แบบฝกึ ทักษะวทิ ยาศาสตร์
เรือ่ ง สิ่งมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม : ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ กบั ส่งิ มชี วี ิต เลม่ 2
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ศนู ยพ์ ฒั นาคุณภาพการศึกษาท่ี 13
(ทา่ วดั ละหานนา ทา่ นางแนว)
ก
คานา
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เร่ือง สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม : ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมชี ีวิตกับส่งิ มชี วี ิต เล่มท่ี 2 สาหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
มีจุดประสงค์เพื่อประกอบกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
โดยมเี น้ือหาเกีย่ วกบั การเรยี นรสู้ ่ิงมีชีวิตและส่งิ แวดล้อม
ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ช่วยกระตุ้น ความสนใจ
สนุกในการเรียน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน มีเจตคติ ต่อการเรียน
วิทยาศาสตร์และเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ให้สงู ข้นึ
ขอขอบคุณผู้เช่ียวชาญศึกษานิเทศก์ ดร.ยุพาพร หรเสริฐ และคณะครูศูนย์
พัฒนาการศึกษาท่ี 13 นางสาวกุหลาบ คาศรี นางเมธยา ปั้นศรี นางสาวนภาภรณ์
บุญคง นางสาวชลธิชา ทุมวงศ์ นางสาวสุรีพร ชาวโพธิสะ ที่ให้คาแนะนาแก้ไข
ปรับปรุงที่ บกพร่องในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์น้ีให้ดีย่ิงข้ึนและขอขอบคุณผู้ที่มี
ส่วนเก่ียวข้องทาให้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ชุดน้ีสาเร็จลุล่วงด้วยดีเป็นประโยชน์
ต่อนักเรยี นและการศกึ ษาสืบไป
ศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพการศกึ ษาที่ 13
(ทา่ วดั ละหานนา ทา่ นางแนว)
ข
สารบญั
เร่ือง หนา้
คานา ก
สารบญั ข
สารบัญภาพ ง
สว่ นประกอบของแบบฝกึ ทักษะวทิ ยาศาสตร์ 1
คาช้แี จง 2
คูม่ อื ครู 3
บทบาทผสู้ อน 4
คู่มอื นักเรยี น 5
สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั และจุดประสงค์การเรียนรู้ 6
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 8
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี วี ิตกับสิ่งมีชวี ติ ในระบบนิเวศ 11
ภาวะการไดป้ ระโยชน์ร่วมกัน 14
ภาวะอิงอาศัยหรอื ภาวะเก้อื กูลกัน 15
ภาวะลา่ เหย่อื 17
ภาวะพง่ึ พากัน 18
ภาวะปรสิต 19
สารบญั (ต่อ) ค
เรอื่ ง หนา้
21
ภาวะแขง่ ขนั 22
ภาวะเป็นกลาง 23
สรุปความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กับสง่ิ มีชีวติ 24
แหลง่ ข้อมูล 25
ใบกิจกรรมท่ี 1 26
ใบกิจกรรมที่ 2 27
ใบกจิ กรรมท่ี 3 28
เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1 29
เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 2 30
เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 3 31
แบบทดสอบหลังเรยี น 34
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 35
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
สารบัญภาพ ง
ภาพ หนา้
11
ภาพตวั อยา่ งผู้ผลติ 11
ภาพตวั อยา่ งผบู้ ริโภคพืช 12
ภาพตวั อยา่ งผบู้ รโิ ภคสตั ว์ 12
ภาพตวั อยา่ งผู้บรโิ ภคพชื และสัตว์ 13
ภาพตวั อยา่ งผบู้ ริโภคซากพืชซากสตั ว์ 13
ภาพตวั อยา่ งผูย้ อ่ ยสลาย 14 - 15
ภาพประกอบภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน 15 - 16
ภาพประกอบภาวะอิงอาศยั หรือภาวะเกือ้ กลู กนั 17
ภาพประกอบภาวะลา่ เหย่ือ 18 - 19
ภาพประกอบภาวะพึ่งพากนั 20
ภาพประกอบภาวะปรสิต 21
ภาพประกอบภาวะแขง่ ขัน 22
ภาพประกอบภาวะเป็นกลาง
1
ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรอ่ื งสิง่ มีชวี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม เลม่ ท่ี 2
ประกอบดว้ ย
1. ส่วนประกอบต้น มดี งั น้ี
ปก
คานา
สารบญั
สว่ นประกอบของแบบฝกึ ทักษะวิทยาศาสตร์
คาชี้แจง
2. 2. คูม่ ือครู มดี ังน้ี
คาช้ีแจง สาหรับครูผสู้ อน
3. 3. คู่มือนักเรียน มดี งั น้ี
คาช้ีแจงสาหรับนักเรียน
จุดประสงค์การเรยี นรู้
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เนื้อหา
แบบฝึกทักษะ
แบบทดสอบหลงั เรยี น
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
2
คาชี้แจง
แบบฝกึ ทักษะวทิ ยาศาสตร์เร่ืองสิ่งมชี ีวิตและส่ิงแวดล้อม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี
5 น้ี มที ้ังหมด 3 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย
เร่อื งที่ 1 โครงสรา้ งและลักษณะของสง่ิ มชี ีวติ ในแหลง่ ทอี่ ยู่
เรือ่ งท่ี 2 ความสมั พันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ กบั ส่ิงมีชีวิต
เร่อื งท่ี 3 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวติ กับสิง่ ไมม่ ีชวี ติ
โดยมลี าดับข้นั ตอน ดังนี้
ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
ศึกษาจุดประสงคก์ ารเรยี นรูแ้ ละเน้อื หาตามลาดบั ขัน้ ตอน ให้เข้าใจ
ศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นแตล่ ะเล่มตามลาดบั ให้ ทาต่อเนือ่ งกัน
หากมี ข้อสงสัยหรอื พบปญั หา ครูเปน็ ผแู้ นะนา
เมอ่ื ศกึ ษาเน้อื หาและทากิจกรรมครบแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลังเรียน
และตรวจคาตอบกบั เฉลย
นกั เรยี นต้องซื่อสตั ย์ตอ่ ตนเอง ไม่ดูเฉลยแนวคาตอบก่อนตอบ คาถาม
เม่อื ทาผิดหรอื ไมเ่ ขา้ ใจควรยอ้ นกลบั ไปศึกษาเน้อื หาใหมอ่ ีกคร้ัง
3
คู่มอื ครู
คาชี้แจงสาหรับผู้สอน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เรื่องส่ิงมีชีวิตและ
สง่ิ แวดล้อม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ไดแ้ บ่งข้ันตอน ดังน้ี
ขั้นที่1 การทดสอบก่อนใช้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เร่ืองสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม โดยนาแบบทดสอบก่อนเรียนวัดผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นแบบปรนัย
จานวน เร่อื งละ 10 ขอ้
ข้ันท่ี2 การให้ความรู้กับนักเรียน เป็นขั้นท่ีครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ใหม้ ีความเข้าใจในเน้อื หา
ข้ันท่ี3 แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เร่ืองสิ่งมีชีวิตละสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการ
สรา้ งความเขา้ ใจในเนือ้ หาในแตล่ ะเรื่อง
ขั้นที่4 ใหน้ ักเรยี นอา่ นศึกษาและให้นกั เรยี นทากิจกรรมในแตล่ ะเรอื่ ง
ขั้นท่ี5 การทดสอบหลังเรียนของทุกเร่ือง เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
ของนกั เรียนในแตล่ ะเร่อื ง
4
บทบาทผสู้ อน
1. ทดสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิน์ ักเรียนกอ่ นเรียน โดยการใช้แบบฝึก
ทกั ษะ วทิ ยาศาสตรเ์ รอ่ื งสง่ิ มชี ีวิตละสงิ่ แวดล้อม ด้วยข้อสอบปรนัยจานวน 10 ข้อ
2. เตรียมแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตละสิ่งแวดล้อม
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ให้ผู้เรียนซึ่งประกอบไปด้วยคู่มือนักเรียน ดังนี้ คาชี้แจง
สาหรับ ผู้เรียน เนื้อหา กิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียนและ แบบทดสอบหลัง
เรยี นของแต่ละเรือ่ ง
3. นักเรียนใช้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เร่ือง สิ่งมีชีวิตละสิ่งแวดล้อม
ผู้สอน คอยดูแลช้ีแนะ และให้คาปรึกษา สังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล
การทางานกลุ่มเพอื่ เสนอแนะและปรับปรงุ การทางานให้ดขี นึ้
4. ผู้สอนเก็บคะแนนจากการทากิจกรรมและการทดสอบ ก่อนเรียนและ
หลังเรียน แตล่ ะเลม่ ตรวจผลงานนักเรยี นและประเมินผล
5. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนแบบฝึกทักษะ
วิทยาศาสตร์ เรือ่ ง สิ่งมชี วี ิตละสิ่งแวดล้อม ด้วยข้อสอบปรนยั จานวน 10 ขอ้
ใช้เวลา 15 นาที
5
คูม่ อื นกั เรียน
นักเรียนปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเป็นรายบคุ คลจานวน 10 ขอ้ ลงในกระดาษคาตอบ
2. ศกึ ษาเน้อื หาเลม่ ที่ 2 สิง่ มชี ีวติ ละส่ิงแวดล้อม
3. ทากจิ กรรมให้ครบทกุ ฉบบั
4. ตรวจคาตอบกจิ กรรมจากเฉลย
5. นาผลการ ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน มาบันทึกลง ในตาราง เพอ่ื ให้
ทราบผลการเรยี นและการพฒั นา
6
สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั และจุดประสงค์การเรียนรู้
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ
ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ
ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดล้อมรวมทั้งนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชี้วดั
ว 1.1 ป 5/1 บรรยายโครงสร้างและลกั ษณะของสิ่งมีชวี ติ ท่ีเหมาะสม
กบั การดารงชีวติ ซึ่งเป็นผลมาจากการปรบั ตัวของสง่ิ มชี วี ติ ในแตล่ ะแหล่งที่อยู่
ว 1.1 ป 5/2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ
ความสมั พันธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชีวิตกับส่งิ ไมม่ ชี วี ติ
ว 1.1 ป 5/3 เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าท่ีของส่ิงมีชีวิต
ท่เี ป็นผู้ผลติ และผูบ้ ริโภคในโซ่อาหาร
ว 1.1 ป 5/4 ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อ การดารงชีวิต
ของสิง่ มีชวี ติ โดยมีส่วนรว่ ม ในการดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม
7
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ด้านความรู้
1.1 บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดารงชีวิต
ซงึ่ เป็นผลมาจากการปรับตวั ของส่งิ มีชีวิตในแต่ละแหลง่ ทอี่ ยู่
1.2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์
ระหว่างสง่ิ มีชีวิตกับสิ่งไม่มชี ีวิต
1.3 เขยี นโซอ่ าหารและระบุบทบาทหนา้ ทขี่ องสิง่ มชี ีวิตที่เปน็ ผผู้ ลติ และ
ผบู้ รโิ ภคในโซอ่ าหาร
1.4 ตระหนักในคณุ ค่าของสิ่งแวดลอ้ มที่มีตอ่ การดารงชวี ติ ของส่ิงมชี ีวิต
โดยมสี ่วนร่วม ในการดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อม
2. ด้านทักษะกระบวนการ
2.1 ทักษะกระบวนการทางานกลุ่ม
2.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3.1 การมวี ินยั
3.2 ใฝ่เรียนรู้
3.3 มุ่งมน่ั ในการทางาน
สาระสาคัญ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ล้วนต้องปรับตัวด้านโครงสร้างและลักษณะให้เหมาะสมกับ
สิ่งแวดล้อมและแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัย เพื่อให้สามารถดารงชีวติ และอยรู่ อดได้ในแต่ละแหลง่ ที่อยู่
สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตด้วยกันเอง และความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งไม่มีชีวิต ความสาคัญของส่ิงมีชีวิตรูปแบบหน่ึง ได้แก่ การกินอาหารต่อกันเป็นทอดๆ
และถา่ ยทอดพลงั งานจากผผู้ ลติ ไปยแังผบู้บบริโทภคดในสรอปู บแบกบอ่ ขนองเโรซยี่อานหารและสายใยอาหาร
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 8
1. ขอ้ ใดมีท้ังผู้ผลิต ผู้บรโิ ภค และผู้ย่อยสลาย
ก. เต่า ผักบงุ้ กระตา่ ย
ข. ผักตาลึง ไก่ เชื้อรา
ค. เห็ด ปลวก นกอ้ียง
ง. ผกั กาด นกแกว้ ชา้ ง
2. วัว ควาย ช้าง และม้า จัดเป็นผู้บริโภคประเภทใด
ก. ผบู้ ริโภคพืช
ข. ผบู้ รโิ ภคสตั ว์
ค. ผ้บู ริโภคพชื และสัตว์
ง. ผูบ้ ริโภคซากพืชซากสตั ว์
3. สง่ิ มชี ีวิตประเภทใดท่ีเปน็ ผู้ย่อยสลาย
ก. ช้าง ข. นกแรง้
ค. เห็ดรา ง. แพลงกต์ อนพืช
4. ความสัมพันธ์ที่ทง้ั สองฝ่ายต้องอาศยั อยรู่ ่วมกนั ไม่สามารถแยกจากกนั ได้
และตา่ งฝา่ ยต่างได้รับประโยชน์จากการอยรู่ ่วมกนั เปน็ ความสมั พันธร์ ปู แบบใด
ก. ภาวะปรสติ ข. ภาวะพ่ึงพากัน
ค. ภาวะองิ อาศัย ง. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน
5. ขอ้ ใดเปน็ ความสมั พันธท์ ่แี ตกตา่ งจากขอ้ อ่ืน
ก. นกทารังบนตน้ ไม้
ข. เหาท่ีอาศยั อยู่บนหัวคน
ค. ยงุ ทกี่ าลงั ดูดเลือดจากวัว
ง. พยาธติ ัวตืดทผี่ นงั ลาไส้สนุ ขั คอยดูดสารอาหาร
9
6. แบคทีเรยี ในลาไสป้ ลวกกับปลวกมีความสัมพนั ธแ์ บบใด
ก. ภาวะแข่งขนั ข. ภาวะปรสิต
ค. ภาวะล่าเหย่อื ง. ภาวะพ่ึงพากัน
7. ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชวี ติ ขอ้ ใดที่สง่ิ มีชีวิตทง้ั คู่ไดป้ ระโยชน์จากการอยรู่ ว่ มกนั
ก. ววั กบั หญา้ ข. เห็บกบั สุนัข
ค. นกเอ้ยี งกับควาย ง. กาฝากกับต้นไมใ้ หญ่
8. เหากบั คนมีความสัมพนั ธ์แบบใด
ก. ภาวะพง่ึ พากัน ข. ภาวะปรสติ
ค. ภาวะล่าเหยอ่ื ง. ภาวะการได้ประโยชนร์ ่วมกนั
9. ผีเส้อื กับดอกไม้มีความสมั พันธ์แบบใด
ก. ภาวะพึง่ พากนั ข. ภาวะปรสิต
ค. ภาวะล่าเหยื่อ ง. ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน
10. ไลเคน (lichen) เป็นการอยรู่ ่วมกนั ของสิ่งมีชีวติ ใด
ก. รากบั สาหร่าย ข. รากบั แบคทเี รยี
ค. รากบั แหนแดง ง. แหนแดงกับสาหรา่ ย
10
กระดาษคาตอบก่อนเรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
เรือ่ ง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชีวติ กับสง่ิ มชี ีวิตในระบบนเิ วศ
ชือ่ – สกุล.......................................................................................................... เลขท.ี่ ............
โรงเรียน......................................................................................................................................
วนั ทท่ี าการทดสอบ........................................................................... ปกี ารศกึ ษา.....................
ขอ้ ตัวเลือก ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ กบั สิง่ มชี วี ติ ในระบบนิเวศ 11
กลุม่ ของส่งิ มชี ีวิตภายในระบบนเิ วศจะมคี วามสมั พันธซ์ ึง่ กนั และกนั อกี ทัง้ สิ่งมชี ีวติ ใน
แต่ละชนดิ ยงั แสดงบทบาทและความสาคัญภายในระบบนเิ วศแตกต่างกนั ซ่ึงสามารถแบ่งไดด้ ังนี้
1. ผู้ผลิต (producer) เป็นส่ิงมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เอง ซึ่งส่วนใหญ่เกิดโดยวิธี
สังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากมีคลอโรฟีลล์เป็นองค์ประกอบ ได้แก่ พืชสีเขียว สาหร่าย
โพรทิสต์ รวมทัง้ แบคทเี รียบางชนิด สง่ิ มชี ีวติ เหล่าน้เี ปลยี่ นพลังงานแสงให้เป็นพลงั งานเคมี
และเก็บไว้ในโมเลกุลของสารอาหารพวกแป้งและน้าตาล จากน้ันจะถ่ายทอดพลังงานนี้
ใหก้ บั กลุ่มของผบู้ รโิ ภคตอ่ ไป
ตัวอย่าง
ตน้ ไม้ สาหร่ายสเี ขยี ว
2. ผู้บริโภค (consumer) เป็นส่ิงมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องอาศัย
การบริโภคผู้ผลิตหรือผู้บริโภคด้วยกันเป็นอาหารเพื่อการดารงชีพ ผู้บริโภคยังสามารถ
แบ่งออกตามลกั ษณะและการกินได้ดงั น้ี
2.1 ผบู้ ริโภคพืช (herbivore) ถือเปน็ ผูบ้ รโิ ภคลาดบั ทห่ี นง่ึ เชน่ กระต่าย วัว
ควาย ม้า กวาง ช้าง เป็นต้น
ตวั อยา่ ง
กระต่าย ววั ช้าง
กวาง ม้า ควาย
12
2.2 ผู้บริโภคสตั ว์ (carnivore) เชน่ สงิ โต เสอื งู ไฮยนี ่า หมาป่า ฉลาม เหยยี่ ว
นกฮกู เสอื งู เป็นตน้
ตัวอยา่ ง
สงิ โต เสอื ไฮยนี า นกฮูก
2.3 ผู้บรโิ ภคท้งั พืชและสตั ว์ (omnivore) เช่น ไก่ นก แมว สนุ ัข คน เปน็ ต้น
ตัวอย่าง
ไก่ แมว คน
นก สุนขั
13
2.4 ผ้บู รโิ ภคซากพืชซากสตั ว์ (scavenger) ถอื ว่าเปน็ ผู้บรโิ ภคลาดับสุดท้าย เช่น แร้ง
ไสเ้ ดือนดิน กงิ้ กอื ปลวก เปน็ ต้น
ตัวอยา่ ง
ไสเ้ ดือนดนิ แรง้
กิ้งกือ ปลวก
3. ผู้ย่อยสลาย (decomposer) เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีสร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีพอยู่ได้โดย
การย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ใช้เป็นพลังงาน ดังนั้น ผู้ย่อยสลาย จึงเป็นผู้ท่ีย่อยสลาย
สารอินทรยี ์เป็นสารอนินทรยี ห์ รอื แร่ธาตุต่าง ๆ หมนุ เวียนกลับคนื สรู่ ะบบนิเวศ และผู้ผลิต
สามารถนาไปใช้ในการเจรญิ เตบิ โตอีกด้วย เชน่ เห็ด เชอื้ รา เเบคทเี รีย เป็นตน้
เห็ด แบคทเี รยี เชือ้ รา
ความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ มีชีวิตกบั สิ่งมีชวี ิต 14
การอยรู่ ว่ มกันของส่งิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ ย่อมมีความสมั พันธ์เกีย่ วเนือ่ งกนั ไมท่ างตรง
ก็ทางอ้อม ในทางตรงอาจมีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันหรือเป็นศัตรูกันก็ได้ ทางอ้อมอาจมี
ความสัมพันธ์แบบเก่ียวเนื่องกัน เช่น เสือกับหญ้า โดยเสือไม่กินหญ้า แต่กินสัตว์กินหญ้า เช่น
กระตา่ ย กวาง ววั เปน็ ตน้
เพือ่ ให้งา่ ยตอ่ ความเข้าใจ มกี ารใช้เครอ่ื งหมายแสดงความสมั พนั ธ์ ดังนี้
+ หมายถึง การไดป้ ระโยชนจ์ ากอีกฝา่ ยหนึ่ง
- หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อีกฝา่ ยหนึ่ง
๐ หมายถงึ การไมไ่ ดป้ ระโยชนแ์ ต่ก็ไม่เสยี ผลประโยชน์
กลุ่มสิ่งมชี วี ติ ในระบบนเิ วศมีความสมั พันธซ์ ่งึ กันและกัน ซ่ึงจาแนกความสมั พันธข์ องสิ่งมีชีวติ
ไดด้ งั น้ี
1. ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน (Protocooperation : +/+) เป็นความสมั พันธท์ ่ตี ่างฝ่าย
ตา่ งไดป้ ระโยชน์เช่น ผเี สือ้ กับดอกไม้ มดดากบั เพล้ีย นกเอี้ยงกบั ควาย เป็นต้น
ตัวอยา่ ง
ผง้ึ และดอกไม้ : ผง้ึ กนิ น้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร ขณะทด่ี อกไมไ้ ดผ้ ง้ึ เหล่าน้ี
ชว่ ยผสมเกสรและแพรข่ ยายพันธุ์
15
ปูเสฉวนและดอกไม้ทะเล : ปูเสฉวนอาศยั ดอกไม้ทะเลพรางตัวจากศัตรูและยังอาศัยเข็มพิษ
จากดอกไมท้ ะเลป้องกันศตั รู ส่วนดอกไมท้ ะเลกไ็ ดร้ บั อาหารจากปเู สฉวนที่กาลงั กนิ อาหารดว้ ย
2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกอื้ กูลกัน (Commensalism : +/0) เปน็ ความสัมพันธท์ ่ฝี า่ ยหนง่ึ
ได้รบั ประโยชน์แตข่ ณะเดียวกันอกี ฝา่ ยหนึง่ กไ็ ม่ไดเ้ สียประโยชนอ์ ะไร เชน่ นกแร้งกับเสอื ต้นไม้
ใหญก่ ับพลดู ่าง ปลาฉลามกับเหาฉลาม นกและสตั ว์อน่ื ๆท่อี าศยั ทารังอยู่บนต้นไม้ เปน็ ต้น
ตัวอยา่ ง
ฉลามและเหาฉลาม (Remora) : เหาฉลามเกาะติดกับฉลาม เพ่ือกินเศษอาหาร
พร้อมกับการได้รับการปกป้องคุ้มครองจากฉลาม โดยฉลามไม่ได้รับและไม่เสียประโยชน์
ใดๆ จากการอยู่รว่ มกนั
พืชอิงอาศัย (Epiphyte) : กระเช้าสีดา หรือ เฟิร์น เป็นพืชท่ีมักเกาะอยตู่ ามต้นไม้
ใหญ่ เพื่อใช้เป็นแหล่งพักพิงอาศัย ขอแบ่งปันร่มเงาและความช้ืน โดยท่ีต้นไม้ใหญ่ไม่ได้
ประโยชน์หรอื สูญเสยี ประโยชนใ์ ด ๆ จากการอยรู่ ว่ มกนั
16
ชายผา้ สดี าเกาะบนต้นไม้ใหญ่ เฟริ ์นเกาะบนต้นไมใ้ หญ่ กล้วยไม้เกาะบนต้นไม้
นกทารงั บนตน้ ไม้ นกไดป้ ระโยชน์ คือไดท้ อ่ี ย่อู าศัย แตต่ น้ ไม้ก็ไมไ่ ด้ประโยชน์
หรอื สูญเสยี ประโยชน์ใดๆ จากการอยู่รว่ มกัน
นกทารังบนต้นไม้
17
3. ภาวะลา่ เหยือ่ (Predation : +/-) เป็นความสมั พนั ธ์ท่ีฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ แตอ่ ีกฝา่ ย
หนึ่งเสยี ประโยชน์ เชน่ กวางเป็นเหยอ่ื ของเสือ หนเู ป็นเหยอื่ ของงู หนอนเปน็ เหย่อื ของนก
เป็นต้น
ฝ่ายท่ีได้รับประโยชน์ เรยี กวา่ “ผลู้ ่า” (Predator)
ฝ่ายท่ีสูญเสียประโยชน์หรอื สญู เสียชวี ิต คอื “ผ้ถู ูกล่า” หรอื “เหยอ่ื ” (Prey) เช่น
สิง่ มชี วี ติ ในกลมุ่ ผบู้ ริโภคพชื (Herbivore) ผ้บู ริโภคสัตว์ (Carnivore) และผู้บรโิ ภคทัง้ พืชทั้ง
สัตว์ (Omnivore)
*** ภาวะการล่าเหยือ่ ถอื เป็นอีกหน่งึ กลไกในธรรมชาตทิ ี่มีสว่ นชว่ ยในการสร้างสมดุลให้แก่
ระบบนเิ วศ ***
ภาพประกอบภาวะลา่ เหยื่อ
หากระบบนเิ วศมจี านวนผ้ลู ่ามากเกินไป เม่ือออกลา่ จนประชากรของเหย่ือไม่เพียงพอตอ่
ความต้องการของตน ประชากรผลู้ ่าจะมีจานวนลดลงเองตามธรรมชาติ เน่ืองจากภาวะการ
ขาดแคลนกอบากหินาแรมลสง่งผลใหป้ ระชากรของเหย่ืนอกทกีห่ นิ ลหงนเหอลนืออยู่สามารถฟืน้ ฟสูกงิ โลตบั กมาาลแงั ลลา่ะยเพีราิ่มฟ
จานวนประชากรข้นึ ภาวะการล่าเหยอื่ น้ี จะเกิดข้ึนเป็นวงจรหรอื วัฏจกั รตามธรรมชาติ หาก
ไม่เกดิ การล่าทร่ี ุนแรงจนสง่ ผลให้ฝ่ายใดฝา่ ยหน่ึงสูญสนิ้ เผ่าพนั ธไ์ุ ปจากระบบนิเวศ
การลา่ เหยอ่ื ของเสอื
18
4. ภาวะพงึ่ พากนั (Mutualism : +/+) เป็นความสัมพนั ธ์ท่ีทั้งสองฝา่ ยต้องอาศยั อยู่
ร่วมกนั ไม่สามารถแยกจากกนั ได้และตา่ งฝ่ายตา่ งไดร้ ับประโยชนจ์ ากการอยูร่ ่วมกนั
ตัวอย่าง
รากับสาหรา่ ยทีอ่ ยรู่ ว่ มกัน เปน็ ไลเคน โดยสาหรา่ ยจะอาศยั เส้นใยของราชว่ ย
ยดึ เกาะ พรางแสง และอุ้มนา้ ใหเ้ กิดความชน้ื ในขณะท่ีราจะอาศัยอาหารที่ได้จาก
การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของสาหร่ายเพือ่ การดารงชีวิต
ปลวกกับโปรโตซวั ในลาไส้ช่ือ Trichonympha ปลวกกนิ ไมไ้ ดแ้ ตต่ วั มันเอง
ก็ยอ่ ยเซลลโู ลสไมไ่ ด้ ดังนนั้ โปรโตซวั ทอ่ี ยู่ในลาไสจ้ งึ ยอ่ ยเซลลโู ลสในไมท้ ปี่ ลวกกินแทนให้
19
ไรโซเบียม (Rhizobium) แบคทีเรียในรากพืชตระกูล หรือ ราไมคอร์ไรซา
(Mycorrhizal Fungi) ที่อาศัยอยู่ตามรากพืชชั้นสูง : จุลินทรีย์เหล่าน้ี ทาหน้าที่ตรึงแร่ธาตุและ
ตระเตรยี มธาตุอาหารให้อยู่ในรูปทพี่ ืชสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ขณะทพ่ี ืชเป็นทง้ั แหล่ง ทอี่ ยู่
อาศัยและแหลง่ อาหารที่สรา้ งสารอาหารให้จลุ ินทรยี เ์ หล่านเ้ี ป็นตน้
5. ภาวะปรสติ (Parasitism : +/-) เปน็ ความสัมพนั ธท์ ่ฝี า่ ยปรสิตได้ประโยชน์ สว่ นฝ่ายที่ถกู เกาะกนิ
น้ันเสียประโยชน์ เช่น ตน้ กาฝากแย่งอาหารต้นไม้ใหญ่ เหาเกาะกนิ อยูบ่ นศีรษะคนเรา พยาธิในลาไส้
หรือปรสติ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ มะเร็ง เปน็ ต้น
ฝ่ายใดสูญเสียผลประโยชน์หรอื ถูกเบยี ดเบยี นจากการเป็นผู้ถกู อาศยั ท่ีเรียกว่า “โฮสต”์ (Host)
ฝ่ายท่ไี ด้รบั ประโยชนจ์ ากความสมั พนั ธ์ลกั ษณะน้ี หรอื “ปรสติ ” (Parasite) สามารถแบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภทยอ่ ย ได้แก่
1) ปรสิตภายใน (Endoparasite) เชน่ แบคทเี รีย และพยาธชิ นดิ ต่าง ๆ
2) ปรสิตภายนอก (Ectoparasite) เชน่ ปลิง เหบ็ หมดั และยงุ
3) ปรสติ ในเซลล์ (Intracellular Parasite) เช่น ไวรัส
20
ภาพประกอบภาวะปรสิต
ยงุ กับคน เหบ็ กบั สนุ ขั
เหากับคน กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่
พยาธใิ นลาไสค้ น ปลงิ ดดู เลือดคน
21
6. ภาวะแขง่ ขนั (Competition : -/-) หมายถึง ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมชี ีวิต 2 ชนดิ ซึ่งดารงอยูภ่ ายใต้
สภาพแวดลอ้ มเดียวกนั และทง้ั สองฝ่ายตา่ งจาเปน็ ตอ้ งใช้ทรัพยากรประเภทเดยี วกันในการดารงชีวติ
จนกอ่ ให้เกิดภาวะแก่งแย่งแขง่ ขันที่ส่งผลเสียแกท่ ง้ั สองฝ่าย
ความสัมพันธล์ ักษณะนี้ สามารถแบ่งออกเปน็ 2 รูปแบบ คือ
1) การแกง่ แย่งแข่งขันระหว่างส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกนั (Intraspecies Competition)
เช่น การแย่งอาหารภายในฝงู หมาป่าหรือการแย่งดนิ แดนและอาณาเขตของสิงโต
2) การแก่งแย่งแข่งขนั ระหวา่ งส่งิ มชี ีวิตต่างชนดิ (Interspecific Competition) เช่น
การแยง่ อาหารของเสือและสิงโต ซ่งึ มีแหล่งอาหารประเภทเดยี วกนั หรอื การแก่งแยง่
แสงแดดของตน้ ไม้ เป็นต้น
ภาพประกอบภาวะการแขง่ ขัน
การแกง่ แย่งแข่งขันระหวา่ งสงิ่ มีชีวิตชนิดเดียวกัน การแก่งแยง่ แสงแดดของตน้ ไม้
22
7. ภาวะเป็นกลาง (Neutralism : 0 , 0) เป็นการอยู่ร่วมกนั ของส่งิ มีชวี ิตทเ่ี ป็นอสิ ระตอ่ กันจึงไมม่ ี
ฝา่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดไดห้ รือเสยี ประโยชน์
ตวั อยา่ ง
แมงมุมกบั กระตา่ ยอาศยั อย่ใู นทุ่งหญ้า แมงมมุ กนิ แมลงเป็นอาหาร สว่ นกระต่าย
กินหญา้ เปน็ อาหาร จึงไมม่ ีฝ่ายใดได้หรอื เสยี ประโยชน์
สรปุ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ กับสง่ิ มีชีวติ 23
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวิตกบั สิง่ มีชวี ติ คือ การทสี่ ิ่งมชี วี ติ ต้งั แต่ 2 ชนดิ ข้ึนไป
อาศัยอยู่ในแหลง่ ทีอ่ ยู่ เดียวกนั เรียกวา่ กลมุ่ ส่งิ มชี ีวติ จะมีความสัมพันธ์กันหลายๆ ลกั ษณะ
เพ่ือประโยชนต์ อ่ การดารงชีวติ โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้
1) ความสมั พันธด์ า้ นแหลง่ ทีอ่ ยอู่ าศยั
2) ความสมั พนั ธ์ด้านแหล่งอาหาร
3) ความสัมพันธ์ดา้ นแหล่งสืบพันธุแ์ ละเล้ียงดูลูกออ่ น
4) ความสัมพันธ์ดา้ นแหลง่ หลบภยั
นอกจากนี้ในส่ิงแวดล้อมและในระบบนิเวศเดียวกัน ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตต่าง
ชนิดกนั ยังแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน (+) , เสยี ประโยชน์ (-) , และไมไ่ ด้
ไม่เสียประโยชน์ (0) โดยมลี กั ษณะความสัมพันธ์ ดังน้ี
1) ความสมั พนั ธ์แบบไดป้ ระโยชน์รว่ มกัน (Protocooperation : + ,+ )
2) ภาวะอิงอาศยั หรอื ภาวะเกอ้ื กลู กัน (Commensalism : +/0)
3) ความสมั พันธ์แบบล่าเหยื่อ (Predation : + , -)
4) ความสัมพันธ์แบบพ่งึ พา (Mutualism : +,+)
5) ความสัมพนั ธ์แบบปรสิต (Parasitism : + , -)
6) ความสมั พนั ธแ์ บบแข่งขัน (Competition : - ,-)
7) ความสมั พันธแ์ บบเปน็ กลางต่อกนั (Neutralism : 0 , 0)
24
แหล่งขอ้ มูล
https://ngthai.com/science/31096/organism-relations/
http://sarawootpark.blogspot.com/p/blog-page_47.html
https://www.scimath.org/lesson-biology/item/9796-2019-02-21-07-11-20
https://sites.google.com/site/biosystem96/khwam-samphanth-rahwang-sing-mi-chiwit
https://sites.google.com/site/rabbniwes25/khwam-sam-phanth/phawa-penk-lang
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=20296
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/68140/-blo-scibio-sci-
https://www.google.com/ใต้ทะเล
ใบกิจกรรม ที่ 1 25
ชอ่ื – สกลุ ................................................................................................. เลขที่............. ชนั้ ป.5
คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นโยงเส้นจบั คู่รปู แบบบทบาทและความสาคญั ของสิ่งมชี วี ติ ในระบบนิเวศ
ใหต้ รงกบั ส่งิ มีชวี ิตทก่ี าหนดให้
1. ผู้ผลิต เสือ
2. ผู้บริโภคพืช กวาง
3. ผบู้ ริโภคสตั ว์ เป็ด
4. ผูบ้ ริโภคทง้ั พืชและสตั ว์ เหด็
5. ผบู้ ริโภคซากพืชซากสัตว์ ต้นไม้
6. ผู้ย่อยสลาย กิ้งกือ
ใบกจิ กรรม ที่ 2 26
ชื่อ – สกลุ ................................................................................................. เลขท่ี............. ชน้ั ป.5
คาชี้แจง : ให้นักเรยี นเลือกขอ้ ความที่มลี กั ษณะความสมั พันธร์ ะหว่างส่ิงมชี วี ติ กับส่ิงมีชีวิตที่
กาหนดแลว้ เขียนลงในช่องว่างใต้ภาพใหถ้ กู ตอ้ ง
ภาวะการไดป้ ระโยชน์รว่ มกนั ภาวะพึ่งพากนั ภาวะล่าเหยอื่ ภาวะปรสิต ภาวะองิ อาศัย
ไลเคน นกกนิ ปลา ยุงกับคน
(ภาวะพ่งึ พากนั ) (ภาวะล่าเหยอื่ ) (ภาวะปรสิต)
ผเี ส้อื กบั ดอกไม้ กล้วยไม้กับตน้ ไม้
(ภาวะอิงอาศยั ) (ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกนั )
ใบกจิ กรรม ที่ 3 27
ชอื่ – สกลุ ................................................................................................. เลขที่............. ชน้ั ป.5
คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนนาชนดิ ของสิง่ มีชวี ติ ท่ีกาหนดให้ เติมลงในรปู แบบความสัมพันธ์
ของส่ิงมีชวี ิตให้ถูกต้อง
(ไก่กับหนอน (นกเอยี้ งกบั ควาย (ดอกไม้กับแมลง (พยาธกิ บั คน
(ปเู สฉวนกับดอกไมท้ ะเล (กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ (นกทารงั บนตน้ ไม้
(เหาฉลามกบั ปลาฉลาม (ชายผา้ สดี าเกาะอยู่บนตน้ ไม้ใหญ่
1. สิง่ มชี ีวิตที่ต่างฝ่ายตา่ งได้รบั ประโยชน์
ท่ี ชนดิ สงิ่ มชี ีวิต ฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ (+) อกี ฝ่ายได้ประโยชน์ (+)
1
2
3
2. สง่ิ มชี วี ิตท่ฝี ่ายหนงึ่ ได้รบั ประโยชน์อีกฝ่ายหนงึ่ ไม่ไดไ้ ม่เสียประโยชน์
ที่ ชนิดสิง่ มชี วี ิต ฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ (+) ฝ่ายไม่ได้ไม่เสียประโยชน์
(0)
1
2
3
3. ส่ิงมชี ีวิตทฝี่ ่ายหนงึ่ ไดร้ บั ประโยชน์อีกฝา่ ยหนึ่งเสียประโยชน์
ที่ ชนดิ สง่ิ มีชีวิต ฝา่ ยได้ประโยชน์ (+) ฝ่ายเสยี ประโยชน์ (-)
1
2
3
28
เฉลยใบกจิ กรรม ท่ี 1
คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนโยงเส้นจบั คู่รูปแบบบทบาทและความสาคญั ของสิ่งมชี ีวติ ในระบบนเิ วศให้
ตรงกบั สิ่งมชี วี ิตท่กี าหนดให้
1. ผู้ผลิต เสอื
2. ผ้บู รโิ ภคพืช กวาง
3. ผ้บู ริโภคสัตว์ เป็ด
4. ผู้บริโภคทั้งพชื และสตั ว์ เห็ด
5. ผบู้ ริโภคซากพืชซากสตั ว์ ต้นไม้
6. ผู้ยอ่ ยสลาย กงิ้ กอื
29
เฉลยใบกิจกรรม ท่ี 2
คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกข้อความที่มลี ักษณะความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกบั สิ่งมีชวี ิตที่
กาหนดแล้วเขียนลงในช่องว่างใต้ภาพใหถ้ กู ตอ้ ง
ภาวะการไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ภาวะพึ่งพากัน ภาวะล่าเหย่อื ภาวะปรสิต ภาวะองิ อาศัย
ไลเคน นกกนิ ปลา ยุงกับคน
ภาวะพึ่งพากนั (ภาวะภาวะปรสิตปรสิต)
วะภาวะล่าเหยอื่
ล่าเหยอื่ )
ผเี สื้อกับดอกไม้ กลว้ ยไม้กบั ตน้ ไม้
(ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน
ภาวะองิ อาศัย
ะโยชนร์ ่วมกนั )
เฉลยใบกิจกรรม ที่ 3 30
คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นนาชนดิ ของสงิ่ มีชวี ติ ที่กาหนดให้ เตมิ ลงในรูปแบบความสัมพนั ธ์
ของสิ่งมชี ีวิตให้ถูกต้อง
(ไกก่ ับหนอน (นกเอ้ียงกบั ควาย (ดอกไมก้ ับแมลง (พยาธกิ ับคน
(ปเู สฉวนกบั ดอกไมท้ ะเล (กาฝากกบั ต้นไมใ้ หญ่ (นกทารังบนตน้ ไม้
(เหาฉลามกบั ปลาฉลาม (ชายผา้ สีดาเกาะอยู่บนตน้ ไมใ้ หญ่
1. ส่งิ มชี วี ิตทต่ี า่ งฝา่ ยต่างไดร้ ับประโยชน์
ที่ ชนิดส่งิ มีชีวิต ฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ (+) อีกฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ (+)
ควาย
1 นกเอ้ยี งกบั ควาย นกเอยี้ ง แมลง
2 ดอกไมก้ ับแมลง ดอกไม้ ดอกไม้ทะเล
3 ปูเสฉวนกบั ดอกไมท้ ะเล ปเู สฉวน
2. สิ่งมชี วี ิตทฝ่ี า่ ยหน่ึงไดร้ ับประโยชนอ์ ีกฝา่ ยหนง่ึ ไม่ไดไ้ ม่เสียประโยชน์
ที่ ชนดิ สงิ่ มชี ีวิต ฝ่ายได้ประโยชน์ (+) ฝา่ ยไมไ่ ด้ไมเ่ สียประโยชน์
(0)
1 นกทารงั บนตน้ ไม้ นก ตน้ ไม้
2 ชายผา้ สดี าเกาะอย่บู นต้นไมใ้ หญ่ ชายผ้าสีดา ตน้ ไม้ใหญ่
3 เหาฉลามกับปลาฉลาม เหาฉลาม ปลาฉลาม
3. สิง่ มชี ีวิตทฝี่ ่ายหนึ่งได้รบั ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งเสยี ประโยชน์
ท่ี ชนดิ ส่งิ มีชวี ิต ฝา่ ยไดป้ ระโยชน์ (+) ฝา่ ยเสยี ประโยชน์ (-)
หนอน
1 ไกก่ บั หนอน ไก่ คน
ต้นไมใ้ หญ่
2 พยาธกิ บั คน พยาธิ
3 กาฝากกับต้นไมใ้ หญ่ กาฝาก
31
แบบทดสอบหลงั เรยี น
1. สิ่งมชี ีวิตประเภทใดทีเ่ ปน็ ผยู้ อ่ ยสลาย
ก. ช้าง ข. นกแร้ง
ค. เห็ดรา ง. แพลงก์ตอนพืช
2. วัว ควาย ชา้ ง และม้า จัดเปน็ ผูบ้ รโิ ภคประเภทใด
ก. ผ้บู รโิ ภคพืช
ข. ผู้บริโภคสัตว์
ค. ผู้บริโภคพืชและสัตว์
ง. ผู้บรโิ ภคซากพืชซากสัตว์
3. ขอ้ ใดมีทง้ั ผผู้ ลติ ผู้บรโิ ภค และผู้ย่อยสลาย
ก. เต่า ผักบ้งุ กระต่าย
ข. ผกั ตาลึง ไก่ เชือ้ รา
ค. เห็ด ปลวก นกอ้ียง
ง. ผกั กาด นกแก้ว ชา้ ง
4. ความสัมพันธ์ทท่ี ัง้ สองฝ่ายต้องอาศัยอย่รู ่วมกนั ไมส่ ามารถแยกจากกนั ได้
และตา่ งฝ่ายต่างไดร้ บั ประโยชน์จากการอยรู่ ่วมกนั เปน็ ความสมั พนั ธ์รปู แบบใด
ก. ภาวะปรสิต ข. ภาวะอิงอาศยั
ค. ภาวะพ่ึงพากัน ง. ภาวะไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั
5. ข้อใดเป็นความสมั พนั ธท์ แ่ี ตกต่างจากขอ้ อื่น
ก. นกทารงั บนตน้ ไม้
ข. เหาท่อี าศยั อย่บู นหัวคน
ค. ยุงท่ีกาลังดูดเลอื ดจากวัว
ง. พยาธิตัวตดื ทผี่ นงั ลาไสส้ นุ ขั คอยดูดสารอาหาร
32
6. ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมชี ีวติ ขอ้ ใดที่ส่งิ มีชวี ิตท้งั คู่ไดป้ ระโยชน์จากการอยูร่ ว่ มกัน
ก. ววั กับหญา้ ข. เห็บกับสุนขั
ค. นกเอ้ยี งกับควาย ง. กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่
7. ผเี สื้อกับดอกไม้มีความสมั พันธแ์ บบใด
ก. ภาวะพึง่ พากนั ข. ภาวะปรสติ
ค. ภาวะล่าเหยือ่ ง. ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน
8. เหากับคนมีความสมั พนั ธแ์ บบใด
ก. ภาวะพึ่งพากนั ข. ภาวะปรสติ
ค. ภาวะล่าเหย่อื ง. ภาวะการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน
9. ไลเคน (lichen) เป็นการอย่รู ว่ มกันของส่ิงมชี ีวติ ใด
ก. รากับสาหร่าย ข. รากบั แหนแดง
ค. รากับแบคทีเรีย ง. แหนแดงกับสาหร่าย
10. แบคทเี รียในลาไส้ปลวกกบั ปลวกมคี วามสมั พนั ธแ์ บบใด
ก. ภาวะปรสิต ข. ภาวะแข่งขนั
ค. ภาวะล่าเหยือ่ ง. ภาวะพึ่งพากนั
33
กระดาษคาตอบหลงั เรยี น วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เรือ่ ง ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวิตกบั สง่ิ มชี ีวิตในระบบนเิ วศ
ชือ่ – สกุล.......................................................................................................... เลขท่ี.............
โรงเรียน......................................................................................................................................
วนั ทท่ี าการทดสอบ........................................................................... ปกี ารศกึ ษา.....................
ขอ้ ตัวเลือก ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
34
เฉลยขอ้ สอบก่อนเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5
เรอื่ ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ มีชีวิตกบั สง่ิ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ
ขอ้ ตวั เลือก ก ข ค ง
1x x
x
2x
3x
4x
5x
6
7x
8x
9
10 x
35
เฉลยข้อสอบหลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
เรอื่ ง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กับสิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศ
ขอ้ ตวั เลอื ก ก ข ค ง
1x x
x
2x
3x
4x
5x
6x
7
8x
9x
10
36
คณะทป่ี รึกษา
1. ดร.สนอง สดุ สะอาด ผ้อู านวยการ สพป. ขอนแกน่ เขต 3
2. นายดารัส ชว่ ยคณู ประธานศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพการศึกษาที่ 13 ท่าวดั –ละหานนา-ทา่ นางแนว
3. นายประเสริฐ อาพล ประธานชมรมครู กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ สพป.ขอนแก่น เขต 3
4. ดร.ยุพาพร หรเสรฐิ ศกึ ษานเิ ทศก์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สพป.ขอนแก่น เขต 3
5. ดร.อดุลย์ วงศ์กอ้ ม ศกึ ษานิเทศก์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สพป.ขอนแก่น เขต 3
6. นางภัทราภรณ์ เบจวฒั นานนท์ ศกึ ษานิเทศก์ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ สพป.ขอนแก่น เขต 3
คณะทางาน
ครกู ล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6
ศูนย์พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาท่ี 13
1. นางสาวกหุ ลาบ คาศรี ครูโรงเรยี นบา้ นท่านางแนว
2. นางวรนุช ศรที วน ครโู รงเรยี นบ้านหนองแวงท่าวัด
3. นางเมธยา ป้ันศรี ครูโรงเรยี นบ้านหนองแวงทา่ วดั
4. นางสาวนภาภรณ์ บญุ คง ครโู รงเรียนบ้านหว้ ยทรายท่งุ มน
5. นางสาวเกวลี กล้าหาญ ครโู รงเรยี นบา้ นห้วยทรายทงุ่ มน
6. นางสาวชลธิชา ทุมวงศ์ ครูโรงเรียนบา้ นละหานนา
7. นางสาวสรุ ีพร ชาวโพธิสะ ครโู รงเรยี นบา้ นละหานนา
8. นางสาววัลลา แพงวงษ์ ครูโรงเรยี นบา้ นหนองสะแบงศรชี มุ พร
9. นายรงั สรรค์ สภุ พร ครโู รงเรยี นบา้ นหนองสะแบงศรชี มุ พร
10. นายแสงจันทร์ ศรมี นตรสี งา่ ครโู รงเรียนบ้านรวงโนนไทโนนโจด
11. นางสาวเสง่ียม คาศรี ครูโรงเรยี นบา้ นรวงโนนไทโนนโจด
12. นางสาวสพุ ตั รา พลหงษา ครูโรงเรียนบ้านโนนเขวาประชาศกึ ษา
13. นางสาวนริ ชา ชยั วงศ์ ครโู รงเรียนบา้ นหนองด่ปู ระชาสรรค์
1. ดร.ยุพาพร หรเสริฐ คณะบรรณาธิการ
2. นางสาวกหุ ลาบ คาศรี
3. นางเมธยา ปนั้ ศรี ศึกษานิเทศก์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
4. นางสาวนภาภรณ์ บุญคง ครโู รงเรยี นบา้ นท่านางแนว
5. นางสาวชลธชิ า ทุมวงศ์ ครโู รงเรียนบา้ นหนองแวงทา่ วัด
6. นางสาวสุรีพร ชาวโพธิสะ ครูโรงเรยี นบ้านห้วยทรายทุ่งมน
ครโู รงเรียนบา้ นละหานนา
ครโู รงเรยี นบ้านละหานนา