนปลดั กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นส่วนราชการระดับกรม มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนา
ยทุ ธศาสตร์ แปลงนโยบายของกระทรวงเปน็ แผนปฏิบัติการ
การบริหารราชการทั่วไปของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการใดในสังกัด
กระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกำกับ ติดตาม เร่งรัดตรวจสอบ
และสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัด
ให้บรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของ
กระทรวง โดยตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564 และ 2565) และ
แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 3 ปี
(พ.ศ. 2563 – 2565)
1
3
แผนยทุ ธศาสตร์
หรอื แผนกลยทุ ธข์ องหนว่ ยงาน
วสิ ัยทศั น์ Vision
เปน็ ศนู ยก์ ลางการขับเคลอ่ื นนโยบายและยทุ ธศาสตร์
ด้านการเกษตรและสหกรณ์ของประเทศภายในปี พ.ศ. 2570
พันธกจิ Mission
1. ผลกั ดันและขบั เคลอ่ื นนโยบายและยทุ ธศาสตร์
ดา้ นการเกษตรและสหกรณส์ กู่ ารปฏบิ ตั ิในทกุ ระดับ
ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์
2. ส่งเสริม สนบั สนุนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ของกระทรวง
วัฒนธรรมองคก์ ร
Organizational Culture
Honesty : มคี ุณธรรม
Ownership : รับผิดชอบรว่ มกัน
Prompt to Change : พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลง
Establish : สร้างสรรค์
คา่ นยิ ม Value
ซื่อสตั ย์ พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง
รบั ฟงั ความคดิ เห็น ม่งุ ผลสัมฤทธิ์
4
ประเด็นการพัฒนา ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1
ผลกั ดนั ภารกิจ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของกระทรวงให้เกดิ ผลสมั ฤทธิ์
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2
เร่งรดั พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั ของกระทรวง
1. เกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาและ เปา้ หมาย
ส่งเสรมิ อาชีพด้านการเกษตร
2. เกษตรกรสามารถพ่งึ พาตนเองได้
3. ศักยภาพในการขับเคลื่อนภารกิจด้านการเกษตรและ
สหกรณ์เพ่มิ ขน้ึ
แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาและสนับสนนุ การบูรณาการแผนส่กู ารปฏิบัติ
เพื่อให้การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพแก่
เกษตรกรประสบความสำเร็จ
2. บูรณาการหน่วยงานทุกระดับเพื่อสนับสนุน
โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรทำเกษตรกรรม
ยั่งยนื เพม่ิ ข้นึ
4. พัฒนาระบบอำนวยการและบริหารจัดการ
ดา้ นการเกษตรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
5
ภารกจิ /อานาจหนา้ ท่ี
สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจเกย่ี วกับการพฒั นายุทธศาสตร์
แปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการทั่วไปของ
กระทรวงที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการใดในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมท้ัง
กำกบั และเร่งรดั ตรวจสอบ และตดิ ตามการปฏบิ ัตริ าชการของสว่ นราชการในสังกัดกระทรวง
ให้บรรลุเป้าหมาย และเกดิ ผลสมั ฤทธต์ิ ามภารกิจของกระทรวง โดยมอี ำนาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี
1. ศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทำขอ้ มูลเพ่ือเสนอแนะรฐั มนตรสี ำหรบั ใชใ้ นการกำหนด
นโยบาย เปา้ หมาย และผลสมั ฤทธขิ์ องกระทรวง
2. พฒั นายทุ ธศาสตร์การบรหิ ารของกระทรวง
3. แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ โครงการ และโครงการพิเศษ
4. ดำเนินการและประสานงานกับองค์การหรือหน่วยงานที่เกี่ยวกับกิจการ
ด้านการเกษตรตา่ งประเทศ
5. ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
สว่ นราชการในสังกดั กระทรวง
6. กำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและพัฒนาบคุ ลากรของกระทรวง
7. ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง
และกฎหมายอน่ื ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
8. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงานและการบริการ
รวมทง้ั ประชาสมั พนั ธ์และเผยแพรข่ อ้ มลู สารนเิ ทศด้านการเกษตร
9. ดำเนนิ การบริหารกองทนุ เพอ่ื ชว่ ยเหลือเกษตรกรและรบั เรือ่ งร้องเรียน
10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัด
กระทรวง หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย
6
ขอ้ มลู พ้ืนฐานของหนว่ ยงาน
โครงสรา้ งสานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สานกั งานปลดั กระทรวง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ศนู ยป์ ฏิบัติการต่อตา้ นการทุจริต
ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารสว่ นภูมิภาค
1) กองกลาง สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
2) กองการเจ้าหนา้ ท่ี 76 จงั หวัด
3) กองเกษตรสารนเิ ทศ
4) กองคลงั สำนักงานทีป่ รกึ ษาการเกษตรต่างประเทศ
5) กองนโยบายเทคโนโลยเี พอื่ การเกษตรและเกษตรกรรมย่ังยืน จำนวน 6 แห่ง ได้แก่
6) ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
7) สถาบันเกษตราธิการ 1)กรงุ โรม (อิตาล)ี
8) สำนักกฎหมาย 2)สหภาพยโุ รป (กรุงบรสั เซลส์-เบลเย่ยี ม)
9) สำนักการเกษตรต่างประเทศ 3)กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (สหรัฐอเมริกา)
10) สำนกั งานท่ปี รึกษาการเกษตรต่างประเทศ 4)กรุงโตเกียว (ญป่ี ุ่น)
11) สำนกั ตรวจราชการ 5)กรุงปกั กิ่ง (จีน)
12) สำนกั ตรวจสอบภายใน 6)กรุงแคนเบอร์ร่า (ออสเตรเลยี )
13) สำนักบริหารกองทนุ เพอื่ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรและรบั เร่ืองร้องเรียน ฝ่ายการเกษตรประจำกงสุลใหญ่ จำนวน 3 แห่ง
14) สำนกั แผนงานและโครงการพิเศษ ไดแ้ ก่
15) สำนักพัฒนาระบบบรหิ าร 1) นครกวา่ งโจว (จีน)
2) นครเซย่ี งไฮ้ (จีน)
3) นครลอสแอนเจลสิ ( สหรฐั อเมริกา)
ฝ่ายการเกษตรประจำสถานเอกอคั รราชทตู ไทย
จำนวน 2 แห่ง ได้แก่
1) กรงุ จาการ์ตา (อินโดนเี ซยี )
2) กรุงมอสโก (รสั เซยี )
7
กรอบอตั รากาลงั คนในภาพรวมของสานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีกรอบอัตรากำลังรวมทั้งสิ้น 1,917 ตำแหน่ง ประกอบด้วย
ข้าราชการ 1,175 ตำแหน่ง ลูกจา้ งประจำ 98 ตำแหน่ง และพนักงานราชการ 644 ตำแหนง่ ดงั ต่อไปนี้
ลำดับ ส่วนราชการ ข้าราชการ ลกู จ้างประจำ พนักงาน รวม
ราชการ
1 ส่วนกลาง 31 0 49
2 กองกลาง 26 0 18 32
3 กองการเจ้าหน้าท่ี 47 2 6 69
4 กองเกษตรสารนิเทศ 21 5 20 38
5 กองคลงั 58 18 12 100
6 กองนโยบายเทคโนโลยเี พือ่ การเกษตรและเกษตรกรรมย่ังยืน 21 0 24 30
7 ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 24 0 9 33
8 สถาบันเกษตราธิการ 27 5 9 40
9 สำนักกฎหมาย 29 0 8 36
10 สำนกั การเกษตรตา่ งประเทศ 24 2 7 34
11 สำนกั งานทีป่ รึกษาการเกษตรตา่ งประเทศ 14 0 8 14
12 สำนักตรวจราชการ 18 2 0 35
13 สำนกั ตรวจสอบภายใน 21 0 15 26
14 สำนักบรหิ ารกองทุนเพื่อชว่ ยเหลอื เกษตรกรและรับเรอื่ ง 25 0 5 32
7
ร้องเรยี น 61 0 99
15 สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 13 0 38 19
16 สำนกั พฒั นาระบบบริหาร 715 64 6 1,231
17 สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด (๗๖ จงั หวัด) 1,175 98 452 1,917
644
รวม สป.กษ.
18 สำนักงานรัฐมนตรี 14 5 20 39
รวมทั้งสิ้น 1,189 13 664 1,956
8
งบประมาณตามพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2565
งบประมาณรายจา่ ยจาแนกตามโครงการ/ผลผลติ ปี 2565
โครงการ/ผลผลติ จำนวนเงนิ รอ้ ยละ
(ลา้ นบาท)
โครงการท่ี 1 : โครงการตำบลม่นั คง มง่ั คั่ง ยง่ั ยืน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 0.88
โครงการท่ี 2 : โครงการส่งเสริมการดำเนนิ งานอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ 9.9814 0.66
โครงการที่ 3 : โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยงั่ ยนื 7.4705 1.20
ผลผลิตที่ 4 : อำนวยการและบริหารจดั การด้านการเกษตร 13.5029 26.77
รายการที่ 5 : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ 302.2064 70.61
795.5749 100.00
รวม 1,128.7361
9
งบประมาณรายจา่ ยจาแนกตามรายจา่ ยประจา-รายจา่ ยลงทนุ ปี 2565
ประเภทรายจ่าย จำนวนเงนิ รอ้ ยละ
(ลา้ นบาท)
รายจา่ ยประจำ 1,108.1302 98.17
รายจา่ ยลงทุน 1.83
20.6059 100.00
รวม 1,128.7361
งบประมาณรายจา่ ยจาแนกตามงบรายจา่ ย ปี 2565
งบรายจา่ ย จำนวนเงิน รอ้ ยละ
(ลา้ นบาท)
งบบคุ ลากร 65.73
งบดำเนินงาน 741.9516 24.92
งบลงทนุ 281.2958 1.83
งบเงินอดุ หนุน 20.6059 2.91
งบรายจา่ ยอื่น 4.61
32.8389 100.00
รวม 52.0439
1,128.7361
ส่วนท่ี 2
ผลการปฏบิ ัติงานและ
ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ
2.1 สรปุ ผลสัมฤทธิ์
ของการปฏบิ ตั ริ าชการ
ท่สี อดคลอ้ งกบั ผลผลติ
ตามพระราชบญั ญตั ิ
งบประมาณรายจา่ ย
ประจาปี พ.ศ. 2565
13
สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สป.กษ.) ปฏบิ ัติภารกิจตามกรอบและแนวทางดำเนินงานภายใต้
ยุทธศาสตร์จัดสรร 3 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอ
ภาคทางสังคม และยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4 โครงการ/ผลผลิต 6 กิจกรรม สามารถ
บรรลุเป้าหมายตามตัวช้ีวัดที่กำหนดในภาพรวม คดิ เปน็ ร้อยละ 99.29 ดงั นี้
แผนงาน/ผลผลิต/กจิ กรรม การปฏบิ ัติงาน ร้อยละ
หน่วยนับ เปา้ หมาย ผล
100.00
รวม สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 90 98.41 96.50
400 386 96.50
ยทุ ธศาสตรจ์ ดั สรร : ยุทธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง
100.00
แผนงาน : แผนงานบรู ณาการขับเคลอ่ื นการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 100.00
เป้าหมาย : เกษตรกรในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ได้รบั การพัฒนาและส่งเสริมอาชพี ดา้ นการเกษตร 100.00
ตัวชวี้ ดั : ร้อยละของเกษตรกรทีไ่ ด้รับการพฒั นาและสง่ เสรมิ อาชพี ดา้ นการเกษตร ร้อยละ
มีรายได้เพมิ่ ขึ้น
โครงการ : ตำบลม่ันคง ม่ังค่งั ยั่งยืน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ราย
ด้านการเกษตร
กจิ กรรมที่ 1 : การพฒั นาการเกษตรในพืน้ ท่ีชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วดั : จำนวนเกษตรกรที่ไดร้ บั การพฒั นาและสง่ เสรมิ อาชพี ด้านการเกษตร ราย 400 386
ยุทธศาสตรจ์ ดั สรร : ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 60 96.58
85 92.00
แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์เสรมิ สร้างพลังทางสังคม 80 100.00
เป้าหมาย : เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้
ตวั ชี้วดั : ร้อยละของเกษตรกรท่เี ขา้ ร่วมโครงการตามพระราชดำรขิ องกระทรวง ร้อยละ
เกษตรและสหกรณ์ มีรายได้เพม่ิ ขนึ้
โครงการ : สง่ เสริมการดำเนินงานอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ
ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ : รอ้ ยละของเกษตรกรท่ีเขา้ รว่ มโครงการนอ้ มนำแนวทาง ร้อยละ
ตามพระราชดำรไิ ปใช้
กิจกรรมที่ 2 : สนบั สนนุ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ
ตวั ชว้ี ัด : รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการจัดทำแผนการดำเนนิ งานโครงการ ร้อยละ
ตามพระราชดำริของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
14
แผนงาน/ผลผลติ /กจิ กรรม การปฏบิ ัตงิ าน ร้อยละ
หน่วยนบั เป้าหมาย ผล
100.00
ยุทธศาสตร์จัดสรร : ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 100.00
100.00
แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตร์การเกษตรสรา้ งมูลค่า 100.00
เปา้ หมาย : ศกั ยภาพในการขับเคลอื่ นภารกจิ ดา้ นการเกษตรและสหกรณ์เพิม่ ขึ้น ไร่ 3,000 15,037 100.00
100.00
ตัวช้วี ัดเชงิ ปรมิ าณ : จำนวนพืน้ ทเี่ กษตรกรรมยั่งยืนเพม่ิ ข้ึน จำนวน 5 ล้านไร่ 100.00
ภายในปี 2565 100.00
โครงการ : พฒั นาเกษตรกรรมยงั่ ยนื 100.00
ตัวช้วี ัด : รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการขบั เคล่อื นเกษตรกรรมยง่ั ยนื รอ้ ยละ 80 97.92
กิจกรรมท่ี 3 : ขบั เคลื่อนเกษตรกรรมยงั่ ยนื
ตวั ชี้วดั เชงิ ปริมาณ : จำนวนพ้นื ทีเ่ กษตรกรรมยง่ั ยนื เพมิ่ ขึ้น จำนวน 5 ลา้ นไร่ ไร่ 3,000 15,037
ภายในปี 2565
ตวั ช้ีวดั : ร้อยละความสำเรจ็ การพฒั นากลไกและระบบสง่ เสรมิ การทำ รอ้ ยละ 100 100.00
เกษตรกรรมย่ังยนื
แผนงาน : แผนงานพื้นฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
เป้าหมายการให้บริการหนว่ ยงาน : ศักยภาพในการขบั เคล่ือนภารกจิ ดา้ นการเกษตรและสหกรณเ์ พ่ิมขึ้น
ตวั ชี้วัด : รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการดำเนินงานในภารกจิ ระดบั กระทรวง รอ้ ยละ 90 100.00
ผลผลิต : อำนวยการและบริหารจัดการด้านการเกษตร
ตวั ชี้วัด : รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานในภารกิจระดบั กระทรวง รอ้ ยละ 90 100.00
กิจกรรมที่ 4 : สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การดา้ นการเกษตร
ตัวชว้ี ัด : ร้อยละความสำเรจ็ ของการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิงานประจำปี รอ้ ยละ 90 99.28
ของ สป.กษ.
กิจกรรมท่ี 5 : การบรู ณาการงานในส่วนภมู ิภาค
ตวั ช้ีวดั : ร้อยละความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิงาน รอ้ ยละ 90 99.41
ดา้ นการเกษตรและสหกรณ์ของจงั หวดั
กิจกรรมที่ 6 : การจดั การระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ
ตวั ชี้วดั : รอ้ ยละความสำเรจ็ การพฒั นาระบบขอ้ มลู ให้เป็นดิจทิ ลั (Digitize Data) รอ้ ยละ 90 100.00
เพ่อื นำไปสกู่ ารเปดิ เผยข้อมูลภาครัฐ (Open data) ของ สป.กษ.
สรปุ สาระสาคญั
2.2 ของผลการปฏบิ ตั ริ าชการ
ท่สี อดคลอ้ งกบั ผลผลติ
ตามพระราชบญั ญตั ิ
งบประมาณรายจา่ ย
ประจาปี พ.ศ. 2565
16
ยุทธศาสตร์จดั สรร : ยุทธศาสตร์ด้านความมนั่ คง
แผนงาน : แผนงานบูรณาการขับเคลอ่ื นการแก้ไขปญั หาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
เปา้ หมายการให้บริการหนว่ ยงาน : เกษตรกรในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ได้รบั การพัฒนาและส่งเสริมอาชพี
ด้านการเกษตร
โครงการตำบลมัน่ คง ม่งั คง่ั ยงั่ ยืน ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
กจิ กรรมการพัฒนาการเกษตรในพื้นทช่ี ายแดนภาคใต้
การพฒั นาการเกษตรในพ้นื ที่ชายแดนภาคใต้ ไดด้ ำเนินงาน 5 กจิ กรรม ไดแ้ ก่
ร้างเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรและสหกรณ์ ระดับ 2. กิจ กร รมการพั ฒนาการเกษตร
ตำบล
1. คกดั ิ จเลอืกกแรลระแมต่งกต้ังาอารสสาสรมคั้ ารเงกษเตครแรลื ะอสขหก่ ารณย์ ร ะ ดั บ ต า บ ล ใ น จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น
ใ(บเหรูป้ปณ้าฏอราหกิบะมาดาัตารสิงบัปยาฏาตน2ิบสต8ัตาาบ9มิงมาลทัตนคี่ไำรดรบว่ ้รมลเับกกมับตอหำษบบนตหล่วยมลรงาะายแน1อลจนื่ำระนๆาสยวใน)นหพท2ก้ืน8ำทห9รี่นแรณ้าาลทยะ์ ี่
ร่วมปครัดะเลชอืุมกกแับลสะภแาตสง่ ันตงั้ตอิสาุขสตาำสบมลัครเพเกื่อษแตลรกแเลปะลสี่ยหนกแรลณะ์ ภาคใต้
แใหส้ปดฏงคิบวัตาิงมาคนิดตเาหม็นทใี่ไนดก้ราับรมจอัดบทหำมแาผยนพจำัฒนนวานกา2ร8เ9กษราตยร
ร(เะปด้าับหตมำบาลย 289 ตำบล ตำบลละ 1 ราย) ทำหน้าที่ ทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลในพื้นท่ี
บูรณาการปฏบิ ตั ิงานร่วมกับหนว่ ยงานอน่ื ๆ ในพน้ื ที่ และ ตำบลเป้าหมายของ ศอ.บต. จำนวน 122 ตำบล
ร่วมประชุมกับสภาสันติสุขตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนและ โดยมกี ารจัดทำแผนในพื้นทีเ่ ป้าหมายตำบลต้นแบบ
แสดงความคิดเห็นในการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร รวม จำนวน 138 ตำบล ทำให้เกิดการขับเคลื่อน
ระดบั ตำบล หตเกผกสจ1ก.ำาาสนำนิดบรรนม่วั หปเเผสกร(มเบจกจทกพลพกเกยผ้อวาสนีีนเัปเงัสดาิจำัิฒดง2ิษปย่รมกสนหม่รวัทแบาน้กา5พกลา้ขษาตนมยผวนผห6ำรสหะุาั1ฒนนึ้นรดังตาสีสใแ5รนรมนมา3ผนกรชก9รานม)่ผมวจพนาาุ่น18นสาพวกาาานแนกียสำยใั.รยฒมกมรกรรื้4ลนนขนา่รใวตเตแ่ตาวนกพ5าผะอรน่นทกพววำดรมำ้รตพันงพสบนมัษ่ีราื้ฒนเบนบพกจิดก่วแากืัจ้สฒนศตทภล1ำันตบษมลันฒบาาอำรที่น0นาตาจสาตรกจ.นทบีคน่ม7บเวทใา้าเนำเรำทปัุเกกในนกปตกากกนทนำกรแตุ้กาดงเษ.รพทาษัุวากใกษ1้บกหภาะ้จารตหยนุกืดง้ต2นตษนเบมำนาเารมภ้า2้ กเรนทจรคา1ตเปอนรนินกากษกผยวา2สีตร่ะยีเคอผิกนษต2ดสรกต7ก่ำว2ด่าสยลำตมษบตก0รนร51งั1ต่บ่วเาบกรผ้ตลเรตา216นทงนำตปตะลษเจส27ร้บร4นทัแ้ปง(ำดำ็ตนตจัาขเงล)ตแับต้งบร็ปนบั้บรนันรหงัตบำำาบโลร้ก(าบหละตแวบเดยำบะหบใเรมปบตวเบำบัลดคนยลบตมกคเีั้าดร้บบนบลพก้พนลบหาโิาดษแแแลแรดษแยบืแแืแย้ม่นเอลตลลวใยบปบลลลตไวาทนปนมมะะะรด็บนบย่ะะะาร่ีีี ้
2565) และติดตามประเมินผลเกษตรกรตน้ แบบเกษตร
ผสมผสาน ในพน้ื ที่ 70 ตำบลต้นแบบ (เป้าหมายตำบล
ต้นแบบปี 2564) โดยพบว่ามีเกษตรกรต้นแบบเกษตร
ผสมผสาน มรี ายได้เพ่มิ ข้นึ จำนวน 107 ราย จาก 117
ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.45
17
3. กิจกรรมติดตามผลการดาเนินงาน
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนใน
พ้ืนที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้
2. สกำริจวกจรจรัมดเตกิด็บตขา้อมมผูลลกกาารรสด่งำเเสนรินิมงแาลนะโพคัฒรงนกาาอราแชกีพ้ไข
และขป้อมัญลู หราายคไดว้เากมษยตารกจรผนู้ยใานกพจนื้นทจำี่จนังวหนว2ัด,3ช2า8ยรแาดยน
พบว่าภเกาษคตใตร้กรผู้ยากจนและผู้มีรายได้น้อยที่เข้าร่วม
โครงกสำารวจไดจั้ดรเับกก็บาขร้อสม่งูลเกสารริมส่แงเลสะริมสแนลับะสพนัฒุนนอาอาชาชีพีพ
ดแ้าลนะกขา้อรมเูลกรษาตยรได้เจกำษนตวรนกร1ผ,ู้ย9า8ก0จรนายจำแนลวนะเ2ก,ษ32ต8รกรารย
คพนบยาวก่าเจกนษตผรู้มกีรราผยู้ยไดา้นกจ้อนยแไมล่เะขผ้าู้มร่วีรมายโคไดร้งนก้อายรทจี่เขำน้ารว่วนม
4โ3ค8รรงากยารทั้ไงดน้รี มับีเกาษรตสร่งกเรสผรู้ยิมาแกลจะนสมนีราับยสไดน้เุนพอิ่มาขชึ้นีพ
จดำน้าวนนก1า,ร8เ6ก0ษรตารย คจิดำเนปว็นนร้อ1ย,ล9ะ8098ร.4า1ย และเกษตรกร
คนยากจน ผู้มีรายได้น้อยไม่เข้าร่วมโครงการ จำนวน
438 ราย เนื่องจากเสียชีวิต มีการย้ายถิ่นฐาน และ
4ไ.ม่ปกริจะสกงรค์เรขม้ารต่วิดมโตครางมกการารทั้งพนัฒี้ มีเนกษาตเกรกษรตผู้ยรากกจรน
มีรารยุน่ไดใเ้หพมม่ิ ข่ ้ึน จำนวน 1,860 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.41
มพเ3ทกพ3เ3ท4ีผั้บงกษ47.้งันยู้บษวต7นตนิีร้วต่รากม้ีเารยิก่รามดกเยาจิีกกกรอมีเษตยรกราษกมมีเตา่นุรรรกมษตใีรนุ่ตมรใรหษาีรรหตใกมิดยกาข้กหตมรรยตไตอ้รามรกดท่รไิดรามรกดท่้รเุ่นี่เุ่นมตพปูลพ้รเร่เี ใพใปกาิ่็นมรุ่หนัหฒจมาิ่็นมุข่กนมใำมรกขกลึ้นนหใน่ท่พทลาึ้นหมุ่ ามว2ี่ีเ่รัเฒ่มุเมขตนข่ปก27พเ้าน่ปก้า79่ลา้อฒั3รร9หาล้าุ่มยรว่4่หวตนมุ่มารมเ7อมม่าอยาปาเโยดโายปเรยค้าคคกยเาแอด้ราหคเิษดรยดงลหดมิ ิงดมเตกิมปแกะมเาจารป็นลาขายจำรก็นรระยนำยเร้อรดใขนเวราในด้อยนิยวมน่นุยปยลนิมาปใ4ผละียจห40ี2ะลจผำ2800ม5นำขล80506่ รน.0วข6อ54าร.วน5อ04ยางนมย0งี
ผยู้ นิ ยอมให้ข้อมลู จำนวน 347 ราย โดยมีเกษตรกรรุ่น
ใหม่บางส่วนเลิกทำการเกษตร ย้ายถิ่นที่อยู่ และ
เสียชีวติ ทำให้ไมค่ รบตามจำนวนเปา้ หมาย
5. กิ จ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ต า ม
แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาจังหวัด
ชายแดนใต้
ประสาน อำนวยการ และบูรณาการการขบั เคล่ือน
การดำเนินงานโครงการ ร่วมกับหน่วยงานทั้งในและ
นอกสังกัดกระทรวง โดยจัดประชุมคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนการดำเนินงาน และประชุมติดตามผลการ
ดำเนินงานโครงการในพื้นที่ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
ขอ้ มูลขา่ วสารด้านการเกษตร
18
ยทุ ธศาสตร์จดั สรร : ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตร์เสรมิ สรา้ งพลงั ทางสังคม
เปา้ หมายการใหบ้ ริการหนว่ ยงาน : เกษตรกรสามารถพ่ึงพาตนเองได้
โครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
กจิ กรรม : สนบั สนนุ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประสาน อำนวยการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดำริในภาพรวมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีผลการดำเนินงานและ
การขับเคลื่อนโครงการที่สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุน
การดำเนนิ งาน ดังน้ี
1. ประสานอานวยการงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริให้กับหน่วยงานในสังกดั
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 การขบั เคลอ่ื นงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
• ประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือน • ประชุมคณะอนุกรรมการโครงการ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กระทรวงเกษตร พัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังฯ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์
และสหกรณ์ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2564 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตร (ห้อง 135) และผ่านระบบการประชุมทางไกลออนไลน์
และสหกรณ์ (ห้อง 134 - 135) และผ่านระบบการ โปรแกรม Zoom Meeting โดยมีนายประยูร อินสกุล
ประชุมทางไกลออนไลน์ โปรแกรม Zoom Meeting รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน
โดยมปี ลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ประธาน การประชุม และคณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม
เพื่อรับฟังรายงานผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ
• ประชุมคณะทำงานดำเนินงาน พ.ศ. 2564 และแนวทางการขับเคลอ่ื นในปีงบประมาณ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กระทรวงเกษตร พ.ศ. 2565
และสหกรณ์ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 3 มีนาคม
พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 น. โดยมีนายวิชัย ไตรสุรัตน์
ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน
การประชุม และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 เมษายน
พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ (ห้อง 135) และผ่านระบบ Zoom
Meeting
19
1.2 การจดั ทำฐานขอ้ มลู โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ ปี 2565
กองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ไดด้ ำเนินการ ดังนี้
แ จ ้ ง ว ่ า ไ ด ้ ก ำ ห น ด ร ห ั ส โ ค ร ง ก า ร อั น
เน•อ่ื งมาหจาารกือพแระนรวาทชาดงำกริา(Cรจoัdดeท)ำเฐพาื่อนนขำไ้อปมใชูล้
เปโค็นรฐงากนารขอ้อันมเนูลื่อโงคมรางจกากาพรอระันรเานชื่ดอำงรมิราว่ จมากกบั
พสระำรนาชั กดงำารินใหค้เณป็นะขก้อรมรูลมชุดกเาดรียพวกิ เันศกษับเทพาื่งอ
สำปนรกั ะงสานานกงปารน. โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2565
ณ ห้องประชุม 201 สำนักงาน กปร. โดยมี
น า ย ล ล ิ ต ถ น อ ม ส ิ ง ห์ เ ล ข า ธ ิ ก า ร
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
โ ค ร ง ก า ร อ ั น เ น ื ่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ด ำ ริ
เป็นประธาน ซึ่งสำนักงาน กปร. แจ้งว่าได้
กำหนดรหัสโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ (Code) เพื่อนำไปใช้เป็น
ฐานข้อมูลโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ให้เป็นข้อมูลชุดเดียวกันกับ
ทางสำนักงาน กปร.
• จัดประชุมคณะทำงานดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 ผ่านระบบการประชุมทางไกลออนไลน์
ที่ประชุมมีมติขอให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตรวจสอบความครบถ้วนและ
ถูกต้องของฐานข้อมูลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่อยู่ในความรับผิดชอบ เปรียบเทียบกับ
รหสั โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ (Code) ของสำนักงาน กปร. เพ่อื ใหม้ คี วามครบถว้ น ถูกต้อง
สอดคล้อง เชื่อมโยง และเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน พร้อมจัดประชุมหารือนอกรอบกับหน่วยงานในสังกดั
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยได้มกี ารประชมุ หารอื 3 ครง้ั
20
2. การประสานงาน ติดตามและขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชด าริ (ในพื้นที่)
2.1โครงการพชั รสธุ าคชานรุ กั ษ์
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน
แนวพระราชดำริ เพือ่ แกไ้ ขปญั หาการอย่รู ว่ มกนั ระหวา่ งคนกับช้างป่า ในพ้นื ทีป่ ่าสงวนแหง่ ชาติกยุ บุรี เมอ่ื วันที่ 19 มิถุนายน
2540 ว่า “ให้ดำเนินการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติกุยบุรี โดยใช้รูปแบบในการฟื้นฟู
เช่นเดยี วกับการดำเนินงานโครงการศนู ย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวดั เพชรบรุ ี และ
โครงการฟื้นฟทู ่ีดนิ เสอ่ื มโทรมเขาชะงุ้ม อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ จังหวดั ราชบุรี” หลังจากน้นั จงึ เกิดเปน็ “โครงการ
อนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟูสภาพป่า บริเวณป่าสงวนแห่งชาติปา่ กุยบุรี อนั เน่อื งมาจากพระราชดำร”ิ
โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ์ เป็นโครงการ
พื้นที่ป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก เป็นป่า
ขนาดใหญ่ มีพื้นที่รวม 1,644,531 ไร่ หรือประมาณ
2,631 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และ
จงั หวดั สระแกว้
การจดั ทำแผนแม่บทสร้างความสมดุลระหว่าง
คนและช้างป่า ภายใต้โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ์
เปน็ การดำเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือช้างป่า
สัตว์ป่า และคุณภาพชีวิตของประชาชน ในการแก้ไข
ปัญหาการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับช้างป่า รวมทั้ง
การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนา
คุณภาพชีวิต ของประชาชนในพื้นที่ป่ารอยต่อ
5 จงั หวดั ภาคตะวันออก ซ่งึ มแี นวทางพฒั นาเพ่ือให้คน
อยู่ร่วมกันกับช้างป่าอย่างสมดุล จำแนกแนวทาง
พัฒนาออกเป็น 3 พื้นที่ ประกอบด้วย 1) การจัดการ
พ้ืนที่ป่า 2) การจดั การพืน้ ท่ีแนวกนั ชน และ 3) การจดั การ
พืน้ ท่ชี มุ ชน
ดำเนินการจัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน
2565 หมู่บ้านคชานุรักษ์บ้านคลองมะหาด เพื่อจัดทำ
แผนขับเคลื่อนโครงการพัชรสุธาคชานุรักษ์ จังหวัด
ฉะเชิงเทรา โดยมีนายสมชวน รัตนมังคลานนท์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาติดตาม
ความก้าวหน้าการจัดทำระบบกระจายน้ำและแปลง
ปลูกหญ้าอาหารสัตว์ ภายใต้โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ์
ณ ตลาดร้อยร้าน บ้านทุ่งยายชี ตำบลท่าตะเกียบ
อำเภอท่าตะเกยี บ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
21
2.2โครงการพฒั นาตามพระราชดำริ 7 โครงการ”
โครงการพัฒนาตามพระราชดำริจัดตั้งขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เน่ืองจากในห้วงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 เปน็ ตน้ มา ลทั ธิคอมมวิ นิสต์ท่ีได้แพร่ขยายเข้ามาใน
ประเทศไทย เปิดการโจมตีเจ้าหน้าที่รัฐอย่างต่อเนื่อง จึงทรงเล็งเห็นว่าภัยนี้เป็นภัยร้ายแรงต่อประเทศชาติ จึงทรง
หาวิธีแก้ไขปัญหาการแบ่งแยกและแตกต่างทางความคิด ด้วยการพัฒนาประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ทรงเริ่มวางแนวทาง
การพัฒนาด้วยพระองค์เอง เพื่อศึกษาการพัฒนานำประโยชน์สุขไปสู่ประชาชน โดยโครงการพัฒนาตามพระราชดำริ
เป็นส่วนหนี่งของงานยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อความมั่นคงประเทศ ทรงเริ่มต้นด้วยการเป็นศูนย์การศึกษาการพัฒนา
ซงึ่ ในระยะแรกไดท้ รงวางแนวทางแผนงานการดำเนินงานของแต่ละศนู ย์ให้เก้ือกูลกัน ดังนี้
1) โครงการศูนย์บริการและพัฒนาลุ่มน้ำปาย 2) โครงการศูนย์บริการและพัฒนาที่สูง
ตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปางตองตามพระราชดำริ จังหวัด
แม่ฮ่องสอน (รับผิดชอบโดยกรมส่งเสริม
(รับผิดชอบโดยกรมวิชาการเกษตร)
เป็นศูนย์ที่ศึกษาและพัฒนาเกี่ยวกับการปลูกพืช การเกษตร)
เลี้ยงสตั ว์ในพน้ื ทีร่ าบในหุบเขา เป็นศูนย์ที่ศึกษาและพัฒนาเกี่ยวกับการปลูก
พืชเลี้ยงสัตวใ์ นพ้นื ทสี่ ูง
1. โครงการศนู ย์บริการแ ละพัฒนาท่สี ูงปางตอง
ตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
(รบั ผิดชอบโดยกรมส่งเสรมิ การเกษตร) เปน็ ศนู ย์
ที่ศึกษาและพัฒนาเกยี่ วกับการปลกู พชื เลย้ี งสัตว์
ในพืน้ ที่สงู
3) โครงการศูนย์อำนวยการโครงการพัฒนา
ตามพระราชดำริ อำเภอสันป่าตอง จังหวัด
เชยี งใหม่ (รบั ผดิ ชอบโดยกรมพฒั นาทีด่ ิน)
เป็นศูนย์ที่พัก อุปกรณ์ พืช สัตว์ ที่จะนำไปยัง
โครงการพัฒนาตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
และพื้นที่อื่น ๆ ซึ่งในขณะนั้นการคมนาคมในจังหวัด
แม่ฮ่องสอนมีความยากลำบาก
22
4) โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตาม
พระราชดำริ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
(รบั ผดิ ชอบโดยกรมปศุสตั ว์)
เป็นศูนย์ศึกษาด้านการเกษตร เน้นการ
ดำเนินการเรื่องข้าวและธนาคารข้าว การส่งเสริมการ
เลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ของราษฎร
2. โครงการพฒั นาพ้นื ท่รี าบเชิงเขาจังหวัดสระแก้ว 5) โครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขาจังหวัด
- ปราจีนบุรี ตามพระราชดำริ สระแก้ว - ปราจนี บุรี ตามพระราชดำริ
รูปแบบรวบรวมผู้คนที่กระจัดกระจายในพื้นทีป่ ่าเขา
และตามพื้นท่ีราบเชิงเขา โดยจัดหมูบ่ ้าน จัดพื้นที่ทำ (รับผิดชอบโดยกรมชลประทาน)
กินในรูปแบบหมู่บา้ นป่าไม้ จัดหาแหล่งน้ำขนาดเล็ก ดำเนินการโดยรวบรวมผู้คนที่กระจัดกระจายใน
ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ เพื่อจัดสาธารณูปโภคให้ พื้นที่ป่าเขาและตามพื้นที่ราบเชิงเขา จัดเป็นหมู่บ้าน
เป็นระบบ ส่งเสริมการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ จัดพื้นที่ทำกินในรูปแบบหมู่บ้านป่าไม้ จัดหาแหล่งน้ำ
สามารถดูแลราษฎรได้อย่างทวั่ ถงึ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ เพื่อจัด
สาธารณูปโภคให้เป็นระบบ ส่งเสริมการพัฒนาให้มี
ประสทิ ธิภาพ สามารถดูแลราษฎรไดอ้ ย่างทวั่ ถงึ
6) โครงการศูนย์บริการการพัฒนาปลวกแดงตาม
พระราชดำริ จังหวัดระยอง (รับผิดชอบโดย
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร)
เป็นแหล่งผลิต ขยายพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อแจกจ่ายไปยัง
ศนู ยต์ ่าง ๆ พฒั นาศกั ยภาพของราษฎร และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่
เกษตรกรบรเิ วณรอบศูนยฯ์
7) การศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชดำริ จังหวัด
จนั ทบุรี
(รับผิดชอบโด ยกรษตร) เป็นศึกษาพัฒนาไม้ผล
ให้เป็นตัวอย่างในการประกอบอาชีพแก่ร7า)ษฎโครรงการศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชดำริ จังหวัด
สร้างแหล่งน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง เพื่อทำการศึกษจาันทบุรี (รับผดิ ชอบโดยกรมวชิ าการเกษตร)
ทดลองทางการเกษตร เป็นศึกษาพัฒนาไม้ผล ให้เป็นตัวอย่างในการประกอบอาชีพ
แกร่ าษฎร และสรา้ งแหล่งน้ำไวใ้ ชใ้ นฤดแู ล้ง เพ่อื ทำการศึกษาทดลอง
ทางการเกษตร
23
3. การจดั กิจกรรมอ่ืน ๆ
3.1 การกราบถวายบังคมลา เนื่องใน
โอกาสเกษยี ณอายรุ าชการ
ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ ์ ไ ด ้ รั บ
พระราชทานพระราชโอกาสให้เข้าเฝ้าฯ กราบถวาย
บังคมลาสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ-
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องใน
โอกาสเกษียณอายุราชการ ประจำปี พ.ศ. 2565
ณ วังสระปทุม ในวันที่ 1 กันยายน 2565 ซึ่งมี
ข้าราชการพลเรือนสามัญ ผู้ดำรงตำแหน่งประเภท
ผู้บริหาร ผู้อำนวยการสำนัก/กอง (อำนวยการสูง)
และผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และ
จะต้องพ้นจากราชการ (เกษียณอายุราชการ) ตั้งแต่
วันท่ี 1 ตุลาคม 2565 รวมจำนวน 157 ราย
3.2 การจัดงาน "สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้
บรมราชินนี าถ" ครั้งท่ี 14 ระหว่างวันท่ี
10 - 15 สิงหาคม 2565 ณ สวนสมเดจ็
พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิ ฯ ได้กำหนด
จัดงาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ 30 ปี
สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ฯ ใต้ร่มพระบารมี
เพื่อปวงประชา” ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ฯ
ระหว่างวันที่ 10 – 15 สิงหาคม 2565 กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์และให้หน่วยงานในสังกัดร่วมจัด
นิทรรศการ เป็นประจำทุกปี
24
ยุทธศาสตรจ์ ัดสรร : ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมูลคา่
เป้าหมายการใหบ้ ริการหนว่ ยงาน : ศกั ยภาพในการขบั เคลือ่ นภารกิจด้านการเกษตรและสหกรณ์เพิ่มข้ึน
โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยงั่ ยนื
กจิ กรรมขบั เคลอื่ นเกษตรกรรมยง่ั ยืน
1. โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยง่ั ยนื
การดำเนนิ กจิ กรรมการรวมกลมุ่ และการสร้างเครือขา่ ย ภายใต้โครงการพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืน ซง่ึ สามารถสรุป
สาระสำคัญได้ดังน้ี
1.1 เปา้ หมายและผลการดำเนินงาน
มีการดำเนินกิจกรรมการรวมกลุ่มและ
การสร้างเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรจำนวน 76 กลุ่ม
ใน 76 จังหวัด โดยมีจำนวนเกษตรกรทั้งหมด
1,487 คน จัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรม
กลุ่ม ๆ ละ 30,000 บาท รวมทงั้ สิ้น 2,280,000 บาท
1.2 แผนปฏิบัติการของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมขับเคลื่อน
เกษตรกรรมย่งั ยืน
แผนปฏิบัติการที่ขอรับการสนับสนุนมากที่สุด 3 อันดับแรก ประกอบด้วย
แผนพัฒนาบุคลากรและกลุ่ม (เช่น ฝึกอบรมการทำเกษตรอินทรีย์ ฝึกอบรมการปลูกผัก
อินทรีย์) แผนพัฒนาการผลิต/การแปรรูป/เทคโนโลยี (เช่น ฝึกอบรม การแปรรูปผลผลิต
ทางการเกษตร ฝึกอบรมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์) และแผนการตลาด (เช่น ฝึกอบรม
การตลาด ฝึกอบรมการตลาดออนไลน์) ตามลำดบั
25
1.3 การเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดข้ึนหลังจากท่ีไดด้ ำเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการที่ได้รับการสนบั สนนุ
1) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านสงิ่ แวดล้อม
กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกภายในกลุ่ม กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกภายในกลุ่ม
สามารถลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร สามารถ เห็นความสำคัญถึงความปลอดภัยด้านอาหาร
ลดรายจ่ายในครวั เรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นและมีหนี้สิน ทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการรวมกลุ่มกัน
ลดลง มีการวางแผนการตลาดร่วมกัน รวมถึง ทำปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพทดแทนการใช้
มีการขยายตลาดไปยังชอ่ งทางออนไลน์ สารเคมี และนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนกลับมาใช้
ประโยชน์
2) ดา้ นสังคม
กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกภายในกลุ่ม
เกิดความสามัคคี เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม
ในการวางแผนและการปฏิบัติ มีการแลกเปลี่ยน
ถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน และเกิดการเชื่อมโยง
เครอื ขา่ ยไปยงั ภายนอกชมุ ชน
1.4 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนิน 1.5 ข้อเสนอแนะในการดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมการรวมกลุ่มและการสร้าง การรวมกล่มุ และการสร้างเครอื ข่าย
เครอื ข่าย
ข้อเสนอแนะจากการสอบถามกลุ่มเกษตรกร
ปัญหาและอุปสรรคหลัก ๆ ที่กลุ่มเกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
และสมาชิกภายในกลุ่มประสบในระหว่างการดำเนิน ประกอบด้วย ควรมีการประเมินและติดตาม
กิจกรรม ได้แก่ โรคระบาด สภาพอากาศแล้ง การดำเนินการของกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง
ภัยธรรมชาติ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ขาดแหล่งน้ำ ส่งเสริมให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในเรื่อง
เพื่อใช้ทางการเกษตร ปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงขึ้น ที่กลุ่มเกษตรกรสนใจ รวมถึงสนับสนุนงบประมาณ
ขาดแหล่งเงินทุน ขาดองค์ความรู้ และขาดแรงงาน อย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเป้าหมายกลุ่มเกษตรกร
ในการผลิต ในแตล่ ะจงั หวัด
26
2. โครงการส่งเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่
ดำเนินการบูรณาการ อำนวยการ ประสานงาน การลงพื้นท่ี
ตดิ ตามการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง โดยเนน้ การรวมกลุ่ม
เกษตรทฤษฎีใหม่เดิมให้มีความเข้มแข็ง และการดำเนินงานต่อยอด
เกษตรกรรายเดิมในโครงการ 1 ตำบล 1 กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม่ โดยมี
ผลการดำเนินงานรวมกลุ่มเกษตรกรทฤษฎใี หม่เดิมใหม้ ีความเข้มแขง็
ทำให้กลุ่มเกษตรกรทฤษฎีใหม่ตำบลต้นแบบเข้มแข็ง จำนวน 106 กลุ่ม
ดำเนินการในพ้ืนที่ 70 จงั หวดั ครอบคลุมในพ้นื ที่ 129 ตำบล
27
3. โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง
ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น น โ ย บ า ย ปุ๋ ย
อิ น ท รี ย์ แ ล ะ ปุ๋ ย ชี ว ภ า พ ข อ ง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีการดำเนินการ แต่งตั้งคณะทำงาน
ศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายปุ๋ย
อินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ เพื่อการส่งเสริมให้เกษตรกร
ผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ
ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีในการทำการเกษตร
เนื่องจากสถานการณ์ปุ๋ยเคมีที่มีราคาสูง
เป็นการลดต้นทุนการผลิต ลดการนำเข้า
ปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศตลอดจนปรับปรุง
คุณภาพดิน ปรับสมดุลของระบบนิเวศดิน
ให้เหมาะสมกับการปลูกพืช โดยมีรอง
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น
ประธานคณะทำงาน
28
4. ศูนยเ์ ทคโนโลยเี กษตรและนวตั กรรม (Agritech and Innovation Center : AIC)
กองนโยบายเทคโนโลยเี พ่ือการเกษตรและเกษตรกรรรมยง่ั ยนื (กนท.) และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารในฐานะฝ่ายเลขาฯ ได้ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริหาร AIC เพื่อขับเคลื่อน
การดำเนินงานของศูนย์ AIC โดยมีประเด็นการประชุมหลัก คือ ความก้าวหน้าของคณะกรรมการขับเคลื่อน
นโยบายเทคโนโลยีเกษตร 4.0 และคณะอนุกรรมการ 4 คณะ รวมทั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา
ระบบโลจิสติกส์การเกษตร การขับเคลื่อน AIC จังหวัดต่าง ๆ และรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน AIC
ความก้าวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) การสำรวจการให้บริการห้องปฏิบัติการ
(Laboratory) การสำรวจการดำเนนิ งานของศนู ย์ AIC จงั หวดั
การรายงาน (Update) Innovation Catalog ของ
AIC ผ่านระบบรายงาน https://aic-info.moac.go.th ศูนย์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ศทส.) ได้จัดทำ
Innovation Catalog และเปิดใช้ Innovation Catalog
โดยให้เกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดรายงานผลการดำเนินงาน
ปัจจุบันศูนย์ AIC มีข้อมูลเทคโนโลยีและนวัตกรรม
แบง่ เป็น 11 ประเภท ไดแ้ ก่ IoT เกษตร Weather Station
การตลาด บริหารจัดการ พลังงานทดแทน พัฒนา
ผลิตภัณฑ์ ระบบการให้น้ำหุ่นยนต์เกษตร เครื่องจักรกล
เกษตร โดรน และโรงเรือนอัจฉริยะ จากการรายงาน
มีการ Update Innovation Catalog เทคโนโลยีนวตั กรรม
รวมทั้งสิ้นจำนวน 791 เทคโนโลยี/นวัตกรรม เกษตรกร
ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรมจาก
ศนู ย์ AIC ผ่าน ศพก. จำนวน 10,972 ราย ศพก. ได้มีการใช้
เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรมจากศูนย์ AIC จำนวน
77 แห่ง และเกิดการใช้นวัตกรรมและเกษตรสมัยใหม่
ในมิติขยายผลสู่เกษตรแปลงใหญ่ หรือเกษตรกรที่มี
ความพร้อม จำนวน 1 แห่ง/ 1 เขตตรวจราชการ
(1 กลมุ่ จังหวัด) จำนวน 10 จังหวดั
ปัญหาและอปุ สรรค
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ส่งผลต่อ
การจัดอบรม/สัมมนาถ่ายทอด
เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรมจาก
ศูนย์ AICประกอบกับไมไ่ ด้รับการสนับสนุน
งบประมาณในการดำเนนิ งาน
29
แผนงาน : แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
เปา้ หมายการให้บรกิ ารหนว่ ยงาน : ศกั ยภาพในการขับเคลอื่ นภารกจิ ดา้ นการเกษตรและสหกรณ์เพิ่มขึ้น
ผลผลติ : อำนวยการและบริหารจดั การดา้ นการเกษตร
กจิ กรรมที่ 1 สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการด้านการเกษตร
กจิ กรรมยอ่ ย : การบรหิ ารงานสารบรรณ กจิ กรรมย่อย : การบรหิ ารงานบุคคล
กิจกรรมยอ่ ยดำ:เกนาินรกบารรเหิ กาี่ยรวงกาับนดส้าานรงบารนรสณาร กจิ กรรมยอ่ ยดำ:เกนาินรกบารรหพิ ัาฒรนงาารนะบบคุบคบลริหาร
บรรณของสดำำนเนักงินากนาปรลเัดกกี่ยระวทกรับวดงเ้ากนษงตารนแสละาสรหบกรรรณณ์ ทรพั ยากรบดุคำคเนลินกกาารรจพัดทัฒำนแาผรนะกบลบยทุบธรก์ิหาารรบทรรหิ ัพารยแาลกะร
ดำขเอนงินสกำานรักเงกาี่ยนวปกลับัดงการนะชท่วรยวองเำกนษวตยรกแาลระแสลหะกงารนณ์ พบัฒุคนคาลทกรัาพรยจาัดกทรำบแุคผคนลกลแยลุทะธจ์กัดาทรบำแริหผานรปแฏลิบะพัตัฒิกานรา
เลดขาำนเนกุ าินรสกำานรักเงกาี่ยนปวลกัดบกงราะนทชรว่วงยเกอษำตนรแวลยะกสาหรกแรลณะ์ (AทcรtiัพoยnาPกlรaบnุค) คปลระแจลำะปจี ัพดทร้อำแมผทนั้งนปำฏแิบผัตนิกสาู่กราร(Aปcฏtิบioัตnิ
โดงยาในหเ้บลรขิกานารุกราะรบสบำนสัากรงบานรรปณลัดวกิเรคะรทาะรวหง์ เตกรษวตจรสแอลบะ ติดPlตaาnม)แปลระะปจรำปะเี มพินรอ้ผมลทกงั้านรำวแาผงแนผสนู่กาอรัตปรฏาิบกตัำลิ ตังิดกตารม
กลสั่นหกกรรอณงแ์ โลดะยสใรหุป้บเรื่อิกงานรำรเะรบียบนสผาู้บรรบิหรารณพิจวาิเรคณราสะั่งห์ ปรแบัลปะปรุงรโะคเรมงินสผรล้างกกาารรวแาบงแง่ งผานนอภัตารยาใกนำขลอังงสกว่านรปรารชับกปารรุง
กาตรรวปจรสะอสบานกแลั่นะจกัดรอกงิจแกลระรสมรเกุปี่ยเรวื่อกงับนงำาเนรพียนระผรู้บารชิหพาิธรี กาโรคปรรงับสปร้ราุงกาารรกแำบห่นงงดาตนำภแหายนใ่งนแลขะอกงาสร่วปนรระเามชินกผาลร
รัฐพพิจิธาี รแณละางสาั่งนกพาิรธี ปรวรมะทสัา้งกนิจแกลระรจมัดพกิเิจศกษรใรนมภเากพี่ยรววกมับ งากนารเปพรื่อับเปลรื่อุงนกราะรดกัำบหสนูงดขตึ้นำแกหานรส่งแรลรหะกาแารลปะรบะรเรมจินุ
ของงากนรพะรทะรรวางชแพลิธะี วรันฐสพำิธคี แัญละเชง่นานกพาิธรี จรัดวงมาทนั้งพกริจะกรรารชม แตผ่งลตงัา้งนงาเพนื่อทเะลเื่อบนียรนะปดรับะสวูงัตขิแึ้นละกบารำสเหรนรห็จาคแวลาะมบชรอรบจุ
พิธพีพิเืชศมษงใคนลภจารพดรพวรมะขนอังงคกัลรแะรทกนรวางขแวลัญะวกันารสจำัดคงัญานเวชัน่น งาแนตส่งวตัสั้งดงิกาานรทและะเบนียันนทปนราะกวาัตริแรลวะมบทำั้งเกหานร็จดคำวเนามินชกอารบ
เกกษาตรรจแัดหง่ ชานาตพิแรละะรวาันชสพถิธาปีพนืชามกงรคะลทจรวรงดเพกษระตนรแังลคะัล ทางางนวิสนวัยัสดกิกาารรสแืบลสะวนนนั ขท้อนเาทก็จาจรรริงวมอทุ ้งั ธกราณรด์ รำ้อเนงินทกุกาขร์
สหแกรรกณน์ ารขวมวัทญั้งกกาารรใจหั้บดรงิกานารวแันลเะกอษำนตวรยแคหว่งาชมาสตะิดแวลกะ แลทะากงวาินรจัยัดกทาำรคสำืบสสั่งวเนกขี่ย้อวเกทับ็จจกราิงรบอรุทิหธารรณง์ารน้อบงุคทคุกลข์
ในวกันาสรใถหา้บปรนิกาากรรหะ้อทงรปวรงะเชกุษมตมรีผแลลกะาสรหดกำเรนณิน์ งราวนมใทนั้ง โดแยลผะลกการาจรัดทำำเนคิำนสงั่งาเนกใี่ยนวภกาับพกราวรมบคริหดาเรปง็นานร้อบยุคลคะล
ภากพารรวมใ หคดิ ้ บเปรน็ ิ กรอ้ายรลแะล1ะ0อ0ำ.0น0ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น 99โ.ด00ยผลการดำเนินงาน ในภ า พรว ม คิดเป็ น
รอ้ ยละ 99.00
การให้บริการห้องประชุม มีผลการดำเนินงาน
ในภาพรวมคดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00
กจิ กรรมย่อย : การบรหิ ารงบประมาณ งานพัสดุ และบริหารการเบิกจา่ ย
ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การบริหาร การเบิกจ่ายงบประมาณ
การบริหาร ด้านพัสดุ การดำเนินการตามระบบ GFMIS การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธี E-Auction การจัดทำต้นทุน
ต่อหน่วยผลผลิต และการแก้ไขปัญหางบการเงินของจังหวัด มีผลการดำเนินงานในภาพรวม คิดเป็น
ร้อยละ 99.11
30
กิจกรรมยอ่ ย : การบรกิ ารเผยแพร่และประชาสัมพันธด์ ้านการเกษตร
1. การจัดท าแผนประชาสัมพันธ์ประจ าปี และการติดตามประเมินผลการประชาสัมพันธ์
ดำเนินกิจกรรมภายใต้กลไกของคณะกรรมการบริหารการประชาสัมพันธ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งมี
นายฉนั ทานนท์ วรรณเขจร โฆษกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ประธาน ประกอบดว้ ย
1) การจัดทำแผนประชาสัมพันธ์สรา้ งการรับรู้ 2) การสำรวจการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของ
งานตามนโยบายสำคัญและภาร กิจ ประชาชนที่มีต่อประเด็นสื่อสารสำคัญของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่สอดคล้องกับ งบประมาณ พ.ศ. 2565 จากกลุ่มตัวอย่าง
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ทั่วประเทศ 2,671 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง
มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารประเด็นสื่อสาร
สำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.4
2. งานผลิตและเผยแพร่ส่ือประชาสัมพันธ์
1) จัดทำสรุปและวิเคราะห์ข่าวสำคัญ
ประจำวัน (News Clipping)
เพื่อเสนอผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เป็นประจำทุกวัน โดย
รวบรวมข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ข่าว
เพจข่าว เพอ่ื ติดตามผลการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์
ขา่ วสารขององคก์ ร
2) ผลิตและเผยแพรข่ า่ วประชาสมั พันธ์
ผลิตและเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับ
นโยบาย แผนงาน/โครงการ และกิจกรรมสำคัญ
ของผู้บริหารกระทรวงเกษตรฯ ผ่านสื่อมวลชน
ทุกแขนง และเผยแพร่ทางเว็บไซต์ กระทรวง
เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ (www. moac. go. th)
Facebook ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก รณ์
Application ระบบแจ้งข้อมูลข่าวสารการบริหาร
ภาครัฐ (G-news) เป็นต้น โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ได้ผลิตข่าวประชาสัมพันธ์ จำนวน
641 ข่าว ได้รับการเผยแพร่ผ่านช่องทาง
หนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ (เว็บไซต์ข่าว เพจข่าว)
จำนวน 12,550 ช้ินงาน
31
5) สื่อวิทยุ 3) จัดทำและเผยแพร่จดหมายขา่ วเกษตรและ
สหกรณร์ ายเดือน
5)ผลสิตอ่ื รวาทิ ยยกุ ารวิทยุ “ชุมชนฅนเกษตร” จัดส่งให้กับ
รสสสกตวถหถิจ่สตสรขามาากวกถำงา่่าถนนมรงคราวึงๆีรวถกๆณนัผสญอมิทึงาีวงลขา์รตกสรขยคิทรอิวตณัวาำุกอ์คดยงมรอรครสวง์ขุก้าาถดยัญะาถสยรน่าึำ่างจมาะกถกวงตเกานรนจเสาาาัวยากู้กีาิรรนานจอรเษายดสวรงำเรยีตเดกิำทีายนเส่าจรกเนษ้งายวีนยงกำษเนนขตเุพงรินนกต“กอเรผื่อ5พงษชรวางู้ป3ากทื่กนอรุนมตนราเ่ีเรกครโชะปกรขยะารก5นสเษน็อทร้งับกร3บฅงตเปษผราโกคนกดรรวยคูต้ปษวรเะยงกรรนาระตโเนโมษยกะัทโคร้เงำยชสผสษตรรเเสบนำยบโวรตงผเนดแ์าก”งรคยรเพยอยจ็าแแวกจสรรนลพาษโรัดถ่ชมคะรำวตกาส่อสสร่ชมเนริจ่งงงสหำถ่อแกใทกกเนึงงกหลราาารอทร็อรจ้ะกรงรงาณณับคมง์์์ โดยรวบรวมข่าวสารด้านนโยบาย/โครงการ/งาน/
ความรู้การเกษตรที่เป็นประโยชน์ กิจกรรม ผลการดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ที่สำคัญ และการจัดการองค์ความรู้ (KM)
6) สอื่ วดิ ีทัศน์ ในรอบเดือน เผยแพร่ผ่านช่องทางเว็บไซต์กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ (www.moac.go.th) รายเดือน
ผลิตสื่อวีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร
ด้านการเกษตรและกิจกรรมสำคัญ และนำเสนอผล 4) ส่อื โทรทศั น์
การดำเนินงานในโอกาสต่าง ๆ รวมถึงการสรุปภาพรวม
บทบาทหน้าที่ ภารกิจ การดำเนินงานของกระทรวง ผลิตรายการโทรทัศน์ “เกษตรสาร” เพื่อนำ
เกษตรและสหกรณ์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
ช่อง NBT กรมประชาสัมพันธ์ ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 4
ของเดือน ระหว่างเวลา 05.30 - 05.55 น. จำนวน
12 ครั้ง โดยนำเสนอสถานการณ์ข่าวสาร
ด้านการเกษตร นโยบาย โครงการ กิจกรรมสำคัญ
การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รวมถึงตัวอย่างเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จ ตลอดจน
องค์ความรู้ด้านการเกษตร
7) สอื่ อิเล็กทรอนิกส์
จัดทำข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมสำคัญของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง
เว็บไซต์ ได้แก่ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น
ผ่านทางเว็บไซต์กระทรวงเกษตร และสหกรณ์
www.moac.go.th
32
3. ก า ร ถ่ า ย ภ า พ เ พื่ อ ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ แ ล ะ
ประชาสัมพันธ์
3. กงาารนถผ่าลยติ ภแาลพะปเรผะยกแอพบรดง่ ้วายนผลติ และเผยแพร่
ตนแน2กลา่โา.โยกะงยรบกบาป12ๆาจิรก)า)รยกถยขาะกกขรรขอ่ชาาารอถองรยามรงา่หถงสตภผถยผน่าัม่าู้บ่าภาบู้ยงว่พรพยาภรยๆิหันพภวิหงาาธรปาีพาดารวน์หรรพนีโมงะรอวิ่งงถากือาเกีนึงดพอกนกาแีโบื่อิจาแรถอรกดกถลลถกาว้รลงงา่ารยรขงพยรปมข่าทื1ล้นร่าวตอ.วะงก่ทาดถพชงาสถี่า่ตาๆรื้ดยนา่ สิถดยสขทัม(่าตสาLอยพี่รตาiางvภคนัริมดหeาดคธงตนพีด์หSาตา่วนีtรนลมrย่ิงือeตองงเกaพดาาาิmจนจมื่อนกนiตnรงราgามน)ม
3) การให้บริการภาพถ่ายและวีดีโอแก่ผู้ที่มาขอรับ
บริการ
4) การนำเสนอภาพนิ่งและภาพวีดีโอเผยแพร่
ทางเว็บไซตแ์ ละส่อื โซเซยี ลมเี ดีย จำนวน 960 ครั้ง
4. การผลิตงานศิลปกรรมเพื่อการเผยแพร่และ 5. การบรกิ ารโสตทศั นปู กรณ์
4ป.ระกชาาสรัมพผันลธ์ิ ต ง า น ศิ ล ป ก ร ร ม เ พ่ื อ
อ อกก แารบเบผแยลแะพจรั ด่แทลำะสปื ่ อรสะชิ ่ งาพสิ มัมพพ์ เันพธื ่ อ์ ก า ร ให้บรกิ ารอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ รวมถึงติดตั้ง
และควบคุมเครื่องเสียงในการจัดงานหรือกิจกรรม
ประชาสอัมอพกันธแ์แบลบะเแผลยแะพจรั ด่ข่าทวำสสารื ่ อตสลอิ ่ งดพจนิ มจพัดท์ เำพสื่ อ่ื ต่าง ๆ ตลอดจนการแถลงข่าวและการประชุม และ
ประกชาารสปัมระพชันาธส์เัมพพื่อันใธช์แ้ตลกะแเตผ่ยงเแวพทรี ่ขห่า้อวงสปาระตชลุมอดหจรนือ บำรงุ รักษาอปุ กรณ์ จำนวน 60 ครงั้
สถาจนัดทที่รำาสชื่อกปารระรชวมาสถัึมงอพอันกธแ์เบพบื่อแใลชะ้ตจกัดแอตง่งคเ์ปวทระี หกอ้ บง
ภาพปขรา่ ะวชเุมพอื่หกรืาอรสปถราะนชทาี่รสาัมชพกันาธร์ จรวำมนถวนึงอ4อ2ก0แบช้นิบงแาลนะจัด 6. งานโฆษกกระทรวง
องค์ประกอบภาพข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์ จำนวน งานโฆษกกระทรวง สนับสนุนภารกิจตาม
420 ชิ้นงาน มติที่ประชุมคณะกรรมการโฆษกกระทรวง การจัด
ประชุมคณะกรรมการบริหาร การประชาสัมพันธ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำเนินการ
ตามมติที่เกี่ยวข้องอาทิ การจัดแถลงข่าวสำคัญ
การรายงานผลการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การบริหารจัดการ
ชี้แจงข่าวเชิงลบ และรายงานผลการชี้แจงข่าว
เชงิ ลบของกระทรวงเสนอผู้บรหิ าร เปน็ ต้น
33
7. ว า ร ส า ร ส า นัก ง า น ป ลัด ก ร ะ ท ร ว ง
เกษตรและสหกรณ์ (POPS)
ผลิตวารสารสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ (POPS) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของ
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมถึง
รณรงค์วัฒนธรรมองค์กรให้กับบุคลากรทั้งส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาค จำนวน 6 ครั้ง โดยเผยแพร่ผ่าน
เว็บไซต์สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
www.opsmoac.go.th และ LINE Official: MOAC
Library
8. งานห้องสมุดกระทรวงเกษตรและ 9. ศู น ย์ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ท า ง ร า ช ก า ร
สหกรณ์ สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
ให้บรกิ ารแก่บคุ ลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สหกรณ์
และประชาชนได้ใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูล
ทางด้านการเกษตรและความรู้ทั่วไป มีทรัพยากร พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
สารสนเทศให้บริการกว่า 14,000 รายการ มีผู้เข้าใช้ มาตรา 9 กำหนดใหห้ นว่ ยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูล
บริการห้องสมุด 3,326 คน การเข้าใช้บริการเว็บไซด์ ข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ทั้งนี้
ห้องสมุด 2,584 ครั้ง และเพิ่มช่องทางการให้บริการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการข้อมูล
ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดฯ เพื่อเผยแพร่ ข่าวสารของราชการกำหนด เก่ียวกบั การเปดิ เผยข้อมูล
ข้อมูลความรู้และ E-Book ผ่านแอปพลิเคชัน LINE การประกวดราคา ประกาศสอบราคา และการจัดซ้ือ
ในชอ่ื LINE Official: MOAC Library จดั จ้างของหน่วยงานราชการ มจี ำนวนผเู้ ขา้ ชมเว็บไซต์
ของศูนยข์ อ้ มูลขา่ วสารฯ ทง้ั สิ้น 1,460 ครัง้
กิจกรรมยอ่ ย : การบรหิ ารงบประมาณ งานพัสดุ และบรหิ ารการเบกิ จ่าย
ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การบริหาร การเบิกจ่ายงบประมาณ การบริหาร
ด้านพัสดุ การดำเนินการตามระบบ GFMIS การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธี E-Auction การจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
และการแก้ไขปัญหางบการเงินของจังหวัด มีผลการดำเนินงานในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 99.11
34
1. การสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ปี 2565
กจิ กรรมกยารอ่ สยรร:หากปราารชพญัฒ์เกษนตารเกขอษงตแผร่นกดรินตมาีม4แสนาวขทา าไงด้แปกร่ ชัสญาขาาปเศรารชษญฐ์เกกษจิ ตพรผอู้ทเพรงียภงูมิปัญญาและ
มีคุณูปการตก่อาภราสครกรารหเากปษตรราไชทญย ์เสกาษขาตปรรขาอชงญแ์เกผษ่นตดรเินศรปษีฐ2กิจ5พ6อ5เพมียี ง4สสาาขขาาปรไาดช้แญก์เ่กสษาตขราดปีเดร่นาชสญาข์เากปษรตาชรญ์
เกษผตู้ทรรผงู้นภำูมชิปุมัญชญนาแแลละะเมคีครืุอณขูป่ากยารโตด่อยภคาณคะกการรเกมษกตารไสท่งยเสสราิมขปารปารชาญชญ์เก์เกษษตตรรขเอศงรแษผฐ่นกดิจินพอไเดพ้จียัดงใสหา้มขีกาาปรรปาชระญช์ ุม
คณเะกกษรตรมรดกเีาดร่นส่งสเสาขริมาปราชญเ์ กษตรผขูน้อำงชแุมผ่นชนดแินลมะีมเตคิทรือี่ปขระ่ายชุมโคดณยคะณกระรกมรกรมารกฯารคสร่ง้ังเสทร่ี 1ิม/ป2ร5า6ช5ญเเ์ มกื่อษวตันรพขฤอหงแัสผบ่นดดีทินี่ 21
มนี าใคนมคร2า5ว6ป5ระคชัดุมเลคอื ณกะแกลระรแมตก่งาตรงั้ ฯเปคน็ รปั้งรทาี่ ช1ญ/2์เก5ษ65ตรเขมอื่ งวแันผพน่ ฤดหนิ ัสบปดระีทจี่ ำ2ป1ี 2ม5ีน6า5คมจำ2น5ว6น53มสีมาตขิคาัดดเลงั ือนก้ี และแต่งตั้ง
เป็นปราชญเ์ กษตรของแผน่ ดิน ประจำปี 2565 จำนวน 3 สาขา ดังนี้
1 นายอเนก สีเขยี วสด 2 นายสงวน มงคลศรพี ันเลศิ
ปราชญเ์ กษตร ผทู้ รงภมู ปิ ญั ญา ปราชญเ์ กษตรเศรษฐกจิ พอเพียง
และมคี ณุ ปู การตอ่ ภาคการเกษตร
ไทย
3 นายสุพจน์ สิงหโ์ ตศรี ปราชญ์เกษตรดเี ด่น
ทั้งนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดสรรเงินทุนเกียรติยศแก่ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน
ท่านละ 50,000 บาท พร้อมทั้งได้จัดทำประวัติผลงานปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน เผยแพร่ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เพอ่ื ใหม้ ีการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ประสบการณแ์ ละความสามารถของปราชญ์เกษตรของแผ่นดนิ ส่สู ังคม
35
กิจกรรมยอ่ ย : การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สถาบันเกษตราธิการได้พัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยการจัดฝึกอบรมในชั้นเรียน
จัดฝึกอบรมแบบ Online การจัดสรรทุนการศึกษา สัมมนาดูงานในประเทศ รวมทั้ง การเผยแพร่ความรู้
ในรูปแบบของสื่อวดิ ีทศั น์ มผี ลการดำเนินงานสรุปไดด้ งั นี้
การพัฒนาบคุ ลากรด้วยการจัดฝกึ อบรม
การพัฒนาบุคลากรด้วยการจัดฝึกอบรม มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่บุคลากรเริ่มบรรจุ
เข้ารับราชการใหม่การก้าวเข้าสู่ตำแหน่งผู้บังคับบัญชาและตำแหน่งผู้บริหาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหาร
จัดการ ภาวะผู้นำ คุณธรรมและจริยธรรม การเสริมสร้างสมรรถนะหลักที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด สมรรถนะประจำ
สายงาน ความรู้ และทกั ษะท่จี ำเป็นในการปฏบิ ตั งิ าน จำนวน 13 หลักสตู ร 26 รุน่ 2,546 คน ดงั นี้
1. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พั ฒนาและส่ งเสริม 2. ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที่ 2 ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า
บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มี ค ว า ม เ ป็ น มื อ อ า ชี พ เ พ่ื อ บุคลากรในการเป็นผนู้ าการเปลย่ี นแปลง
พั ฒ น า แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ จำนวน 4 หลักสูตร 16 รุ่น 1,657 คน ได้แก่
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการ
สหกรณ์ เกษตรและสหกรณ์ ระดับต้น รุ่นที่ 53 – 60,
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารการพัฒนา
จำนวน 3 หลักสูตร รวม 172 คน ได้แก่ โครงการ การเกษตรและสหกรณ์ ระดับกลาง รุ่นที่ 100 – 103,
สัมมนาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลกระทรวง โครงการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารการพัฒนา
เกษตรและสหกรณ์ : กรอบวิธีคิดเพื่อนำการเปลี่ยนแปลง การเกษตรและสหกรณ์ ระดับสูง รุ่นที่ 80 – 82 และ
( Mindset for HR) ใ น ร ู ป แ บ บ online, โ ค ร ง ก าร โครงการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารระดับสูง
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การออกแบบและ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รุ่นท่ี 5
ผลิตสื่อมัลติมีเดียเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้วยสมาร์ทโฟน
และโครงการฝึกอบรมหลกั สตู ร เตรยี มความพร้อมเข้าสู่ 3. ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที่ 3 ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า
ตำแหน่งเกษตรและสหกรณ์จังหวัดและผู้อำนวยการ
สำนักงานท่ีปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ร่นุ ท่ี 2 เครอื ข่ายดา้ นวชิ าการและความเปน็ เลศิ
ในดา้ นการเกษตรต่างประเทศ
จำนวน 1 หลักสูตร 49 คน ได้แก่ โครงการ
ฝึกอบรมหลักสูตร ความรู้ความเข้าใจองค์การระหว่าง
ประเทศและการเกษตรตา่ งประเทศ รุ่นท่ี 8
36
4. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 เพ่ิมประสิทธภิ าพระบบ 5. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสริมและพัฒนา
การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ชอ่ื มโยง บุคลากรให้มี คุณธรรม จริยธรรม และ
กบั การพัฒนาบคุ ลากร คณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี
จำนวน 4 หลักสูตร 291 คน ได้แก่ โครงการสัมมนา จำนวน 1 หลักสูตร 2 รุ่น 376 คน ได้แก่
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการความรู้ : คิดอย่างมี โครงการฝึกอบรมหลักสูตร การเป็นข้าราชการที่ดี
ตรรกะ เพื่อชยั ชนะและความเป็นเลิศในงาน ในรปู แบบ สำหรับข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการรนุ่ ท่ี 42 – 43
Online
ปัญหาและอุปสรรค
1. โครงการที่ดำเนนิ การจัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จะเป็นการดำเนินงานผา่ นระบบออนไลน์ เนื่องจาก
ยังอยู่ในช่วงสถานการณ์ โควดิ - 19 ทำใหบ้ างโครงการไมส่ ามารถดำเนินกจิ กรรมการตามแผนงานท่ไี ด้กำหนดไว้
2. อุปกรณ์และเครื่องมือในการจัดโครงการผ่านระบบออนไลน์ไม่เพียงพอเมื่อมีการใช้งานพร้อมกัน
หลายโครงการ
3. ระบบการสือ่ สารยงั ไม่ค่อยเสถียร ทำให้บางครงั้ ในการจดั โครงการไมค่ อ่ ยราบรน่ื เท่าทค่ี วร
4. เจา้ หน้าที่และบคุ ลากร ยังไมค่ อ่ ยชำนาญในการใช้งานอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการจัดโครงการผ่านระบบออนไลน์
กจิ กรรมยอ่ ย : การอำนวยการด้านกฎหมาย
กจิ กรดรำเมนยินกอ่ ายรย:กร่ากงากรฎอหมาานยวแยม่บกทาแรลดะ้าอนนุบกัญฎญหัตมิทา่ีอยอกตามความในกฎหมายแม่บท พิจารณา ตรวจกฎหมาย
ตแเรพดตใกนะลาำริจดกตสปดรี่ยฐเมเวะาบ่าน้าาหฎำารวจกเรงมนนเีลยะินกหกสฎณกนกกบขกะักบอรมหฎินาฎอผาฎาณบนามหคคนกู้แบรหหยยิตา์ำมำดอทุากกมมรกยิสกฟารื่ำนารนาา่าวรตั่งรยตรเ้อะรทยสยม่าน่ารขตรพเงตแำงี่งเเมบินตอว่ากปนแิอจๆลคตงีจงยากี่ยลาบักะ็นคำมาสมบราวะรงๆขกรมณทณรอผีกาะแ้อ้อรคสยนลี่ไบใเับะกาหรงบดนัำญกกปกเแ้คไมา้รสีสยฐขราหรลลญวรกบั าับร่น่งาสรรัดาะือนาดามงมตัืญอมอตกแตรำกะอกา่ คครพรอลอญแเผฎบงานับะวำบะิบจลู้แารหหทใาินๆผใขาะขแหทหหมมมรงิดร้อเล้อรรน้กาว้คาเลณาทหื่อาะหหนงยาสยวขางานาเคร็ในาำาแกางหตรเนใณิตรมนสลแนมษือนรรภือิกเักนะละืุ่อวเบกตหคาแรกงเทะจอพราดทพ็นมราลี่ยสดำแเริจีมแินเดรแกะวงอลขกำาวลตขลปกาีใ่ยเบะีอ่ยรมหะน่นาอะับลวสณวงยงด้งคตอิกันดนคหคกกๆเาำ่าวนับกิดจิกตับณกรคเงาุรเบ้พานกาา่ิกรกำปมะะหงรณๆาริัฟินจญฎน็กเแทอรรนาห้กอห์ ญรลเรมอืร่รนแ้าพงา็นม้อระวณนตทัลตทรื่อมยาแเงคาุะญเี่ิแกทาีย่เเลพกกกำมผกกใลี่ยีาะ่รอ้ไาีิจ่หยสู้แรษีะ่ขยต้วอรอาวัะญ้คท1ดตสวก/งหรกกเ0วนอำญักรญบัณบรหัตบา0เแกนับียือานกญม.าารคลร0ุมบคคฎปิืมนอเาะดพะ0หัตวณครแหคกทีสคิจ็นิาตะำลดาวมรหำะามเใปาระำาวสารดทกหมรเเนมรงณยั่งก็นรนำ้กับเกะิตใกณี่ยงดาิรานนรกฎผกิ าษเวร่ว้าะ์กอกิสดหรนใกนมตแเาบรนฎนทมบตับรปลกรมกคอหาาแี่ยาะฎวตรตาเยดงลมงิผะธบรหก่ารลแีแะีชปาู้วแี่ยงพมๆะลลสคยจุมทฏวาิจเะๆะหำแสชกมนเิยบาดรสพกอมี้แับิกพรัตดะำั่ตรงืบ่จ่อบณกริริเจขเณางนเบพะาทาราอาสมทรินช์่ีวรยิจแรงนทรอณกพมกรบา่เาล่วอี่ไนจวาางรปิจตะมาดค้งรการุญณใาตร่เา้รเทวเหหฎประกงกัอาบาาาน้คห็นณๆชตษี่ยบปมมงว้กมา/ุมวตขปาอรเราอทรหกาชตระ้บอก่มานรยับี็่แนแี้เรแหงหคเมตดุมหคลวหลแจารมก่า็นัตดจะน็งะลรรอางาิีืืออะๆงยร
ดำเนินการเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ มีผลการดำเนินงานในภาพรวม คิดเป็น
รอ้ ยละ 100.00
37
กจิ กรรมยอ่ ย : ดาเนินภารกจิ ดา้ นการเกษตรต่างประเทศ
กลมุ่ ความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ 1
(พหภุ าคแี ละองคก์ ารระหวา่ งประเทศ)
1. การประชมุ คณะกรรมการประสานงาน
กั บ อ ง ค์ ก า ร อ า ห า ร แ ล ะ เ ก ษ ต ร แ ห่ ง
ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ แ ล ะ ก า ร เ ก ษ ต ร
ต่างประเทศ ครัง้ ท่ี 1/2565
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 ดร. ทองเปลว
กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นประธานที่ประชุม พิจารณาร่างกรอบความร่วมมือ
ไ ท ย - FAO Country Programming Framework
ฉบับปี 2565-2569 และท่าทีประเทศไทยสำหรับ
การประชุม FAO Regional Conference for Asia and
the Pacific สมัยที่ 36 ระหวา่ งวันท่ี 8-11 มนี าคม 2565
2. CIRDAP ดังกล่าว เพื่อเร่งดำเนินการพัฒนาชนบทเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในปี พ.ศ. 2573 และ
การประชุมระดับรัฐมนตรี The 23rd CIRDAP ได้มอบเหรียญรางวัลเชิดชเู กียรติ Aziz-Ul Haq Rural
Governing Council (GC-23) ผ่านระบบการประชุม Development Medal ให้แก่ 1) สมเด็จพระกนิษฐา-
ทางไกล ( Zoom Meeting ) เมื่อวันที่ 21 เมษายน ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม-
2565 โดยมีนายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ บรมราชกุมารี 2) อดีตผู้อำนวยการใหญ่ CIRDAP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน และผู้แทน ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2481-2563 3) Bangladesh Academy
จากประเทศสมาชิก CIRDAP จาก 13 ประเทศ for Rural Development ( BARD) บ ั ง ก ล า เ ท ศ
(อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา ปากีสถาน เนปาล 4 ) Food and Agriculture Organization of the
อหิ ร่าน เวียดนาม ฟิลิปปนิ ส์ ลาว อินโดนเี ซยี มาเลเซยี United Nations (FAO), อิตาลี
เมียนมาร์ และฟิจิ) เข้าร่วมการประชุม ซึ่งเป็น
การประชุมสืบเนื่องจากการประชุมระดับเจ้าหน้าท่ี
อาวุโส CIRDAP ครัง้ ท่ี 33 เมื่อวนั ท่ี 19 เมษายน 2565
ที่ประชุมได้มีการหารอื และรบั ทราบผลการดำเนนิ งาน
นอกจากนี้ มีการพิจารณาเห็นชอบกำหนดให้
วันที่ 6 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวัน World Rural
Development Day เพื่อสร้างการรับรู้การพัฒนา
ชนบทของประเทศกำลังพัฒนา และการเรียกร้อง
ให้ท่ัวโลกให้ความสนใจ และตอบสนองต่อประเด็น
38
3. กิจกรรมการดาเนินงานระดับโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืนภายใต้โครงการหน่ึง
ประเทศหนึ่งผลิตภัณฑ์ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟกิ (The Global Action on Green
Development of Special Agricultural Products: “ One Country One Priority
Product” (OCOP) FAO Regional Office for Asia and the Pacific)
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 ดร.เฉลิมชัย
ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เขา้ รว่ มกล่าวสนุ ทรพจน์ นำเสนอ“พชื ผัก
สมุนไพร” เป็นตัวอย่างการพัฒนาสินค้าเกษตร
SAP โดยการนำ BCG Model เข้ามาร่วมพัฒนา
ในด้านเศรษฐกิจรากฐานชีวภาพ เน้นใช้วัตถุดิบ
หลากหลายผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริม
การผลิตที่มีมาตรฐาน GAP การวิจัยและพัฒนา
นอกจากนี้ การปลกู พืขผักสมุนไพรยังช่วยอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ และการสนับสนุน
การรวมกลุ่มของเกษตรกร สร้างความเข้มแข็ง
ให้กับชุมชนและสร้างความมั่นคงทางอาหารและ
โภชนาการ
4. APEC 39
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565 ดร.วนิดา สัมมนาประกอบด้วย 14 เขตเศรษฐกิจเอเปค
กำเนดิ เพช็ ร์ ผอู้ ำนวยการสำนกั การเกษตรต่างประเทศ หน่วยงานจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หอการค้า
ได้รบั เชิญจาก APEC Host Country เป็น Moderator ไ ท ย ม ู ล น ิ ธ ิ ช ั ย พ ั ฒ น า ASEAN Food Security
ในงานเสวนา APEC 2022 SCE Policy Dialogue : Information System (AFSIS), ธนาคารพัฒนาเอเชีย
Understanding the Bio- Circular- Green Economy ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve
Model for Strong, Balanced, Secure, Sustainable บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) และ
and Inclusive Growth in the Asia- Pacific ใ น บรษิ ัท ลอ็ กซเล่ย์ จำกัด (มหาชน)
Session : Agriculture and Food Systems โดยมี
ผู้แทนเขตเศรษฐกิจเอเปคและองค์การระหว่าง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ดร.วนิดา
ประเทศ จากประเทศไทย ออสเตรเลีย จีน และองค์กร กำเนดิ เพช็ ร์ ผู้อำนวยการสำนักการเกษตรต่างประเทศ
OECD เขา้ ร่วมเป็น panelist พรอ้ มด้วยผูแ้ ทนสำนักการเกษตรตา่ งประเทศ เข้าร่วม
การประชุมรัฐมนตรีความมั่นคงอาหารเอเปค ครั้งที่ 7
เมื่อวันที่ 23-24 พฤษภาคม 2565 ผู้อำนวยการ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแสดงเจตนารมณ์ด้านความมั่นคง
สำนักการเกษตรต่างประเทศ ได้รับเชิญเป็น panelist ทางอาหารร่วมกันของรัฐมนตรีความมั่นคงอาหาร
ในงานเสวนา “Sharing good practices on Sustainable เอเปค ผลกั ดนั การดำเนินงานเพื่อส่งเสรมิ ความร่วมมือ
Agricultural Development through the Principle of ด้านความมั่นคงอาหารในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
Sufficiency Economy Philosophy” จัดโดย สำนักงาน รวมถึงการหารือเกี่ยวกับนโยบาย ตลอดจนแนวทาง
เศรษฐกิจการเกษตร ณ โรงแรมพูลแมน คิงพาวเวอร์ ในการรับมือกับประเด็นท้าทายต่าง ๆ โดยที่ประชุม
ร า ง น้ ำ โ ด ย ไ ด ้ ก ล ่ า ว บ ร ร ย า ย ใ น Sustainable มีการพิจารณาเอกสารผลลัพธ์ 2 ฉบับ ได้แก่ ปฏิญญา
Development Goals ( SDGs) Indicator 2. 4. 1 ความมั่นคงอาหารเอเปคประจำปี 2565 และ
Sustainable Agriculture โดยได้นำเสนอโครงการ แผนปฏิบัติการภายใต้แผนงานความมั่นคงอาหารมุ่งสู่
Technical assistance for measuring and monitoring ปี ค.ศ. 2030
progress towards select sustainable development
goal: sustainable agriculture (SDG) indicator 2.4.1
ซึ่งประเทศไทยดำเนินการร่วมกับ FAO โดยผู้เข้าร่วม
ภมู ภิ าคเอเซยี 40
การประชุมหารือระหว่าง รัฐมนตรีว่าการ การหารือระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับรัฐมนตรี เกการษหาตรืรอรแะลหวะ่าสงหรัฐกมนรตณรีว์ ่ากกับารรกัฐระมทรนวตงเกรษีวต่ารกแลาะร
กสหรกะรทณร์วกงับเรกัฐษมนตตรรีวป่า่ากไามร้กแรละทะปรวรงะเมกษงตญร ป่ีป่าุนไม้ และ
ด้านการค้าระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอาหรับ ประมงญเปี่ มุ่นื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2565 ดร.เฉลิมชัย
ศรีอ่อน รัฐมนเตมรื่อีวว่าันกทารี่ 5กรพะฤทษรวภงาเคกษมต2ร5แ6ล5ะสดหรก.เรฉณลิ์มแชลัยะ
เอมิเรตส์ นศราีอย่อเกน็นรจัฐิโมรนคตารเีวนา่ โกกาะรกรรัฐะมทนรวตงรเีวก่าษกตารรแกลระะสทหรกวรงณเก์ แษลตะร
ปนา่ ยไมเก้ ็นแจลิโะรปคราะเนมโงกญะี่ปรุ่นฐั มไนดต้หราีวร่ากือาปรรกะรเะดท็นรควงวเากมษรต่วรมปม่าือ
เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2565 ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน ดไม้า้ นแลกะาปรรเะกมษงตญรี่ปรุ่นะหไดว้ห่าางรสืออปงรปะรเดะ็นเทควศามเพร่วื่อมผมลือดัก้าดนัน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หารือ การสเก่งษอตอรกรสะินหคว้า่าเงกสษอตงรปไรทะยเทสศ่งเเสพรื่อิมผคลวักามดรัน่วกมามรืสอเ่งกอษอตกร
ด้านความร่วมมือด้านการเกษตร ร่วมกับ ดร. ธานี บิน อสัจินฉคร้าิยเกะษรตวรมไททั้งยร่วสม่งเเสสรริมิมสครว้าางมกรา่วรพมมลืิกอโเกฉมษรตะรบอบัจอฉารหิยาะร
อาเหม็ด อัล เซยูดี (H.E. Dr. Thani bin Ahmed Al ขรวอมงทไทั้งยร่วแมลเะสญริมี่ปสุ่นร้าเงพกื่อาครพวาลมิกยโฉั่งมยืรนะสบอบดอคาลห้อางรกขับอโงมไทเดยล
Zeyoudi) รัฐมนตรีด้านการค้าระหว่างประเทศแห่งสหรัฐ กแลาระพญัฒี่ปุ่น าเเพศื่อรคษวฐากมิยจั่งชยีวืนภสาอพดคเศลร้อษงกฐับกโิจมหเดมลุนกเาวรียพนัฒแนลาะ
อาหรับเอมิเรตส์ ณ กระทรวงเศรษฐกิจแห่งสหรัฐอาหรับ เศรษฐฐกกจิ ิจสชเี ขีวียภวาพ(BCเศGรMษฐoกdิจeหl)มในุ ทเวป่ี ียรนะชแมุ ลระฐั เมศนรตษรฐวี กา่ ิจกสาีร
เอมิเรตส์ เมืองดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) โดยได้มี กเขรียะวทร(BวCงเGกษMตoรdแeลlะ) สในหทกี่ปรณระ์กชับุมรัฐรมวน.ตเรกีวษ่าตกราฯรกสรอะงทฝร่าวยง
การหารือในเรื่องการส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและ เแกสษดตงรคปวา่ ไมมย้ ินแลดะีทปี่กระามรหงญารี่ปือุ่นดแ้าสนดงเทควคานมิคยขินอดงีทกี่กาารปหราัรบือ
อาหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มุ่งหวังให้มี ดม้าตนรเทกาครนนิคำขเขอ้างมกังาครุดปแรลับะมสา้มตรเกพาื่อรอนำำนเวขย้าคมวังาคมุดสแะลดะวสก้ม
การผลักดัน/ส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและอาหาร เใพห้ืแ่อกอ่เำกนษวตยรคกวราขมอสงทะั้ดงสวอกงใฝห่า้แยกโ่เดกยษเตรร่งรกัดรใขหอ้สงาทมั้งาสรอถปงฝร่าับย
ระหว่างกันให้มากยิ่งขึ้น พร้อมที่จะร่วมมือและสนับสนุน โใดชย้ไดเร้ภ่งารยัดในหป้สีา2ม5า6ร5ถปนรอับกใจชา้ไกดน้ภี้าญยใี่ปนุ่นปไี ด2้5ย6ก5ระนดอับกคจวาากมน้ี
UAE ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการเป็นประเทศที่มี ญร่วี่ปมุ่นมไือดใ้ยนกกราะรดรับ่วคมวศาึกมษร่วาแมลมะือวในิจกัยาดร้ารน่ววมิชศาึกกษาารแเลกะษวติจรัย
ความมั่นคงทางอาหาร ภายในปี 2051 นอกจากน้ี ดรว้านมวทชิ ั้งาเกทาครโเนกโษลตยรีแรลวะมนทวงั้ ัตเทกครโรนมโเลกยษีแตลระนเพวัตื่อกเสรรมิ เสกรษ้าตงร
ยังหารือถึงการรับรองให้กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานหลัก เคพวื่อามเสยรั่งิมยสืนรข้าองคงกวารมผยลั่งิตยืสนินขอคง้ากเกาษรผตลริตแสลินะรคะ้าบเกบษอตารหแาลระ
ในการขึ้นทะเบียนรับรองโรงงานแปรรูปไก่ (system รเพะื่บอสบนอับาหสานรุนกเพาื่อรบสนรรับลสุเนปุน้าหกมาราบยรกราลรพุเปัฒ้าหนามทายี่ กั่งยารืนพคัฒ.ศน.า
approach) เพื่อการส่งออกไปยัง UAE แทนการส่ง ท20ี่ย3ั่ง0ยรืนวมคท.ศั้งย. ิน2ด0ีส3น0ับรสวนมุนทแั้งลยกินเปดลีส่ียนนับปสรนะสุนบแกลากรเณป์แลลี่ยะน
เจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบรับรองเป็นรายโรงงาน เนื่องจาก ปควราะมสรบูด้ ก้าานรกณาร์แพลฒั ะคนวาาผมลริตู้ดภ้าัณนฑก์สาินรพค้าัฒเกนษาตผรลใิตหภ้เปัณ็นฑท์สี่นินิยคม้า
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 ส่งผลให้ เแกลษะตครวใาหม้เตป้อ็นงทก่ีนาิยรขมอแงลตะลคาวดาใมนตป้อรงะกเาทรศขตอ่างอตาลหาาดรใขนอปงรโละเกทศ
การเดินทางมีความยากลำบาก โดยระบบน้ีจะทำให้เกิด ต่าง ๆ เพื่อเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการเสริมสร้าง
ความสะดวกและประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย ปัจจุบัน ความม่ันคงทางอาหารของโลก
การรับรองดังกล่าว กรมปศุสัตว์ของไทยได้การรับรอง
จากหลายประเทศแล้ว เช่น EU ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
เป็นต้น
บั น ทึ ก ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ว่ า ด้ ว ย ก า ร พั ฒ น า 41
เกษตรอัจฉริยะ ระหว่างกระทรวงเกษตร การหารือระหว่างรฐั มนตรีว่าการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีว่าการ
และสหกรณ์ กับกระทรวงเกษตร ป่าไม้ กระทรวงส่ิงแวดล้อม น้า และการเกษตร
แห่งราชอาณาจักรซาอดุ ีอาระเบีย
และประมงญปี่ ุ่น
เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565 ดร. เฉลิมชัย
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2565 ดร. ทองเปลว ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายอับดุลเราะห์มาน บิน อับดุลมุห์สิน อัลฟัฎลี
เข้าร่วมพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือว่าด้วย รฐั มนตรีว่าการกระทรวงส่ิงแวดล้อม นำ้ และการเกษตร
การพัฒนาเกษตรอัจฉริยะ ระหว่างกระทรวงเกษตร แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ได้หารือถึง
และสหกรณ์ กับกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมง ความร่วมมือด้านการเกษตร ในโอกาสเดินทางเยือน
ญี่ปุ่น ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เพื่อเป็นกลไก ประเทศไทยอย่างเป็นทางการครั้งแรก ภายหลัง
ในการขับเคลื่อนและส่งเสริมการพัฒนาด้านเกษตร การปรบั ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันให้กลับเป็นปกติ
อัจฉริยะในประเทศไทย ความสำเร็จของการลงนาม โดยสมบูรณ์ เมือ่ เดอื นมกราคม 2565 ทผี่ ่านมา ทัง้ สองฝ่าย
ความร่วมมือฯ เป็นผลจากการเยือนประเทศญี่ปุ่น ไ ด ้ ม ี ก า ร ห า ร ื อ ถ ึ ง น โ ย บ า ย Saudi Vision 2030
ของนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ของซาอุดีอาระเบีย และโมเดล BCG ของไทยที่มี
เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งได้มีการกล่าว ความสอดคล้องกัน โดยเน้นการเสริมสร้างเศรษฐกิจทีม่ ี
เน้นยำ้ กับนายกรัฐมนตรี นายฟูมิโอะ คิชิดะ (Fumio ความสมดุล รักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างความมั่นคง
Kishida) ถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร ทางอาหาร และเน้นการบูรณาการทรัพยากรธรรมชาติ
อัจฉริยะ ทำให้มีการเร่งผลักดันให้เกิดผลขึ้นโดยเร็ว ยึดหลักเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน
ซึ่งการลงนามความร่วมมือในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ เกษตรธรรมชาติ และวนเกษตร ฝ่ายไทยได้ผลักดัน
ต่อการพัฒนาภาคการเกษตรของทั้งสองประเทศ การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารปรุงสุกที่มีคุณภาพ
โดยจะพลิกโฉมระบบการเกษตรและอาหารให้ ไปยังประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเป็นตลาดที่มีศักยภาพ
รุดหน้าโดยเร็วและมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น สามารถ เนื่องจากมีขนาดใหญ่ ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้า
ตอบสนองตามแนวทาง BCG โมเดล และนโยบาย ที่มีคุณภาพและความปลอดภัย มีกำลังซื้อสูง และ
Thailand 4.0 ของไทย และยุทธศาสตร์ระบบอาหาร สามารถเป็นประตูไปสู่ประเทศ แถบตะวนั ออกกลาง
สีเขียว (MeaDRI) ของญี่ปุ่น โดยที่ทั้งแนวทาง BCG
โมเดล และยุทธศาสตร์ระบบอาหารสีเขียวของท้ัง
สองประเทศ ล้วนสอดคล้องตามเป้าหมาย
การพัฒนาที่ยง่ั ยืน (SDGs)
42
ก า ร ป ร ะ ชุ ม รั ฐ ม น ต รี อ า เ ซี ย น (AGFP) Feasibility Study) รวมถึงประเด็นด้านขยะทะเล
(Marine Debris) การเสริมสร้างความเข้มแข็งและ
ด้ า น ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ป่ า ไ ม้ ( ASEAN ความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ในการต่อต้านการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน
Ministers on Agriculture and Forestry- และไร้การควบคุม (Illegal, Unreported and Unregulated
Fishing: IUU Fishing) หรือการทำประมงไอยูยู ผ่าน
AMAF) คร้งั ที่ 43 และการประชมุ รฐั มนตรี ASEAN Network for Combating IUU Fishing:
AN-IUU รับทราบความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
อ าเ ซีย นด้านการ เ กษต ร และ ป่าไม้กับ ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซยี นบวกสาม
ดา้ นอาหาร การเกษตร และปา่ ไม้ (ASEAN Plus Tree
รัฐมนตรีของจีน ญ่ีปุ่น และสาธารณรัฐ Cooperation Strategy ( APTCS) Framework in
Food, Agriculture and Forestry) ปี 2559-2568
เกาหลี (AMAF Plus Three) คร้ังท่ี 21 เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการแข่งขันทางการค้า
สร้างความมั่นคงด้านอาหาร และขจัดความยากจน
ที่ประชุมรับทราบการดำเนินงานภายใต้กรอบ ในภูมิภาค รวมทั้งการดำเนินงานของระบบข้อมูล
ความร่วมมืออาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ในสาขา สารสนเทศความมั่นคงด้านอาหารในภูมิภาคอาเซียน
ต่าง ๆ และหารือข้อเสนอของเจ้าหน้าที่อาวุโส บ ว ก ส า ม ( ASEAN Food Security Information
ด้านเศรษฐกิจ (ASEAN Senior Economic Officials System:AFSIS) ในการเสริมสร้างศักยภาพด้านระบบ
Meeting – SEOM) ที่ให้เพิ่มเติมสินค้าอาหารหลัก ข้อมูลสารสนเทศความมั่นคงทางอาหารและ
เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และน้ำตาล ในรายการ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการเผยแพร่รายงาน
สนิ ค้าที่จำเปน็ ของอาเซียน (List of ASEAN Essential สถานการณป์ จั จบุ ันและแนวโน้มของสนิ คา้ 5 ชนดิ คือ
Goods) ภายใต้ ASEAN Comprehensive Recovery ข้าว ขา้ วโพด ออ้ ย ถว่ั เหลือง และมนั สำปะหลัง
Framework (ACRF) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง
สถานการณ์ COVID-19 และให้ความเห็นชอบเอกสาร
จ า ก ท ี ่ ป ร ะ ช ุ ม Special SOM- 42nd AMAF อ า ทิ
ASEAN Guidelines on Promoting the Utilisation
of Digital Technologies for ASEAN Food and
Agricultural Sector ซึ่งจะเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ
การกำหนดรูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลของ
การเกษตรในภูมิภาคและพลิกโฉมภาคการเกษตรใน
ภูมิภาคโดยใช้ดิจิทัล และเห็นชอบข้อเสนอแนะและ
นโยบายประมงอาเซียน (ASEAN General Fisheries Policy
43
ป รกาะรชปุ มระวชาุมงวาแงผแผนนยยุุททธธศาศสาตสร์เตพื่รอ์ขเับพเื่ คอลื่อน
ขั บแผเนคงลาื่นอกนารแพผั ฒนนงาเาขนตเกศาร ษรฐพกั ฒิ จสนา มาฝ ่ า ย
เขอตินเโดศนรีเซษียฐ-มกาเิจลเสซยีา-มไทฝย่า(IยMอTิ-นGโTด) นครีเ้ังซทียี่ 1-5
มาเลเซีย-ไทยเมื่อ(IวMนั ทTี่-2G5 Tพ)ฤษคภราั้งคทมี่ 215565 ท่ีประชุม
แแเกกคแเรรขกแทกพัวบลวผลาาีลีด่สาษื่2อขดปใคยกอพยถรขอารรมะนะทะำครนตมับ0ปยอุุ่วปตำอาเาาุอสทครทัยคฒรวถพอรเ1โางยรกงุทสตทระรงัญุานทธวาัด้กมงพ7่นภิ่แนมทาาะส้รอารชบามศาินดธรขร-มหุเภาขาะงคชาานอายน2ุมมกสศมารเัโอบคคั่นรบหดก่แวูุดมงดมอ0คาทสุายผาาภื่งอากวทคขรากกับ2่ลนิายภเรผรสมอตัูแ่อ้วงาทูรนามมงหัา1รงนรยดะหูา้ตนนารยมัมลรนทกรรเสค)ดำิาา่อคภใสำ่รชรวเ์ุภำขกืมะดมนาทาราโนบกยเเ์ถ่าข่งนงงนราปIูอรขำมกนัม่นีข่ทMษตคIโคอเขอตรเวM2ก้าโาิงภาาิซนใสอนยลตเวาคลTองมามร5าคจลรกา่Tอากรงหิรโานมคา-ยเรงทพถโเ์ณมคษง-กดสGิุโดาปพมมารแพณภกีนGัใ้พรงดนตษกรรยืิT่โ่ผอะนทฤสงกาัโฒรามTยะาโแตลร้าำดตใแรนทงัษบคกิา้แนารลทเเคนลรมชกาตคยรฉคพวดนาากทภำวดเคะมำรายเัแ้นใาวกพดแำรสรงื่อหอพนาราแคงชั้แ้มงาลาเีแัลาา้รลงารใาคาานืล่นอว้กแทมถทแหะเทรนขิะะมบเกนห้มอาะพใินาล้ลกมาถีสว้เบปี่่ง่สีหสมค่มสาสารมกงื่อะขงล1ษัขิ่ร2น1จรารยวรา้วบา่าีงรคษใกเกอง้3รัลา5น3้ตาาัคขเพิขนั่จงขยนรเกวาตสาลง์งง6มมยใร้ังยารปาาิส่แมมอรมราาครรุขเนกนื5นกทโลมกกแปีคณลยริมกมรีนีกีกวดด2ตา้ขาุ้ำเาาลพา้ณาวทกะรสิปาโาา5ุครย์วมภรมลอรงหระารรดริพนมีร่ร6ป์ห้ดรา่อวเวเัางนมูเพสามมมะกฉจดจหค่ม0วสากมัดำนราฒยสาัฒิดรแภัษมพมด้า-ัเิ่งะแหัมดเษ่ขโน้ายาย2ดนนัดทแ้บลขสชนทลาตาาขาทอมา่ทอตใ5่วินนีน่มอกายคุาหะมะจรราองำงาย6ำี่สรดมีงรเง่ว4แำแลกรเกกถากงคชผล้อื่รอา(าใาโาัญI่นนนมซถะBรรรรง่
โครงการตามแผนดำเนินงานปี 2560-2564
(IB 2017-2021)
44
กลมุ่ ความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ 3
(อเมรกิ า ยโุ รป แอฟรกิ า ออสเตรเลยี และแปซฟิ กิ )
การประชมุ รฐั มนตรเี กษตรเบอรล์ นิ (Berlin
AgricultureMinisters’Conference) ครง้ั ท่ี 14
เมื่อวนั ที่ 28 มกราคม 2565 กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ได้ร่วมประชุมภายใต้หัวข้อ “การใช้ที่ดิน
อย่างยั่งยืน: ความมั่นคงด้านอาหารเริ่มต้นจากดิน”
(Sustainable Land Use: Food Security Starts with the
Soil) โดย นายนราพัฒน์ แก้วทอง ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แถลงการณ์ร่วมกับ
รัฐมนตรีเกษตรเบอร์ลิน ครั้งที่ 14 ซึ่งมีเป้าประสงค์
ในการใชท้ ดี่ ินและการจัดการดินอย่างย่ังยืน เพื่อบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในปี 2030 และ
การเปลี่ยนแปลงระบบอาหารอย่างยั่งยืน รวมทั้ง
กำหนดกิจกรรมสำคัญที่จะต้องดำเนินการเพ่ือสร้างดิน
ที่อุดมสมบูรณ์ให้สามารถสนับสนุนความมั่นคง
ทางอาหารและลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
ซึ่งกิจกรรมที่รัฐมนตรีเกษตรฯ เห็นชอบร่วมกัน ได้แก่
การลดมลพิษในดิน การจัดการน้ำ การสนับสนุน
นโยบายเพื่อการจัดการที่ดินและดินอย่างยั่งยืน
การลดการปิดทับหน้าดิน การป้องกันการเสื่อมสภาพ
ของดิน การลดการตัดไม้ทำลายป่า การส่งเสริม
การวิจัยและนวัตกรรมการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี
และดิจิทัล การอบรมและให้คำแนะนำแก่เกษตรกร
และการตระหนักรู้ความสำคัญของดิน รวมถึง
การเข้าถึงที่ดิน