The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรรายวิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หลักสูตรรายวิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หลกั สตู รรายวชิ าเทคโนโลยี ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ัตยว์ ทิ ยาคาร
พุทธศกั ราช 2564

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ปรับปรุงตวั ช้วี ัดกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ

หลักสูตรรายวิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นี้ เป็นหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชน
ประชาธิปัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
๒๕๕๑ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบ
และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนให้ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒๕๕๑ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคารพุทธศักราช ๒๕๖๔ ซึ่งมีองค์ประกอบ
ดังน้ี

- วสิ ยั ทศั น์ หลกั การ จุดหมาย
- สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน - คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- คณุ ภาพผูเ้ รยี น
- ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- รายวชิ าทเ่ี ปดิ
- คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
- คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
- โครงสร้างรายวิชาพน้ื ฐาน
- โครงสรา้ งรายวชิ าเพ่มิ เติม
- ส่อื /แหลง่ เรียนรู้
- การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ผู้จัดทำขอขอบคุณ นางสาวกันยาภัทร ภัทรโสตถิ ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์
วิทยาคาร นางสาวปัญสิริภัทร พรชุบ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล และผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา
และจัดทำหลักสูตรรายวิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้เรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฉบับนี้ จนสำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์
ต่อการจดั การเรยี นร้ใู ห้กบั ผูเ้ รียนต่อไป

นายทราทศิ จารภุ คนิธิ
ผจู้ ดั ทำ

สารบญั ข

เรอื่ ง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
วิสยั ทศั น์ 1
หลักการ 1
จุดมุ่งหมาย 1
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 2
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียน 3
แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 6
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 7
การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั รายวชิ าพ้นื ฐานสเู่ นือ้ หา 15
คำอธบิ ายรายวชิ า 18
การจดั การเรียนรู้ 21
สอ่ื การเรียนรู้ 22
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 23
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 29
คณะผูจ้ ดั ทำ 31
บรรณานุกรม 32

1

วิสัยทศั นโ์ รงเรียน

โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร เป็นโรงเรียนที่มีการบริหารจัดการที่มีคุณภาพจัดบรรยากาศ
สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ น่าเรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเต็มตามศักยภาพ มี
จิตสำนึกในความเป็นไทย รักและภูมิใจในท้องถิ่น เป็นอยู่พอเพียง มีจิตสาธารณะ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและ
จติ ท่ีดี ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมชี มุ ชนเป็นสว่ นรว่ ม

หลกั การ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตยว์ ิทยาคาร ได้ใช้
หลกั การพฒั นาหลกั สตู รตามแบบของหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ซงึ่ มหี ลกั การทสี่ ำคัญ ดงั น้ี

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น
เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็น
ไทยควบค่กู ับความเปน็ สากล

๒. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาเพื่อปวงชน ทีป่ ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ
มีคุณภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ

๔. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาที่มีโครงสรา้ งยดื หยุน่ ทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุก
กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดมุ่งหมาย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความมุ่งหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เปน็
คนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพ่ือให้เกิดกับ
ผเู้ รยี น เม่ือจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ดังน้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ

๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่ีมงุ่ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งท่ีดงี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสุข

2

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ม่งุ ให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ บั ข้อมลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ิธกี ารสอื่ สาร ทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมกี ารตดั สินใจทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขน้ึ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ นื่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการ
ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

3

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 8 ประการ
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง คุณภาพของผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่กำหนดข้นึ
โดยพจิ ารณาจากสภาพของสังคม และการเปลย่ี นแปลงของโลกยคุ ปจั จุบัน ซง่ึ ทำให้มีความจำเป็นตอ้ งเน้นและ
ปลูกฝังลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนทุกคนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในองค์รวมทั้งด้าน
สติปัญญา และคุณธรรม อันจะนำไปส่คู วามเจริญก้าวหนา้ และความมั่นคงสงบสุขในสังคม ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
ประกอบดว้ ยตวั ชว้ี ดั 4 ข้อ ได้แก่
1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติและอธิบาย

ความหมายของเพลงชาติไดถ้ ูกตอ้ ง
1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความ

สามัคคี ปรองดองท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อ โรงเรยี น ชุมชนและสังคม
1.3 ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา

ท่ตี นเองนับถือ (ศาสนาพุทธ) และปฏิบัติตนตามหลกั ของศาสนาที่ตนนบั ถอื
1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น มีส่วนร่วมหรือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ

สถาบนั พระมหากษตั ริย์
2. ซ่อื สัตยส์ จุ รติ

ประกอบด้วยตวั ชว้ี ัด 2 ขอ้ ไดแ้ ก่
2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทายกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ให้ข้อมูลที่
ถูกต้องและเป็นจริงปราศจากความลำเอียง และปฏิบัติตนโดยคำนึงถึงความถูกต้อง ละอายและเกรงกลัวต่อ
การกระทำผดิ และปฏบิ ัติตามคำมัน่ สัญญา
2.2 ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงตอ่ ผอู้ น่ื ทั้งทายกาย วาจา ใจ พฤตกิ รรมบ่งชี้ เชน่ ไม่ถอื เอาสิง่ ของ
หรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรงและไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่
ถกู ต้อง

4

3. มีวินัย

ประกอบดว้ ยตวั ช้ีวัด 1 ขอ้ ได้แก่

3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม

พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน

และสังคม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อืน่ และตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ งๆในชีวติ ประจำวันและรับผิดชอบ

ในการทำงาน

4. ใฝเ่ รยี นรู้

ประกอบดว้ ยตัวชวี้ ัด 3 ขอ้ ไดแ้ ก่

4.1 ต้ังใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ พฤติกรรมบ่งชี้ เชน่ ตั้งใจเรียน

เอาใจใส่และมคี วามเพียรพยายามในการเรียนรู้ และสนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร้ตู ่าง ๆ

4.2 แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น ด้วยการเลือกใชส้ ่อื อยา่ ง

เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้พฤติกรรม

บง่ ชี้ เชน่ ศึกษาค้นคว้าหาความรจู้ ากหนงั สอื เอกสาร ส่งิ พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ แหล่ง

เรยี นร้ทู ้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น และเลือกใช้สอื่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบ

จากสิ่งท่ีเรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวธิ ีการต่างๆเพื่อนำไปใช้ ใน

ชวี ติ ประจำวนั

5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง

ประกอบด้วยตวั ชว้ี ดั 2 ข้อ ได้แก่

5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้

เช่น ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา

ดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า

และเก็บรักษาดูแลอย่างดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผลและไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่

ทำให้ผ้อู น่ื เดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภยั เมอื่ ผูอ้ ่นื กระทำผดิ

5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น วาง

แผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้เท่าทันการ

เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตวั เพ่ืออยู่รว่ มกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

ประกอบดว้ ยตวั ชวี้ ดั 2 ข้อ ไดแ้ ก่

6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ และปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วย

ตนเอง

6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งช้ี

เช่น ทมุ่ เททำงาน อดทน ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปญั หาและอุปสรรคในการทำงาน พยายามแกป้ ญั หาและอุปสรรคในการ

ทำงานให้สำเร็จ และชื่นชมผลงานดว้ ยความภาคภูมใิ จ

7. รกั ความเปน็ ไทย

ประกอบด้วยตัวชี้วดั 3 ขอ้ ได้แก่

7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที

พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ

5

รว่ มกจิ กรรมท่ีเกย่ี วข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย และชกั ชวน แนะนำให้ผอู้ น่ื ตามขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศิลปะ และวฒั นธรรมไทย

7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ใช้
ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมและชักชวน แนะนำให้ผูอ้ ื่นเห็นคุณค่าของการใช้
ภาษาไทยทีถ่ ูกต้อง

7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น นำภูมิปัญญาไทยมาใช้
ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทยและแนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิ
ปญั ญาไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

ประกอบดว้ ยตวั ชีว้ ัด 2 ขอ้ ได้แก่
8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤติกรรมบ่งช้ี
เช่น ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทำงานด้วยความเต็มใจ อาสาทำงานให้ผู้อื่นด้วยกำลังกาย กำลังใจ
และกำลงั สตปิ ัญญาโดยไม่หวงั ผลตอบแทนและแบ่งปันส่งิ ของ ทรัพย์สิน และอ่นื ๆและชว่ ยแก้ปัญหาหรือสร้าง
ความสขุ ใหก้ ับผอู้ ่ืน
8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม พฤติกรรมที่บ่งช้ี
เช่น ดูแลรักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์
ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม และเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวมตาม
สถานการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นด้วยความกระตือรือร้น

6

แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

7

8

เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ
ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและ
ทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จงึ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สดุ
นั่นคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เมื่ออยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออก
จากสถานศกึ ษาไปประกอบอาชีพแล้ว
การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในสถานศึกษามีเปา้ หมายสำคัญดงั นี้

1. เพื่อใหเ้ ข้าใจหลักการ ทฤษฎีที่เปน็ พนื้ ฐานในวิทยาศาสตร์
2. เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจขอบเขต ธรรมชาตแิ ละขอ้ จำกดั ของวทิ ยาศาสตร์
3. เพื่อใหม้ ที ักษะท่ีสำคญั ในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
4. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและการจดั การทกั ษะใน
การส่อื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
5. เพ่ือใหต้ ระหนกั ถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมใน
เชิงทมี่ อี ทิ ธิพลและผลกระทบซง่ึ กันและกนั
6. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเร่ืองวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม
และการดำรงชีวิต
7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์

เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์มุง่ หวงั ให้ผ้เู รียนได้เรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ที่เนน้ การ เช่ือมโยงความรกู้ ับ

กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏิบตั ิจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชน้ั โดยกำหนดสาระสำคัญ ดงั น้ี

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดลอ้ ม องค์ประกอบของสิง่ มชี ีวิต การดำรงชวี ติ
ของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ
ส่ิงมชี ีวิต

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี
พลังงาน และคลื่น

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลต่อสิ่งมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม

9

✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม
● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการ
แก้ปญั หาท่พี บในชวี ติ จริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และ

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิงมชี ีวิตกบั สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดล้อม รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสง่ิ มีชวี ติ หนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ี ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน
สมั พันธ์กนั รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ
ววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ รวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงทกี่ ระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนท่ี
แบบต่าง ๆ ของวัตถรุ วมทั้งนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

10

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกย่ี วข้องกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้ัง นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว

ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมท้ังผลต่อสิ่งมชี วี ติ และสงิ่ แวดล้อม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
ส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมจี รยิ ธรรม

คุณภาพผ้เู รยี น

จบชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

❖ เขา้ ใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบตั ิบางประการของวสั ดุท่ีใชท้ ำวตั ถุ และการเปล่ียนแปลงของ

วัสดรุ อบตัว

❖ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ

พลังงานไฟฟ้า และการผลติ ไฟฟ้า การเกิดเสยี ง แสงและการมองเหน็

❖ เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ปรากฏการณข์ ้นึ และตกของ ดวง

อาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์

ลกั ษณะและความสำคญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม

11

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต

สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออยา่ งง่าย รวบรวมขอ้ มูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบด้วยการ

เขียนหรือวาดภาพ และสอื่ สารสง่ิ ท่ีเรยี นรดู้ ว้ ยการเลา่ เร่ือง หรอื ด้วยการแสดงทา่ ทางเพ่อื ใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ

❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สอ่ื สารเบอื้ งตน้ รักษาขอ้ มูลสว่ นตวั

❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่

กำหนดใหห้ รือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ผู้อื่น

❖ แสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งมงุ่ ม่นั รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จน

งานลุล่วงเปน็ ผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นอย่างมคี วามสุข

❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศึกษา

หาความรู้เพมิ่ เติม ทำโครงงานหรือช้นิ งานตามทกี่ ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

❖ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวติ รวมทั้งความสัมพนั ธ์ของสิ่งมชี ีวิตใน

แหลง่ ท่ีอยู่ การทำหนา้ ทีข่ องส่วนต่าง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์

❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร

การละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสารอย่าง

งา่ ย

❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผล
ท่ีเกดิ จากแรงกระทำตอ่ วตั ถุ ความดัน หลักการท่มี ตี ่อวตั ถุ วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย ปรากฏการณเ์ บอ้ื งตน้ ของเสียง
และแสง

❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์

องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และ ดาว

ฤกษ์ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของ

เทคโนโลยอี วกาศ

❖ เข้าใจลกั ษณะของแหล่งน้ำ วัฏจกั รนำ้ กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นำ้ คา้ ง นำ้ คา้ งแขง็ หยาดน้ำฟา้
กระบวนการเกดิ หิน วฏั จักรหิน การใช้ประโยชนห์ นิ และแร่ การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล

มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือน

กระจก

❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เขา้ ใจสทิ ธิและหน้าทีข่ อง

ตน เคารพสิทธขิ องผอู้ ่นื

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับส่ิงท่ีจะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ

สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ทั้ง

เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ

12

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รปู แบบที่เหมาะสม เพ่อื ส่อื สารความร้จู ากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมเี หตผุ ลและหลักฐานอา้ งอิง

❖ แสดงถึงความสนใจ มุง่ มน่ั ในสงิ่ ที่จะเรียนรู้ มคี วามคิดสร้างสรรคเ์ กยี่ วกับเรื่องทจ่ี ะศกึ ษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคิดเห็น

ผู้อื่น

❖ แสดงความรับผดิ ชอบด้วยการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายอยา่ งมุง่ มั่น รอบคอบ ประหยดั ซอื่ สตั ย์ จน
งานลุลว่ งเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนอยา่ งสรา้ งสรรค์

❖ ตระหนักในคุณคา่ ของความรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรแู้ ละกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรใ์ นการดำรงชีวิต แสดงความชน่ื ชม ยกย่อง และเคารพสทิ ธใิ นผลงานของผคู้ ิดค้นและศกึ ษาหา

ความรเู้ พิม่ เติม ทำโครงงานหรอื ชิ้นงานตามที่กำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

และสิง่ แวดลอ้ มอย่างรูค้ ณุ คา่

จบชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓

❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบทีส่ ำคัญของเซลล์สิง่ มีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำงานของระบบ
ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีน

หรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ

สิ่งมีชวี ิตดัดแปรพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพนั ธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการ

ถ่ายทอดพลังงานในสงิ่ มีชวี ิต

❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การ
เปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ

สมบัตทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ และวัสดุผสม

❖ เขา้ ใจการเคลือ่ นที่ แรงลัพธแ์ ละผลของแรงลัพธ์กระทำตอ่ วตั ถุ โมเมนต์ของแรง แรง

ที่ปรากฏในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการ

อนุรักษพ์ ลังงาน การถา่ ยโอนพลังงาน สมดุลความรอ้ น ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้า

ในบา้ น พลังงานไฟฟ้า และหลักการเบ้อื งตน้ ของวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์

❖ เขา้ ใจสมบัตขิ องคลน่ื และลักษณะของคลนื่ แบบตา่ ง ๆ แสง การสะท้อน การหกั เหของแสงและ
ทศั นปู กรณ์

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
การเกิดข้างขนึ้ ขา้ งแรม การขึน้ และตกของดวงจนั ทร์ การเกดิ นำ้ ข้ึนน้ำลง ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ และ

ความกา้ วหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายุฟา้ คะนอง พายุหมนุ เขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ

โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์

ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน

กระบวนการเกิดดิน แหล่งนำ้ ผิวดนิ แหล่งนำ้ ใตด้ ิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณี

พิบัติภัย

13

❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ

และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้

ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ

อาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง

เหมาะสม ปลอดภยั รวมทง้ั คำนึงถึงทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา

❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตาม
วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือ
ชว่ ยในการแกป้ ัญหา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอยา่ งร้เู ทา่ ทันและรับผิดชอบตอ่ สังคม

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการ
กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สามารถนำไปสู่การสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย

❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน
โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและสื่อสารความคิด ความรู้
จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง
เหมาะสม

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิด
สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง
เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
และยอมรับการเปลย่ี นแปลงความรู้ทค่ี ้นพบ เม่ือมีข้อมูลและประจักษพ์ ยานใหม่เพ่ิมขึน้ หรือโต้แยง้ จากเดมิ

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยก
ย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทาง
วทิ ยาศาสตร์ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและต่อบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเตมิ ทำโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตาม
ความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

จบชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖
❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันใน

ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การ

ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการที่ทำให้เกดิ ความหลากหลายของ

ส่งิ มชี วี ิต ความสำคญั และผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ สง่ิ มีชีวิต และสง่ิ แวดลอ้ ม

14

❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน
ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อม

❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ
การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาคและสมบัตติ ่าง ๆ ของสารที่มคี วามสมั พันธ์
กับแรงยดึ เหนี่ยว พันธะเคมี โครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่ออตั ราการ
เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี และการเขียนสมการเคมี

❖ เข้าใจปริมาณที่เก่ียวกับการเคลื่อนท่ี ความสัมพนั ธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่งผลของความเรง่
ที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ
กระแสไฟฟ้า และแรงภายในนวิ เคลยี ส

❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น
พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน
ปรากฏการณท์ ่ีเก่ยี วข้องกบั เสยี ง สีกบั การมองเหน็ สี คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและประโยชนข์ องคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้

❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีท่ี
สมั พันธก์ บั การเกดิ ลกั ษณะธรณีสณั ฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบิด สนึ ามิ ผลกระทบ
แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภัย

❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมุนเวียน

ของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการ

หมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลด
กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้า
อากาศทสี่ ำคญั จากแผนทอี่ ากาศ และข้อมลู สารสนเทศ

❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานท่ี

สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก

กระบวนการเกิดและการสรา้ งพลังงาน ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสมั พันธ์ระหวา่ ง

ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์

วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต

บริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มี

ต่อโลก รวมทัง้ การสำรวจอวกาศและการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ

15

การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ดั รายวชิ าพ้นื ฐานส่เู น้อื หา
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาเทคโนโลย(ี วทิ ยาการคำนวณ)
รายวิชาเทคโนโลย(ี การออกแบบเทคโนโลย)ี

16

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ (ไม่มีสอน)
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ไมม่ สี อน)
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (ไมม่ สี อน)
สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิง่ แวดล้อม

ตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี
ม.2/1 คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและวิเคราะห์ เปรียบเทียบตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ี
เกดิ ข้นึ ตอ่ ชีวติ สงั คม และสิง่ แวดล้อม
ม.2/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรุปกรอบของปัญหา รวบรวมวิเคราะห์
ข้อมลู และแนวคิดที่เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา
ม.2/3 ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์เปรียบเทยี บ และตดั สินใจเลอื กข้อมลู ทจ่ี ำเปน็ ภายใต้
เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทำงานและ
ดำเนนิ การแก้ปญั หาอย่างเป็นขัน้ ตอน
ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไขพร้อม
ทง้ั หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปญั หา
ม.2/5 ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาทีพ่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเป็นขัน้ ตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม

ตัวช้วี ดั ชั้นปี
ม.2/๑ ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใ่ี ช้ แนวคิดเชิงคำนวณในการ แกป้ ัญหา หรอื การทำงาน

ท่พี บในชีวติ จริง
ม.2/๒ ออกแบบและเขียนโปรแกรม ท่ีใชต้ รรกะและฟงั ก์ชัน ในการแก้ปัญหา
ม.2/๓ อภปิ รายองคป์ ระกอบและ หลกั การทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

การสอ่ื สารเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ช้ งานหรือแกป้ ัญหาเบ้ืองต้น
ม.2/๔ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มคี วามรบั ผดิ ชอบสรา้ งและแสดงสทิ ธใิ์ นการ

เผยแพรผ่ ลงาน

๑๗

แบบการวเิ คราะหต์ ัวช้วี ดั เพอ่ื จดั ทำคำอธิบายรายวชิ า

๑๘

คำอธิบายรายวิชา

๑๙

คำอธบิ ายรายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

รหสั วชิ า ว 22103 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 20 ชัว่ โมง

ศึกษาการแสดงลำดบั ข้ันตอนการทำงานหรอื แก้ปัญหาอยา่ งงา่ ย โดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ
ตลอดจนการเขียนโปรแกรมสร้างลำดับของคอมพิวเตอร์ทำงาน และตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม ศึกษา
การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้าง และจัดการกับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
รวมถึงการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั

โดยอาศยั กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Base Learning) เพ่ือเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกิด
การเรียนรู้จากการฝึกแกป้ ัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่
จากการใชป้ ญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ จรงิ ในชวี ติ ประจำวันได้

เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ มที กั ษะการคิดเชงิ คำนวณ การคิดวเิ คราะห์ แกป้ ัญหาเป็นข้ันตอน
และเป็นระบบ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการ
แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิตจนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ
ความสามารถในการแก้ปัญหา การจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการใช้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

มาตรฐานตวั ชี้วดั
ว 4.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4

รวม 1 มาตรฐาน รวม 4 ตัวชี้วัด

๒๐

คำอธิบายรายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

รหสั วิชา ว 22104 รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เวลา 20 ชว่ั โมง

อธิบายแนวโนม้ เทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้น ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น ออกแบบ
วธิ กี ารแก้ปัญหา โดยคำนงึ ถงึ เง่อื นไขและทรพั ยากรทีม่ อี ยู่ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนนิ การแก้ปญั หา
อยา่ งเปน็ ขั้นตอน ใชค้ วามรูแ้ ละทกั ษะเก่ียวกบั วสั ดุอุปกรณ์ เครอ่ื งมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส์

โดยใช้การฝึกปฏิบัติการอธิบายแนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัย
ระบุปัญหาหรือความต้องการ ออกแบบ วางแผนขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ใช้ความรู้และทักษะ
เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม รวมทงั้
เลอื กใช้วัสดอุ ุปกรณ์ เครื่องมอื ในการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภยั

เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
ประยุกต์ใช้ความรู้ดา้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการแก้ปญั หาทีพ่ บใน
ชวี ิตจริงได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

มาตรฐานตัวช้วี ัด
ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๑ มาตรฐาน ๕ ตวั ช้ีวัด

๒๑

การจดั การเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้เรยี น เป็นเปา้ หมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการ
เรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้โดยชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเรยี นรผู้ า่ นสาระทกี่ ำหนดไวใ้ นหลักสูตร ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รวมทั้ง
ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรียนบรรลุตาม
เป้าหมาย

๑. หลกั การจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า
ผเู้ รียนมคี วามสำคญั ทีส่ ุด เช่อื วา่ ทกุ คนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ยดึ ประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึง
ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนน้ ให้ความสำคญั ทงั้ ความรู้ และคุณธรรม
๒. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็น
เครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลง
มือทำจรงิ กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นรกู้ ารเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา
ลกั ษณะนสิ ยั
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึงจำเป็นต้องศึกษาทำ
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

๓. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียน
ได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายทก่ี ำหนด
๔. บทบาทของผ้สู อนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียน
ควรมีบทบาท ดงั น้ี
๔.๑ บทบาทของผสู้ อน

๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการ
เรียนรู้ ที่ท้าทความสามารถของผเู้ รยี น

๒๒

๒) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น
ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสมั พนั ธ์ รวมท้งั คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พฒั นาการทางสมอง เพื่อนำผู้เรียนไปสูเ่ ป้าหมาย

๔) จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นให้เกดิ การเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
๖) ประเมนิ ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ
ของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รยี น
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการ
จดั การเรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผู้เรยี น
๑) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคำถาม คิดหา
คำตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ
๓) ลงมอื ปฏิบัติจริง สรปุ ส่ิงท่ไี ด้เรยี นรู้ด้วยตนเอง และนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์
ตา่ งๆ
๔) มีปฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกจิ กรรมรว่ มกับกลุ่มและครู
๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนร้ขู องตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

สื่อการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น
การเลือกใช้สือ่ ควรเลอื กให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายของผู้เรียน

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผูส้ อนสามารถจัดทำและพฒั นาขึน้ เอง หรือปรับปรุงเลือกใชอ้ ย่าง
มคี ุณภาพจากสอ่ื ตา่ งๆ ทมี่ อี ยู่รอบตวั เพื่อนำมาใช้ประกอบในการจดั การเรียนรทู้ ่สี ามารถสง่ เสรมิ และสื่อสารให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่าง
แท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควร
ดำเนินการดงั น้ี

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ท้องถ่ิน ชมุ ชน สงั คมโลก

๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ัง
จัดหาสงิ่ ทม่ี อี ย่ใู นทอ้ งถิ่นมาประยุกต์ใชเ้ ป็นสอ่ื การเรยี นรู้

๓. เลือกและใช้สอื่ การเรยี นรูท้ ่ีมคี ุณภาพ มีความเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั วธิ ีการ
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผู้เรียน

๔. ประเมินคณุ ภาพของส่อื การเรยี นรทู้ ่ีเลอื กใช้อยา่ งเป็นระบบ

๒๓

๕. ศกึ ษาคน้ คว้า วจิ ัย เพอ่ื พัฒนาสอื่ การเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกับกระบวนการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
๖. จัดใหม้ กี ารกำกับ ติดตาม ประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพเกี่ยวกบั ส่อื และการใช้สือ่ การเรียนรู้
เป็นระยะๆ และสม่ำเสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคำนึงถึง
หลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคง
ของชาติ ไม่ขัดตอ่ ศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกตอ้ ง รปู แบบการนำเสนอทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย และนา่ สนใจ

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การ
ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบ
ผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่วา่ จะเปน็ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา และ
ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็น
ข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน
ขอ้ มูลทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การส่งเสริมให้ผเู้ รยี นเกดิ การพัฒนาและเรียนรอู้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดงั นี้

๑. การประเมนิ ระดบั ช้นั เรียน เป็นการวดั และประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อน
ประเมินเพอื่ น ผู้ปกครองรว่ มประเมนิ ในกรณีที่ไมผ่ ่านตัวชวี้ ดั ใหม้ ีการสอนซอ่ มเสริม

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มสี ่ิงทจ่ี ะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียงั เป็นข้อมูลใหผ้ ู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้
โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด

๒. การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนนิ การเพ่อื ตดั สนิ ผล การเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลตอ่
การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการ
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน

๒๔

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อใช้เป็นขอ้ มูลพื้นฐานในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมิน
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วย
ความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานต้นสังกดั ในการดำเนินการจดั สอบ นอกจากนยี้ ังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูล
จากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

๔. การประเมนิ ระดับชาติ เปน็ การประเมินคณุ ภาพผู้เรียนในระดับชาตติ ามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สถานศกึ ษาต้องจดั ใหผ้ เู้ รียนทุกคนทเี่ รยี น ในชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี ๓ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เข้ารบั การประเมิน ผลจากการประเมนิ ใช้เปน็ ข้อมูลในการเทยี บเคยี งคณุ ภาพ
การศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ เพ่อื นำไปใชใ้ นการวางแผนยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเปน็ ขอ้ มลู
สนบั สนุนการตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรบั ผิดชอบของสถานศึกษาทจ่ี ะตอ้ งจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่
จำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่ม
ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูล
จากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอก าสให้
ผเู้ รียนได้รบั การพฒั นาและประสบความสำเรจ็ ในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรยี นของสถานศึกษาใหส้ อดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเปน็ ขอ้ กำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เพื่อใหบ้ ุคลากรที่เกีย่ วข้องทกุ ฝ่ายถือปฏิบตั ริ ่วมกัน

เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
การตัดสนิ ผลการเรียน

ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนน้นั ผ้สู อนต้องคำนงึ ถงึ การพฒั นานกั เรยี นแตล่ ะคนเป็นหลัก และ
ตอ้ งเก็บขอ้ มูลของนกั เรียนทุกด้านอย่างสมำ่ เสมอและตอ่ เนอื่ งในแต่ละภาคเรยี น
มีเกณฑด์ งั นี้

(๑) ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมด
(๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมนิ ทุกตัวช้วี ดั และผา่ นเกณฑไ์ มน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
ของจำนวนตวั ชว้ี ดั
(๓) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมินและมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากำหนดใน
การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

๒๕

การให้ระดับผลการเรียน

การตดั สินผลการเรียนรายวชิ าของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ให้ใชร้ ะบบตวั เลข
แสดงระดับการเรยี นในแต่ละกลมุ่ สาระ ดังนี้

ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนรอ้ ยละ
๔ ผลการเรยี นดีเยี่ยม ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ผลการเรยี นดมี าก ๗๕ - ๗๙
๓ ๗๐ - ๗๔
๒.๕ ผลการเรยี นดี ๖๕ - ๖๙
๒ ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี ๖๐ - ๖๔
๑.๕ ผลการเรียนน่าพอใจ ๕๕ - ๕๙
๑ ๕๐ - ๕๔
๐ ผลการเรยี นพอใช้ ๐ - ๔๙
ผลการเรยี นผา่ นเกณฑข์ ั้นตำ่
ผลการเรยี นตำ่ กว่าเกณฑ์

การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน เป็นผ่านและไมผ่ า่ น ถา้ กรณีท่ีผ่าน กำหนด
เกณฑ์การตดั สนิ เป็นดีเยย่ี ม ดี และผา่ น

ดีเยย่ี ม หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน
ทีม่ ีคุณภาพดีเลศิ อยเู่ สมอ

ดี หมายถงึ มผี ลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
ที่มีคุณภาพเปน็ ที่ยอมรับ

ผา่ น หมายถึง มีผลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
ท่ีมีคุณภาพเป็นที่ยอมรบั แตย่ งั มขี อ้ บกพร่องบางประการ

ไม่ผ่าน หมายถงึ ไมม่ ีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์
และเขียน หรอื ถ้ามผี ลงาน ผลงานน้ันยงั มีขอ้ บกพรอ่ งทตี่ อ้ งไดร้ ับการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลายประการ

๑๓.๓ การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รวมทกุ คณุ ลกั ษณะเพื่อการเล่ือนชน้ั และจบ
การศกึ ษา เป็นผา่ นและไม่ผ่าน ในการผา่ น กำหนดเกณฑ์การตัดสนิ เป็นดเี ยี่ยม ดี และผา่ น และ
ความหมายของแต่ละระดบั ดังน้ี

ดีเยีย่ ม หมายถงึ ผู้เรียนปฏิบตั ติ นตามคณุ ลักษณะจนเปน็ นิสยั และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เพอ่ื
ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสงั คม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม จำนวน ๕ - ๘ คณุ ลักษณะ
และไม่มคี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินตำ่ กวา่ ระดบั ดี

ดี หมายถงึ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพอ่ื ใหเ้ ป็นการยอมรับของสงั คม
โดยพจิ ารณาจาก

๑) ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเย่ยี มจำนวน ๑ - ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใดได้ผล
การประเมินตำ่ กว่าระดับดี หรอื

๒) ไดผ้ ลการประเมินระดับดี เยี่ยมจำนวน ๔ คณุ ลกั ษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการ
ประเมนิ ต่ำกว่าระดบั ผ่านหรอื

๓) ไดผ้ ลการประเมินระดับดี จำนวน ๕ - ๘ คณุ ลักษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการ
ประเมนิ ต่ำกว่าระดบั ผา่ น

๒๖

ผ่าน หมายถงึ ผู้เรยี นรบั รู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขที่สถานศึกษากำหนด โดย
พิจารณาจาก

๑) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผา่ น จำนวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการ
ประเมนิ ต่ำกว่าระดับผ่าน หรอื

๒) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จำนวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดได้ผลการ
ประเมนิ ตำ่ กว่าระดับผา่ น

ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผูเ้ รยี นรับรูแ้ ละปฏบิ ตั ไิ ด้ไมค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงือ่ นไขทสี่ ถานศึกษา
กำหนดโดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไมผ่ ่านตงั้ แต่ ๑ คุณลกั ษณะ

การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน จะตอ้ งพจิ ารณาทงั้ เวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรมการปฏิบตั ิ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกำหนดและใหผ้ ลการประเมนิ เป็นผ่าน และไม่ผ่านให้ใช้
ตวั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดงั นี้

“ผ” หมายถงึ ผูเ้ รียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ปฏิบัติ
กิจกรรมและมีผลงานเป็นทีป่ ระจกั ษ์

“มผ” หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน
ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด

ในกรณีท่ผี ูเ้ รียนได้ “มผ” ครูผดู้ ูแลกิจกรรมตอ้ งจัดซอ่ มเสริมใหผ้ ้เู รียนทำกจิ กรรมในสว่ นท่ี
ผู้เรยี นไมไ่ ด้เขา้ รว่ มหรือไม่ไดท้ ำจนครบถว้ น แลว้ จึงเปลยี่ นผลการเรยี นจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทัง้ น้ี ต้อง
ดำเนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปีการศึกษาน้นั ยกเว้นมเี หตสุ ดุ วิสยั ห้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรือ
ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย

การเลอื่ นช้นั
เมอ่ื สิน้ ปีการศึกษา ผู้เรยี นจะได้รับการเลอ่ื นชน้ั เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้
(๑) ผเู้ รยี นตอ้ งมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด
(๒) ผเู้ รียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตวั ช้ีวดั และผ่านเกณฑไ์ มน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของจำนวน

ตวั ช้ีวดั

(๓) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า ไมน่ อ้ ยกวา่ ระดบั “ ๑ ” จงึ จะถอื วา่
ผ่านเกณฑ์ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด

(๔) นกั เรยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น ใน
ระดบั “ ผ่าน ” ขน้ึ ไป มีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในระดบั “ ผ่าน ” ขึ้นไป และมีผลการ
ประเมนิ กจิ กรรมพฒั นานกั เรียน ในระดับ “ ผา่ น ”

ทั้งนี้ ถา้ ผ้เู รียนมขี ้อบกพรอ่ งเพียงเล็กนอ้ ย และพิจารณาเหน็ วา่ สามารถพัฒนาและสอน
ซ่อมเสริมได้ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทจ่ี ะผอ่ นผนั ให้เลอื่ นช้นั ได้

อนงึ่ ในกรณที ผ่ี เู้ รยี นมหี ลักฐานการเรยี นรู้ทีแ่ สดงวา่ มคี วามสามารถดเี ลิศ สถานศึกษาอาจให้
โอกาสผู้เรียนเลอื่ นช้นั กลางปีการศกึ ษา โดยสถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการประกอบดว้ ยฝ่ายวชิ าการของ
สถานศกึ ษาและผแู้ ทนของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาหรอื ตน้ สงั กัดประเมนิ ผ้เู รยี นและตรวจสอบคณุ สมบตั ิให้ครบถว้ น
ตามเง่ือนไขทง้ั ๓ ประการต่อไปนี้

๑. มผี ลการเรียนในปีการศึกษาทผ่ี า่ นมาและมีผลการเรยี นระหวา่ งปีที่กำลังศึกษาอย่ใู น
เกณฑด์ เี ยีย่ ม

๒๗

๒. มวี ุฒภิ าวะเหมาะสมทีจ่ ะเรียนในชัน้ ท่ีสงู ขึ้น
๓. ผา่ นการประเมนิ ผลความรคู้ วามสามารถทกุ รายวชิ าของชั้นปที ีเ่ รยี นปจั จบุ นั และความรู้
ความสามารถทุกรายวิชาในภาคเรียนแรกของชน้ั ปที จี่ ะเล่อื นขน้ึ
การอนุมตั ใิ ห้เลอ่ื นชัน้ กลางปีการศึกษาไปเรยี นชั้นสงู ข้ึนได้ ๑ ระดบั ชั้นน้ี ต้องไดร้ บั การ
ยนิ ยอมจากผู้เรยี นและผูป้ กครองและต้องดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สิ้นก่อนเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ของปีการศึกษาน้นั
สำหรับในกรณีทพี่ บวา่ มผี ู้เรยี นกลมุ่ พเิ ศษประเภทตา่ งๆ มปี ัญหาในการเรียนรใู้ หส้ ถานศกึ ษาดำเนนิ งาน
รว่ มกบั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาเฉพาะความพกิ ารหาแนวทางการแกไ้ ขและพัฒนา

การสอนซ่อมเสรมิ

การสอนซอ่ มเสริม เป็นการสอนเพ่อื แกไ้ ขข้อบกพร่อง กรณที ่ีผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะ กระบวนการ
หรือคณุ ลักษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด จะตอ้ งจดั สอนซอ่ มเสรมิ เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นเตม็
ตามศักยภาพ การสอนซ่อมเสรมิ เป็นการสอนเพื่อแกไ้ ขข้อบกพร่องกรณที ่ีผเู้ รียนมคี วามรู้ ทักษะ
กระบวนการ หรอื เจตคต/ิ คณุ ลักษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษาตอ้ งจดั สอนซ่อม
เสริมเปน็ กรณพี ิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกตเิ พือ่ พัฒนาให้ผเู้ รียนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการ
เรยี นร้/ู ตัวชวี้ ดั ท่กี ำหนดไว้เปน็ การให้โอกาสแกผ่ ู้เรยี นไดเ้ รยี นร้แู ละพัฒนา โดยจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่
หลากหลายและตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

การเปลีย่ นผลการเรยี น
การเปลีย่ นผลการเรียน“๐”

สถานศกึ ษาจดั ให้มีการสอนซอ่ มเสรมิ ในมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั ทีผ่ เู้ รียนสอบไม่ผ่านกอ่ น
แล้วจงึ สอบแก้ตัวได้ไม่เกนิ ๒ ครงั้ ถ้าผู้เรยี นไมด่ ำเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาท่ีสถานศึกษากำหนดให้
อยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทีจ่ ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สำหรบั ภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ ง
ดำเนินการให้เสรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศกึ ษานัน้

ถา้ สอบแก้ตัว ๒ ครง้ั แลว้ ยงั ได้ระดับผลการเรยี น “๐” อีก ใหส้ ถานศกึ ษาแต่งต้งั
คณะกรรมการดำเนนิ การเกี่ยวกบั การเปลี่ยนผลการเรียนของผู้เรียนโดยปฏบิ ตั ดิ งั นี้

๑) ถา้ เป็นรายวชิ าพนื้ ฐานให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น
๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมใหเ้ รยี นซำ้ หรอื เปลีย่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ ทั้งนใี้ หอ้ ยใู่ นดุลย
พนิ จิ ของสถานศึกษา ในกรณีทเ่ี ปลยี่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ ใหห้ มายเหตใุ นระเบยี น
แสดงผลการเรียนว่าเรยี นแทนรายวชิ าใด

การเปล่ยี นผลการเรียน“ร”
การเปลย่ี นผลการเรียน“ร” ใหด้ ำเนินการดงั น้ี ให้ผ้เู รียนดำเนนิ การแกไ้ ข “ร” ตามสาเหตุ

เม่ือผู้เรียนแก้ไขปัญหาเสรจ็ แล้วให้ไดร้ ะดับผลการเรยี นตามปกติ (ตั้งแต่ ๐ - ๔) ถา้ ผู้เรยี นไมด่ ำเนนิ การแกไ้ ข
“ร” กรณที ี่ส่งงานไม่ครบแตม่ ผี ลการประเมนิ ระหวา่ งภาคเรยี นและปลายภาคให้ผู้สอนนำข้อมูลที่มีอยตู่ ัดสิน
ผลการเรียนยกเว้นมีเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไม่
เกนิ ๑ ภาคเรียนสำหรบั ภาคเรียนที่ ๒ ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สิ้นภายในปกี ารศึกษาน้นั เม่ือพ้นกำหนดน้ี
แลว้ ใหเ้ รยี นซำ้ หากผลการเรยี นเป็น “๐” ใหด้ ำเนินการแก้ไขตามหลกั เกณฑ์

๒๘

การเปลีย่ นผลการเรียน “มส”
การเปลย่ี นผลการเรยี น“มส” มี ๒ กรณี ดังน้ี
๑) กรณผี ู้เรยี นไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไมถ่ ึงร้อยละ ๘๐

แต่มเี วลาเรียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวชิ านั้น ให้จดั ใหเ้ รียนเพิม่ เตมิ โดยใชช้ ว่ั โมงสอน
ซอ่ มเสรมิ หรอื ใช้เวลาวา่ ง หรอื ใชว้ นั หยุดหรอื มอบหมายงานให้ทำจนมเี วลาเรยี นครบตามทกี่ ำหนดไวส้ ำหรับ
รายวชิ านั้นแลว้ จึงใหว้ ดั ผลปลายภาคเป็นกรณีพเิ ศษ

ผลการแก้ “มส” ใหไ้ ด้ระดับผลการเรยี นไม่เกนิ “๑” การแก้
“มส” กรณีน้ีใหก้ ระทำให้เสร็จส้ินภายในปกี ารศกึ ษานั้น ถ้าผู้เรียน ไม่มาดำเนนิ การแก้
“มส” ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดไวน้ ใ้ี ห้เรยี นซ้ำ ยกเวน้ มีเหตุสุดวสิ ยั ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษาที่จะ
ขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น แต่เม่อื พ้นกำหนดนแ้ี ล้ว ให้ปฏบิ ตั ดิ ังนี้

(๑) ถา้ เปน็ รายวชิ าพ้ืนฐานใหเ้ รยี นซ้ำรายวชิ าน้นั
(๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา ให้เรยี นซำ้ หรอื เปลย่ี น
รายวชิ าเรียนใหม่
๒) กรณผี ู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรียนน้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของเวลา
เรยี นทง้ั หมดให้สถานศกึ ษาดำเนินการดงั น้ี
(๑) ถา้ เป็นรายวิชาพน้ื ฐานให้เรยี นซ้ำรายวชิ านน้ั
(๒) ถา้ เป็นรายวชิ าเพมิ่ เติมให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษา ให้เรียนซำ้ หรอื เปล่ยี น
รายวชิ าเรียนใหม่ ในกรณที เ่ี ปล่ยี นรายวิชาเรียนใหม่ให้หมายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรยี นวา่ เรยี นแทน
รายวชิ าใด
การเรียนซำ้ รายวิชา ผู้เรยี นทไ่ี ด้รบั การสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตัว ๒ ครง้ั แลว้ ไมผ่ า่ นเกณฑ์
การประเมินให้เรยี นซำ้ รายวิชานนั้ ทงั้ นใี้ ห้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาในการจัดใหเ้ รียนซ้ำในช่วงใด
ช่วงหนึง่ ท่ีสถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เชน่ พกั กลางวัน วนั หยดุ ชั่วโมงวา่ งหลงั เลกิ เรยี น ภาคฤดูร้อนเป็น
ตน้
ในกรณภี าคเรยี นที่ ๒ หากผเู้ รียนยงั มผี ลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ให้ดำเนินการใหเ้ สร็จ
ส้นิ ก่อนเปิดเรียนปีการศึกษาถดั ไป สถานศกึ ษาอาจเปดิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแก้ไขผลการ
เรียนของผู้เรียนได้
การเปลีย่ นผล“มผ”
กรณีทผี่ ู้เรียนไดผ้ ล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซอ่ มเสริมให้ผู้เรยี นทำกจิ กรรมในส่วนทผี่ ู้เรยี น
ไม่ไดเ้ ข้าร่วมหรอื ไม่ไดท้ ำจนครบถว้ น แล้วจงึ เปลี่ยนผลจาก “มผ”เป็น “ผ” ได้ ทั้งนด้ี ำเนนิ การให้เสรจ็ ส้นิ
ภายในภาคเรียนน้ัน ๆ ยกเว้นมเี หตุสุดวิสยั ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาท่ีจะพจิ ารณาขยายเวลาออกไป
อีกไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี น สำหรบั ภาคเรียนที่ ๒ ต้องดำเนนิ การให้เสร็จสนิ้ ภายในปีการศกึ ษานัน้

การเรียนซำ้ ช้นั
ผเู้ รียนท่ไี มผ่ ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรยี นในระดับชั้นท่ี

สูงขึน้ สถานศึกษา ต้องตง้ั คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซำ้ ชั้นได้ ทั้งนี้ใหค้ ำนึงถึงวฒุ ภิ าวะและความรู้
ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ สำคัญ

ผเู้ รียนท่ไี ม่มคี ุณสมบัตติ ามเกณฑ์การเล่อื นช้ัน สถานศึกษาควรใหเ้ รียนซ้ำช้นั ท้งั น้ี สถานศกึ ษา
อาจใชด้ ุลยพนิ จิ ให้เลอ่ื นชน้ั ได้ หากพิจารณาวา่ ผเู้ รยี นมคี ุณสมบตั ขิ ้อใดขอ้ หนง่ึ ดงั ต่อไปน้ี

๒๙

๑) มีเวลาเรยี นไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อนั เนือ่ งจากสาเหตจุ ำเป็นหรอื เหตุสุดวสิ ัย แตม่ ี
คุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนช้นั ในข้ออ่นื ๆ ครบถ้วน

๒) ผ้เู รียนมผี ลการประเมนิ ผา่ นมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ไม่ถึงเกณฑ์ตามท่ี
สถานศึกษากำหนดในแตล่ ะรายวิชา แต่เห็นวา่ สามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปกี ารศกึ ษาน้นั และมคี ุณสมบตั ิ
ตามเกณฑ์การเล่ือนช้ันในข้ออนื่ ๆ ครบถว้ น

๓) ผูเ้ รียนมผี ลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรมอยู่ในระดับผ่าน

ก่อนที่จะให้ผูเ้ รียนเรยี นซำ้ ชน้ั สถานศกึ ษาตอ้ งแจ้งใหผ้ ปู้ กครองและผเู้ รียนทราบเหตุผลของ
การเรยี นซำ้ ชั้น

เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เปน็ เอกสารสำคญั ทบี่ ันทึกผลการเรียน ข้อมลู และสารสนเทศที่เก่ียวข้อง
กับพัฒนาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั นี้
๑. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด

๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ
ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทกึ ข้อมูลและออกเอกสารน้ี
ใหผ้ ูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล เมือ่ ผ้เู รียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา

๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและ
ข้อมูลของผ้จู บการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา
๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากำหนด

เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับ
ผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรอง
ผลการเรียน และ เอกสารอ่ืนๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้

การเทยี บโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ

เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรยี นรู้อืน่ ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชพี การจัดการศกึ ษาโดย
ครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรยี นควรดำเนินการในชว่ งกอ่ นเปิดภาคเรียนแรก หรอื ต้นภาคเรียนแรก ท่ี
สถานศึกษารบั ผขู้ อเทียบโอนเปน็ ผู้เรียน ทง้ั น้ี ผเู้ รยี นทไี่ ด้รบั การเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งใน
สถานศึกษาทีร่ บั เทยี บโอนอย่างนอ้ ย ๑ ภาคเรยี น โดยสถานศกึ ษาทีร่ ับผ้เู รยี นจาก
การเทยี บโอนควรกำหนดรายวชิ า/จำนวนหน่วยกิตทจี่ ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนนิ การได้ ดงั นี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรยี น

๓๐

๒. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผเู้ รียนโดยการทดสอบดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ ทงั้ ภาคความรู้
และภาคปฏบิ ัติ

๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง
การเทยี บโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏบิ ตั ิ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

การบรหิ ารจดั การหลกั สูตร
ในระบบการศึกษาทม่ี ีการกระจายอำนาจให้ท้องถน่ิ และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร

นั้น หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มี
บทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบในการพฒั นา สนับสนนุ ส่งเสริม การใชแ้ ละพัฒนาหลกั สูตรให้เปน็ ไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ เพื่อให้การดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ใน
ระดบั ชาติคณุ ภาพของของผู้เรยี นท่ีสำคัญ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานที่มี
บทบาทในการขับเคลือ่ นคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา เปน็ ตัวกลางทจี่ ะเชื่อมโยงหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐานที่กำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การจัดทำ
หลักสตู รของสถานศึกษา สง่ เสริมการใชแ้ ละพัฒนาหลักสูตรในระดบั สถานศึกษา ใหป้ ระสบความสำเรจ็ โดยมี
ภารกิจสำคัญ คือ กำหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้
สอดคล้องกบั สง่ิ ท่ีเป็นความตอ้ งการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาใน
ระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน
สง่ เสรมิ ติดตามผล ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และรายงานผลคณุ ภาพของผเู้ รียน

สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้หลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทำระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงาน สังกัดอื่นๆ ในระดับท้องถิ่นได้
จัดทำเพ่ิมเติม รวมท้งั สถานศกึ ษาสามารถเพ่มิ เตมิ ในสว่ นท่ีเก่ยี วกบั สภาพปญั หาในชมุ ชนและสังคม ภมู ปิ ญั ญา
ท้องถนิ่ และความตอ้ งการของผเู้ รยี น โดยทกุ ภาคส่วนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา

๓๑

คณะผู้จัดทำ

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะทป่ี รึกษา ภัทรโสตถิ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร
เวียงจันทร์ รองผู้อำนวยการ
1. นางสาวกันยาภัทร นอ้ ยวรรณะ รองผู้อำนวยการ
2. นางวรี วัลย์ อดทน รองผู้อำนวยการ
3. นางสมุ นา ยอดเชยี งคำ หัวหนา้ งานวชิ าการ
4. นางสาวจันทิมา
5. นางเนตรชนก

คณะทำงาน

1. นายธชั ยพงศ์ ปาละหงษา ประธาน
รองประธาน
2. นางพชั ราภรณ์ ระวา้ กรรมการ
กรรมการ
3. นางสาววภิ ารตั น์ ลามทมุ กรรมการ
กรรมการ
4. นางเนตรชนก ยอดเชยี งคำ กรรมการ
กรรมการ
5. นางสาวจรี วรรณ แกว้ ดวงผาง กรรมการ
กรรมการ
6. นางสาวฤทัยรตั น์ ผลพิกุล กรรมการ
กรรมการ
7. นางสาวสกุ ัญญา อดุ ราช กรรมการและเลขานกุ าร

8. นางสาวเยาวลักษณ์ อักษรมตั

9. นายดนัยพงศ์ อดุ มย่ิงเจรญิ

10. นางสาวสวรส พ่ึงสวา่ ง

11. นายนฤดล สีมีงาม

12. นายทราทศิ จารุภคนธิ ิ

13. นางสาวเพชรรตั น์ อภัยภกั ด์ิ

๓๒

บรรณานุกรม

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๒). หลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย

จำกดั
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
(๒๕๕๒ ก,). ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา

และวฒั นธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรง
พมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
_______________(๒๕๕๒ ข.). ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ค.). ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุม
สหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ง.). ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตาม

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ จ.). ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ฉ.). ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ช.). ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
และเทคโนโลยี ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ซ.). ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษา
และพลศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั
_______________(๒๕๕๒ ฌ.). แนวทางการบริหารจัดการหลกั สตู ร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด
_______________(๒๕๕๒ ญ.). แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ
สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด
_______________ (๒๕60). ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จำกัด


Click to View FlipBook Version