1
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
กระทรวงศึกษาธิการ
2
ความนาํ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตร
แกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายและกรอบทิศทางในการ
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มคี ุณภาพชีวติ ที่ดแี ละมขี ีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับ
โลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกันน้ีได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับ
เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ที่
มุ่งเน้นการกระจายอํานาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ินและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนา
หลกั สูตร เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ และความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ (สํานกั นายกรฐั มนตรี, 2542)
จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 5 ปีที่ผ่านมา (สํานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.: สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2547; สํานัก
ผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548: สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong,
2002; Kittisunthorn, 2003) พบวา่ หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ มีจุดดี หลายประการ
เชน่ ชว่ ยส่งเสริมการกระจายอํานาจทางการศึกษาทําให้ทอ้ งถน่ิ และสถานศกึ ษามีสว่ นร่วมและ มบี ทบาทสําคัญ
ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการใน การส่งเสริม
การพฒั นาผู้เรียนแบบองคร์ วมอยา่ งชดั เจน อยา่ งไรกต็ าม ผลการศึกษาดังกล่าวยงั ได้สะท้อนให้ เห็นถงึ ประเด็น
ที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการท้ังในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนํา
หลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ ปฏิบัติในระดับ
สถานศกึ ษาในการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาสว่ นใหญ่กําหนดสาระและผลการ เรียนรู้ที่คาดหวัง
ไว้มาก ทําให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อ ปัญหาการจัดทํา
เอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรยี น รวมทั้งปัญหาคุณภาพ ของผู้เรียนในด้านความรู้
ทักษะ ความสามารถและคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์อนั ยงั ไมเ่ ป็นท่นี า่ พอใจ
นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) ได้ชี้ให้เห็นถึง
ความจําเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้
อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการ
เปลย่ี นแปลงเพ่ือนําไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างม่ันคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชน
ให้มีพ้ืนฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พ้ืนฐานที่จําเป็นในการ
ดํารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2549) ซึ่ง
แนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โ ลกยุค
ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มี
ทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551)
3
จากข้อค้นพบในการศกึ ษาวิจัยและตดิ ตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2545
ท่ีผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เก่ียวกับแนวทางการ
พฒั นาคนในสงั คมไทย และจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการใน การพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษท่ี 21 จึงเกิดการ
ทบทวนหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2545 เพื่อนําไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ซัดเจน ท้ังเปูาหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพ
ผูเ้ รียน และกระบวนการนําหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการ
กาํ หนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดท่ีชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทําหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้
กาํ หนดโครงสรา้ งเวลาเรียนขั้นต่าํ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรใู้ นแต่ละชัน้ ปไี วใ้ นหลักสูตรแกนกลาง และเปิด
โอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและ
ประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความ
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ และมีความชัดเจนตอ่ การนําไปปฏิบตั ิ
เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จัดทําข้ึนสําหรับท้องถ่ินและ
สถานศึกษาได้นําไปใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียน การสอนเพ่ือ
พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และ ทักษะท่ีจําเป็น
สาํ หรบั การดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอด
ชวี ติ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กําหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทําให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทําให้การจัดทํา
หลกั สูตรในระดับสถานศึกษามคี ณุ ภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งข้นึ อีกทงั้ ยังชว่ ยให้เกดิ ความชัดเจนเร่ืองการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา
หลักสูตรในทกุ ระดับตงั้ แต่ระดบั ชาตจิ นกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตวั ช้วี ดั ท่กี ําหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน รวมท้งั เป็นกรอบทศิ ทางในการจัดการศึกษา
ทุกรูปแบบ และครอบคลมุ ผ้เู รยี นทุกกลมุ่ เปูาหมายในระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะประสบความสําเร็จตามเปูาหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝุาย ท่ี
เกย่ี วข้องท้ังระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลต้องรว่ มรบั ผิดชอบ โดยรว่ มกันทาํ งานอยา่ งเป็นระบบ และ
ตอ่ เนอื่ ง ในการวางแผน ดาํ เนินการ ส่งเสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชน
ของชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ก่ี าํ หนดไว้
4
วิสัยทศั น์
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน มงุ่ พัฒนาผ้เู รยี นทกุ คน ซ่งึ เป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี
ความสมดุลทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสํานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง
เจต คติ ที่จาํ เปน็ ตอ่ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบน
พื้นฐานความเชื่อวา่ ทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
หลกั การ
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มีหลกั การที่สําคัญ ดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น
เปาู หมายสําหรบั พฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพื้นฐานของความเป็น ไทย
ควบคู่กบั ความเปน็ สากล
2. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ทปี่ ระชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ
มี คุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิน่
4. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาทม่ี ีโครงสร้างยืดหยุ่นท้งั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้
5. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาํ คัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปาู หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จดุ หมาย
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ
ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กําหนดเป็นจดุ หมายเพอื่ ให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3.
มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกาํ ลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและ การปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
5
5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทีม่ ุ่งทาํ ประโยชน์และสรา้ งสง่ิ ที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข
สมรรถนะสาํ คัญของผ้เู รียน และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทีก่ ําหนด ซึ่งจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาํ คัญและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั นี้
สมรรถนะสาํ คัญของผเู้ รยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มงุ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรับหรอื ไมร่ ับขอ้ มลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วิธกี ารสือ่ สาร ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคาํ นงึ ถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน ต่อตนเอง สังคมและ สงิ่ แวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การ
ดาํ เนนิ ชีวติ ประจาํ วนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคม
ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และ มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทํางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
6
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อนื่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตย์สจุ รติ
3. มวี นิ ัย
4. ใฝเุ รยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมนั่ ในการทํางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศกึ ษาสามารถกาํ หนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พม่ิ เติมให้สอดคล้องตามบริบทและ
จุดเนน้ ของตนเอง
มาตรฐานการเรยี นรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จงึ กาํ หนดให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กําหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายสําคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ท่ีพึง
ประสงค์เมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน
พฒั นาการศกึ ษาทง้ั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะทอ้ นใหท้ ราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ
7
ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการ
ประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก ซ่งึ รวมถงึ การทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ
การทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคณุ ภาพดงั กล่าวเป็นสิ่งสําคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัด
การศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ภาพตามทีม่ าตรฐานการเรยี นรกู้ ําหนดเพียงใด
ตัวชว้ี ัด
ตวั ช้ีวัดระบสุ ่งิ ท่ีนักเรยี นพงึ รู้และปฏบิ ัตไิ ด้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นซ่ึงสะท้อน
ถึง มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นําไปใช้ในการกําหนดเน้ือหา จัดทํา
หนว่ ย การเรยี นรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ผเู้ รยี น
1. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3)
2. ตัวช้ีวัดชว่ งชนั้ เป็นเปาู หมายในการพัฒนาผเู้ รยี นในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
(มัธยมศึกษาปที ่ี4- 6)
8
ความสัมพันธ์ของการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้
วิสัยทศั น์
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความ
สมดลุ ท้ังดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสํานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดม่ันในการ ปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจําเป็นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิต โดยม่งุ เนน้ ผู้เรียนเป็นสําคัญบน พื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคน
สามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
จดุ หมาย
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มีวินยั และปฏิบัติตนตาม หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทกั ษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี มสี ุขนสิ ัย และรกั การออกกําลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ใน
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
5. มจี ิตสาํ นกึ ในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะที่
มงุ่ ทาํ ประโยชนแ์ ละสร้างสิง่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ
สมรรถนะสาํ คญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ความสามารถในการคดิ 2. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 3. มวี นิ ัย
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 4. ใฝุเรียนรู้
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. อยู่อย่างพอเพียง
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัด ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตร์ 1.กิจกรรมแนะแนว
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธครุณรมภา5พ. สขุขอศงึกผษู้เารแียลนะรพะลดศบักึ ษกาารศกึ ษา2ข.กนั้ ิจพกร้ืนรฐมานนกั เรยี น
6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8. ภาษาตา่ งประเทศ 3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
คณุ ภาพของผูเ้ รียนระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
9
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
ทําไมต้องเรยี นศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี
จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรม
ทางศิลปะชว่ ยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนําไปสู่การ พัฒนา
สิ่งแวดลอ้ ม ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง อันเป็นพืน้ ฐานในการศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชพี ได้
เรยี นร้อู ะไรในศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิด
ความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่างๆ ประกอบด้วย
สาระสําคญั คือ
• ทัศนศิลป์ มีความร้คู วามเขา้ ใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนําเสนอผลงานทาง ทัศนศิลป์
จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการของศิลปินใน การสร้าง
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ ร ะหว่าง
ทศั นศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเห็นคุณค่างานศิลปะทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่นภูมิ
ปัญญาไทยและสากล ชน่ื ชม ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจําวัน
• ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วพิ ากษ์วิจารณค์ ณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงค วามคิดเห็น
เกีย่ วกบั เสยี งดนตรี แสดงความรู้สึกทีม่ ีต่อดนตรีในเชงิ สนุ ทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณี
วัฒนธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวตั ิศาสตร์
• นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ใช้
ศัพทเ์ บื้องต้นทางนาฏศิลป์ วเิ คราะหว์ พิ ากษ์ วิจารณค์ ุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง อิสระ
สร้างสรรคก์ ารเคลอ่ื นไหวในรปู แบบต่างๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ในชีวิตประจําวัน เข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่าง
นาฏศิลปก์ บั ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน
ภมู ิปญั ญาไทย และสากล
10
สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
มาตรฐาน ศ 1.1 วพิ ากษ์วิจารณค์ ุณค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง
อสิ ระชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจําวัน
มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
สาระท่ี 2 ดนตรี ทศั นศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล
มาตรฐาน ศ 2.1
เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
มาตรฐาน ศ 2.2 ดนตรีถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ ชวี ิตประจําวนั
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
มาตรฐาน ศ 3.2
เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจาํ วัน
เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ
นาฏศลิ ปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
11
คุณภาพผเู้ รียน
จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
• รูแ้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกับรปู รา่ ง รูปทรง และจาํ แนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์ มีทักษะพ้นื ฐานการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ในการสรา้ งงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รปู รา่ ง รูปทรง สี
และพื้นผิว ภาพปะติศ และงานปั้น งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจาก
เรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการ
ปรับปรุงงานของตนเอง
• รู้และเข้าใจความสําคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจําวัน ท่ีมาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถ่ิน
ตลอดจนการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ในท้องถ่นิ
• รแู้ ละเข้าใจแหล่งกําเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าท่ี ความหมาย ความสําคัญ ของบท
เพลงใกล้ตัวท่ีได้ยนิ สามารถท่องบทกลอน รอ้ งเพลง เคาะจงั หวะ เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ให้สอดคล้องกับบทเพลง
อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับคนตรี เสียงขับร้องของ
ตนเอง มสี ่วนรว่ มกบั กจิ กรรมดนตรีในชวี ติ ประจาํ วนั
• รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของคนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสําคัญ และประโยชน์ของ
ดนตรตี อ่ การดําเนินชีวิตของคนในท้องถน่ิ
• สรา้ งสรรคก์ ารเคลอื่ นไหวในรปู แบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าท่ีของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ใน
ชีวติ ประจาํ วัน เข้าร่วมกจิ กรรมการแสดงทเี่ หมาะสมกบั วยั
• รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ช่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่น
พนื้ บา้ น สามารถเช่ือมโยงสิ่งท่พี บเหน็ ในการละเลน่ พ้นื บา้ นกบั การดํารงชวี ิต ของคนไทย บอกลักษณะเด่นและ
เอกลักษณข์ องนาฏศิลป์ไทยตลอดจนความสําคญั ของการแสดง นาฏศิลป์ไทยได้
12
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั
รายวิชาศลิ ปะ รหสั วชิ า ศ 13101 รวมเวลา 40 ชั่วโมง
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565
สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป์
มาตรฐานการเรยี นรู้ ศ 1.1 สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากย์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชน่ื และประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาํ วนั
มาตรฐานการเรียนร้ทู ่ี ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิ
ปัญญาไทย และสากล
ตัวชวี้ ัด ศ 1.1 ป.3/1 บรรยายรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อม และงานทศั นศิลป์
ศ 1.1 ป.3/2 ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้สร้างผลงานเมือ่ ชมงานทัศนศลิ ป์
ศ 1.1 ป.3/3 จาํ แนกทัศนธาตขุ องส่งิ ตา่ งๆในธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์โดย
เนน้ เร่ือง เสน้ สี รูปรา่ ง รปู ทรง และพน้ื ผิว
ศ 1.1 ป.3/4 วาดภาพ ระบายสี ส่ิงรอบตวั
ศ 1.1 ป.3/5 มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์สร้างสรรคง์ านปั้น
ศ 1.1 ป.3/6 วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น
รูปรา่ ง รปู ทรง สี และพน้ื ผวิ
ศ 1.1 ป.3/7 บรรยายเหตุผลและวิธีในการสร้างงานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิค และ
วัสดุ อปุ กรณ์
ศ 1.1 ป.3/8 ระบสุ ิ่งท่ชี ่ืนชมและสิ่งท่ีควรปรับปรงุ ในงานทศั นศิลป์ของตนเอง
ศ 1.1 ป.3/9 ระบุ และจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตทุ ่ีเน้นในงานทศั นศลิ ป์นน้ั ๆ
ศ 1.1 ป.3/10 บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบส่ิงต่างๆท่ีมีในบ้าน
และโรงเรยี น
ศ 1.2 ป.3/1 เลา่ ถงึ ทม่ี าของงานทศั นศิลป์ในทอ้ งถน่ิ
ศ 1.2 ป.3/2 อธิบายเกยี่ วกบั วัสดุ อปุ กรณ์ และวิธีการสรา้ งงานทศั นศิลปใ์ นท้องถ่นิ
13
คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหัสวชิ า ศ 13101 รายวิชาศลิ ปะ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชว่ั โมง จํานวน 0.5 หนว่ ยกติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ศึกษาและจาํ แนกทศั นธาตุของส่ิงต่างๆ โดยเน้นเร่ือง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพ้ืนผิว ในธรรมชาติ
สงิ่ แวดล้อม และงานทัศนศิลป์ บอกวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้และเทคนิควิธีการสร้างงาน ทัศนศิลป์ประเภทงานวาด
งานป้ัน งานพิมพ์ วาดภาพระบายสีส่ิงของรอบตัว ภาพถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง
ดว้ ยสเี ทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์ ใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานปั้น แสดงความคิดเห็นในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
จัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทศั นศลิ ป์นั้นๆ บรรยายรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบส่ิงต่างๆ
ทมี่ ใี นบา้ นและโรงเรยี น ที่มา วสั ดุ อุปกรณ์ และ วธิ กี ารสร้างงานของงานทัศนศลิ ปใ์ นทอ้ งถ่นิ
โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย กระบวนการสืบค้นข้อมูล ทักษะกระบวนการ
แก้ปัญหา ทักษะกระบวนการใช้ชีวิต ทักษะการปฏิบัติ กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ทักษะ
กระบวนการใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื ใหเ้ กิดความใฝรุ ้ใู ฝุเรยี น มุ่งในการถา่ ยทอดความคิด ความรู้สึก ความช่ืนชมและ
เห็นคุณคา่ ในการนาํ ไปปฏบิ ัตแิ ละประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ตัวชว้ี ดั
ศ 1.1 ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6,ป.3/7,ป.3/8,ป.3/9,ป.3/10
ศ 1.2 ป.3/1,ป.3/2
รวม 12 ตวั ช้ีวดั
14
รหัสวชิ า ศ 13101 โครงสร้างรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จํานวน 0.5 หน่วยกิต
รายวชิ าศลิ ปะ
เวลา 40 ชวั่ โมง
หน่วยการเรียนร/ู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นา้ํ หนัก
แผนการจัดการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน
(100)
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 12
1 25
1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ศ 1.1 - ทศั นธาตุ ได้แก่ เส้น สี รปู ร่าง 1
รูปทรง พบได้ตามธรรมชาติ 1
เรอ่ื ง จุด และเส้น ป.3/1 บรรยาย สง่ิ แวดลอ้ ม และงาน 2
ทัศนศลิ ป์ นับเปน็ พน้ื ฐานสาํ คญั ใน 2
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 2 รูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ การสรา้ งงานทัศนศิลป์ 2
- รปู ร่าง รูปทรง เป็นทัศนศิลป์พบ 2
เรือ่ ง รูปรา่ ง สง่ิ แวดล้อม และงาน ไดต้ ามธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์
เรื่อง รูปทรง ป.3/3 จาํ แนกทศั นธาตุของ ประกอบด้วย รูปร่าง รปู ทรง3
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 ส่งิ ต่างๆใน ประเภท คอื ธรรมชาติ เรขาคณิต
เรอ่ื ง พนื้ ผิว ธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม และ และอสิ ระ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 งานทศั นศลิ ป์โดยเน้นเร่อื ง - การวาดภาพระบายสี ชว่ ยใหเ้ รา
เร่อื ง ทฤษฎสี ีเบอ้ื งต้น เสน้ สี แสดงความรสู้ ึกทดี่ ี และไม่ดีท่มี ตี อ่
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 รปู รา่ ง รูปทรง และพืน้ ผวิ ธรรมชาติ
เรื่อง วรรณะของสี ป.3/4 วาดภาพ ระบายสี สง่ิ แวดลอ้ มได้ หากเรารจู้ ักสังเกต
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 สงิ่ รอบตวั จดจํารปู ร่าง ลักษณะ ขนาด และ
ความรู้สึกสมั ผสั
เรอ่ื ง สคี ตู่ รงข้าม จากสิ่งต่างๆรอบตัว จะช่วยให้เรา
ถ่ายทอดความรู้สึกได้ดยี ่ิงขน้ึ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8
เรื่อง การใชส้ ีคู่ตรงข้าม
หน่วยการเรียนร/ู้ แผนการ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด เวลา 15
(ช่ัวโมง)
จัดการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั - งานปัน้ คอื การนําวสั ดุเนือ้ อ่อนท่ี น้าํ หนกั
สามารถเปลีย่ นรปู ได้ มาพอก ปน้ั 14 คะแนน(100)
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 สร้างสรรคง์ านศิลป์ แกะสลัก ให้เกิดเปน็ รูปทรงตาม 2
ต้องการด้วยมอื และวสั ดุอปุ กรณ์ 2 30
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 ศ 1.1 ชนดิ ตา่ งๆ งานปัน้ มีความแตกตา่ ง 2
จากการวาดภาพระบายสี ภาพ 10
เร่ือง ออกแบบงานปน้ั ป.3/2 ระบุ วสั ดุ อุปกรณท์ ่ี พิมพ์ทงั้ เทคนคิ วิธกี าร มิติ และ 2
วัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ช้
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 ใชส้ ร้างผลงานเมอ่ื ชมงาน - ภาพพิมพ์ คอื การสร้างงานดว้ ย 2
วธิ พี มิ พจ์ ากแม่พิมพ์ลักษณะต่างๆ 2
เรื่อง พื้นฐานงานปัน้ ทัศนศลิ ป์ โดยนําแมพ่ ิมพ์มาทาสี แล้วกดลง 2
บนวสั ดผุ วิ เรยี บ เพือ่ ใหเ้ กิดภาพ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 11 ป.3/5 มที ักษะพื้นฐาน ใน เหมอื นกันซํา้ ๆตามจํานวนที่ 6
ต้องการ โดยไมต่ อ้ งวาดซาํ้ กันเป็น 2
เรื่อง งานปนั้ อาหาร การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ จาํ นวนมาก ภาพพิมพจ์ งึ มีความ 2
แตกต่างจากการวาดภาพระบายสี 2
(ลอยตัว) สร้างสรรคง์ านป้นั และงานปัน้ ทง้ั เทคนคิ วธิ ี จํานวน
ผลงาน และวสั ดอุ ุปกรณท์ ีใ่ ช้
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 ป.3/7 บรรยายเหตผุ ลและ
เรอ่ื ง งานปน้ั สตั ว์หรรษา วธิ ีในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์
(นนู สูง) โดยเน้นถงึ เทคนคิ และวัสดุ
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 13 อปุ กรณ์ป.3/8 ระบุสง่ิ ทชี่ น่ื
เรอ่ื ง ภาพพมิ พใ์ นธรรมชาติ ชมและส่ิงทคี่ วรปรบั ปรุงใน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 14 งานทัศนศลิ ปข์ องตนเอง
เรื่อง ภาพพมิ พ์ลายนิว้ มอื
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15
เร่อื ง สรา้ งสรรคง์ านภาพ
พิมพ์
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 วาดภาพจากประสบการณ์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 16 ศ 1.1 -การวาดภาพจากเหตกุ ารณใ์ นชวี ิต
เป็นถ่ายทอดประสบการณ์
เรอื่ ง ครอบครัวของฉนั ป.3/6วาดภาพถ่ายทอด เรอื่ งราวของตนเอง ซงึ่ เป็นการฝึก
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 17 ความคิดความรู้สกึ จาก เลา่ เนื้อหา ความคดิ ความรู้สึกท่มี ี
เรอ่ื ง สัตว์เลยี้ งทีฉ่ นั ชอบ เหตุการณช์ วี ิตจรงิ โดยใช้ ตอ่ เหตกุ ารณ์นน้ั ๆออกมาเป็นภาพ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 18 เสน้ รปู ร่าง รูปทรง สี และ ซึง่ ต้องอาศัยการสงั เกต จดจํา
เรื่อง วันหยดุ สุดสปั ดาห์ พื้นผวิ ลาํ ดบั เหตกุ ารณ์ก่อนนํามาถา่ ยทอด
เปน็ ผลงาน
ป.3/7บรรยายเหตุผลและ
วิธีในการสรา้ งงานทัศนศิลป์
โดยเนน้ ถึงเทคนคิ และวสั ดุ
อปุ กรณ์
ป.3/8ระบสุ ง่ิ ทช่ี น่ื ชมและสิง่
ทีค่ วรปรบั ปรงุ ในงาน
ทศั นศิลปข์ องตนเอง
16
หน่วยการเรียนร/ู้ แผนการ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้ําหนัก
(ชั่วโมง) คะแนน(100)
จัดการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด - งานทศั นศลิ ป์รอบตัว มลี กั ษณะที่
หลากหลาย ล้วนเกีย่ วข้องกับ 8 15
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 งานศลิ ปถ์ น่ิ ไทย ชีวิตประจาํ วัน สถานท่ีสําคัญ 2
ประเพณที อ้ งถน่ิ ซง่ึ มปี ระโยชนแ์ ละ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 20 ศ 1.2 มคี ณุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์ ควรรจู้ ัก 2
อนรุ ักษแ์ ละนําความรูเ้ กย่ี วกับการ
เรอ่ื ง จกั สานงานศิลป์ ป.3/1เลา่ ถึงทมี่ าของงาน สร้างงานทัศนศิลป์เหล่าน้ี มาสืบ 2
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 21 ทัศนศลิ ป์ในท้องถน่ิ ทอดต่อไป
เรอ่ื ง งานศลิ ป์ทอ้ งถิ่นฉัน 2
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 22 ป.3/2 อธิบายเกี่ยวกับวัสดุ
เรอ่ื ง ฮปู แต้ม สนิ ไซ อปุ กรณ์ และวิธกี ารสรา้ ง
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 23 งานทศั นศลิ ป์ในท้องถน่ิ
เรื่อง สบื สานงานศลิ ป์
(บญุ ประเพณี)
คะแนนตามหนว่ ยการเรียนรู้ - 80
สอบปลายภาคเรยี นที่ 1/2565 - 10
สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2/2565 - 10
รวมตลอดปกี ารศึกษา 2565 40 100
17
รายวิชาพ้นื ฐาน
รายวชิ าศลิ ปะ
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2565
1. จาํ นวน 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
จํานวน 40 ชัว่ โมง/ปีการศกึ ษา
2. ผเู้ ขยี นคู่มือ นายเดชศักดา ศรจี ันทร์เวยี ง
ชือ่ ระดบั ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑติ (ศษ.บ)
การศึกษา สาขาศิลปศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
081 873 2659
โทรศัพท์
18
รายวชิ าพน้ื ฐาน ศ 13101
แผนการจดั การเรียนรู้
รายวิชาศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3
นายเดชศักดา ศรจี นั ทร์เวียง
ครผู ู้สอน
19
แผนการจัดการเรียนรู้
(เรื่อง วรรณะของสี กิจกรรม : ดนิ แดนแหง่ วรรณะสี )
ผลการจัดการเรยี นร้ใู นรายวชิ าศิลปะเร่อื ง ทฤษฎีสี โดยใช้การจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื กันเรยี นรู้
LT (Learning Together)
ช่ือรายวิชา ทัศนศิลป์ วิชาศิลปะพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ระดับช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ศิลปะในธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เวลา 60 นาที
ผู้สอน : นายเดชศักดา ศรีจันทร์เวียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 วันท่ี …../3/2565
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑/๑ สร้างงานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวิต2. ตัวช้ีวัด
จําแนกทัศนธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง
รูปทรง และพื้นผิว (ศ 1.1 ป.3/3)
3.สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เนน้
3.1 สมรรถนะ
ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
- ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์
ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
- กระบวนการปฏบิ ตั ิ
- สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวนั ได้
3.2 คณุ ลกั ษณะ
- มวี ินัย
- ใฝเุ รียนรู้
- คคู่ ุณธรรม
- มุง่ ม่ันในการทํางาน
20
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. นักเรียนสามารถอธิบายถึงวรรณะสีโทนร้อนและเย็นได้
ด้านกระบวนการ (P)
2.นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์โดยใช้สีโทนร้อนและเย็นได้
ด้านจิตพิสัย (A)
3.นกั เรียนมีกระบวนการการทาํ งานรว่ มกบั ผ้อู ่นื ได้
5. สาระสําคัญ
วรรณะของสี วรรณะของสี คือสีท่ใี ห้ความรูส้ ึกร้อน-เยน็ ในวงจรสีจะมีสีร้อน 7 สี และสีเย็น 7 สี ซ่ึง
แบง่ ท่ี สมี ว่ งกับสเี หลือง ซง่ึ เป็นได้ท้งั สองวรรณะ แบ่งออกเป็น วรรณะ คือ วรรณะร้อนและวรรณะสีเย็น
6. สาระการเรียนรู้
วรรณะของสี คือสีท่ีให้ความรู้สึกร้อน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีร้อน 7 สี และสีเย็น 7 สี ซ่ึงแบ่งท่ี สีม่วง
กบั สเี หลือง ซึ่งเป็นได้ท้ังสองวรรณะ แบง่ ออกเป็น 2 วรรณะ
1.วรรณะสีรอ้ น (WARM TONE) ประกอบด้วยสเี หลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีม่วงแดงและสี
ม่วง สีใน วรรณะรอ้ นน้ีจะไมใ่ ชส่ สี ดๆ ดังท่ีเห็นในวงจรสีเสมอไป เพราะสีในธรรมชาติย่อมมีสีแตกต่างไปกว่าสี
ในวงจรสธี รรมชาติอีกมาก ถ้าหากวา่ สีใด คอ่ นขา้ งไปทางสีแดงหรือสีส้ม เช่น สีนํ้าตาลหรือสีเทาอมทอง ก็ถือ
ว่าเปน็ สวี รรณะรอ้ น วรรณะร้อนใหค้ วามร้สู ึกตนื่ ตา มีพลัง อบอ่นุ สนุกสนาน ตนื่ เตน้ เร่งเร้าอารมณ์ และดึงดูด
ความสนใจไดด้ ี โครงสรี ้อนนสี้ ภาพโดยรวมจะมีความกลมกลนื ของสีมากควรมีสีเย็นมาประกอบบ้างทําให้ภาพ
มีความนา่ สนใจมากข้นึ
21
ตัวอย่างภาพสีโทนรอ้ น
2.วรรณะสเี ยน็ (COOL TONE) ประกอบด้วย สีเหลือง สีเขียวเหลือง สีเขียว สีเขียวนํ้าเงิน สีนํ้า
เงนิ สีม่วงนาํ้ เงิน และสีมว่ ง ส่วนสอี นื่ ๆ ถา้ หนกั ไปทางสนี ํ้าเงนิ และสีเขียวกเ็ ป็นสวี รรณะเย็นดงั เชน่ สเี ทา สี
ดาํ สเี ขยี วแก่ เป็นต้น จะสังเกตได้ว่าสีเหลืองและสีม่วงอยู่ท้ังวรรณะร้อนและวรรณะเย็น ถ้าอยู่ในกลุ่มสี
วรรณะรอ้ นกใ็ หค้ วามรูสึกร้อนและถ้า อยใู่ นกลุ่มสวี รรณะเยน็ ก็ใหค้ วามรู้สึกเย็นไปด้วย สีเหลืองและสีม่วง
จงึ เปน็ สีไดท้ ัง้ วรรณะรอ้ นและวรรณะเย็น ให้ความรู้สึกสภุ าพ สงบ ลึกลบั เยือกเย็น ในทางจติ วิทยาสีเย็นมี
ความสมั พนั ธ์กับความรสู้ ึกหดหู่ เศรา้ โครงสเี ย็นควรมีสรี อ้ นแทรกบา้ งจะทาํ ใหผ้ ลงานดนู ่าสนใจมากขึน้
ตัวอย่างภาพสีโทนเยน็
22
ตวั อยา่ งภาพสโี ทนเยน็
วรรณะร้อน ( Warm Tone) ซ่ึงประกอบด้วย สีเหลือง สีส้ม สีแดง สีม่วง สีม่วงแดง สีเหล่าน้ีให้
อิทธิพล ต่อความรู้สึก ตืน่ เต้น เร้าใจ กระฉับกระเฉง ถอื วา่ เปน็ วรรณะร้อน
วรรณะเย็น ( Cool Tone) ประกอบด้วย สีเขียวเหลือง สีเขียว สีน้ําเงิน สีม่วงน้ําเงิน สีเหล่าน้ีดู
เย็นตา ให้ความรสู้ กึ สงบ สดชนื่ (สีเหลอื งกบั สีมว่ งอยไู่ ดท้ ้ังสองวรรณะ) การใช้สีแต่ละคร้ังควรใช้สีวรรณะ
เดียวในภาพทัง้ หมด เพราะจะทาํ ให้ภาพความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (เอกภาพ) กลมกลืน มีแรงจูงใจให้
คล้อยตามไดม้ าก
23
7.กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือกนั เรียนรู้ LT (Learning Together)
1.ขัน้ ทบทวน 15 นาที
1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและทบทวนกติกาในช้ันเรียน เพ่ือเป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกัน
ภายในห้องเรยี น
1.2 ครูทบทวนเนื้อหาเรอื่ งทฤษฎีสีเบอ้ื งตน้ ทเี่ รยี นสปั ดาหท์ ี่แลว้ พรอ้ ม สรุปองค์ความรู้ให้
นักเรยี นฟงั อกี ครัง้
1.3 ครใู หน้ กั เรยี นนงั่ ประจํากลมุ่ ของตนเอง ที่แบ่งไว้สัปดาห์ทแ่ี ล้ว
1.4 เมอ่ื สัปดาหท์ ่ีแลว้ ครูให้นกั เรียนทาํ แบบทดสอนก่อนเรียน เพือ่ ทดสอบความรู้ และนาํ
คะแนนของนักเรียนมาเรยี งลําดบั จากคะแนนสงู ไปคะแนนนอ้ ยสุดเพอ่ื จัดกลมุ่ ๆละ 5 คน
จาํ นวน 6 กลุม่ (เก่ง กลาง ออ่ น)
1.5 ครูใหน้ ักเรียนเล่นเกม KAHOOT เพอื่ เปน็ การกระต้นุ นกั เรยี น
2.ขนั้ มอบประเด็นศกึ ษาหรือภาระงาน 35 นาที
2.1 ครซู ักถามนกั เรยี นเก่ยี วกบั ความรเู้ บือ้ งตน้ เกีย่ วกบั เรือ่ ง วรรณะของสี ท่ีนักเรียนรู้จัก
2.2 ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เน้ือหาเร่ืองวรรณะของสีเบื้องต้น เพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งข้ึนพร้อม
กบั เปดิ ภาพตัวอย่างประกอบในสอื่ การสอน Power Point เพอื่ ประกอบความเขา้ ใจ
2.3 ครูใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ออกมาจับสลากเลอื ก “ส”ี แลว้ บอกความรสู้ ึกตามท่ีสตี นเองไดร้ ับ
2.4 ครใู หแ้ ต่ละกลมุ่ เลือกภาพสตั ว์ กลมุ่ ละ 1 ชนิด
2.5 จากนั้นครูให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ในหัวข้อ “ดินแดนแห่งวรรณะสี” โดยให้
นักเรยี นแต่ละกลุ่มสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ โดยนําความร้เู รอ่ื ง วรรณะของสเี ข้ามาใช้ พร้อมท้ังให้นักเรียน
แตล่ ะกลมุ่ ตงั้ ชอ่ื เร่อื ง และแตง่ นทิ านประกอบภาพ
2.6 จากนั้นเม่อื นักเรียนเข้าใจแลว้ ครชู แ้ี จงเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
3.ขั้นสรปุ และแสดงผลงาน 5 นาที
3.1 ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ออกมานาํ เสนอหน้าชน้ั เรียน
3.2 ระหว่างทนี่ กั เรยี นกําลังนําเสนอผลงาน ครเู ปิดแอพพลเิ คชัน Quiver เทคโนโลยี AR เพ่ือเสก
กระดาษให้มชี ีวิต โดยใหน้ ักเรยี นดูผลงานท่ีกลุ่มตนเองสร้างสรรคข์ น้ึ มาในรูปแบบ เทคโนโลยี AR
3.3 ครูและนักเรียนรว่ มกันสรปุ องคค์ วามรู้ เรอ่ื งวรรณะของสี
4.ขนั้ ประเมนิ ผลงาน 5 นาที
4.1 ครูให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เลอื กผลงานท่ตี นเองช่นื ชอบ (หา้ มเลือกกลุ่มตัวเอง) รางวัลPopular
vote และรางวลั กลมุ่ ท่ีดเี ยยี่ ม ครูเสริมแรงโดยมอบรางวลั ให้
24
8.สือ่ /แหล่งเรยี นรู้
8.1 ภาพส่ือการสอน
8.2 Power Point
8.3 ตัวอย่างผลงาน
วัสดุ /อุปกรณ์
1. ใบงาน หัวขอ้ “ดินแดนแห่งวรรณะส”ี (ขนาดผลงาน A3)
2. ใบความรู้เร่ือง ทฤษฏีสี
3. ดินสอ / สีไม้ สีเมจิก
9.การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครอ่ื งมอื
1. นักเรียนสามารถอธิบาย สงั เกตจากการเลน่ เกมและการ แบบประเมินจากการอภิปราย
วรรณะของสีได้ อภปิ รายถามตอบ และ การให้ความรว่ มมอื ในการ
ดา้ นความรู้ (K) เลน่ เกม
2.นักเรียนสามารถสรา้ งผลงานท่ี ทาํ กจิ กรรม ดนิ แดนแห่งวรรณะสี เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการ
กําหนดใหไ้ ด้ ปฏิบัตงิ านศิลปะ
ด้านกระบวนการ (P)
3.นกั เรียนมกี ระบวนการทาํ งาน การสงั เกตจากพฤตกิ รรมระหวา่ ง การสังเกตจากพฤติกรรมระหวา่ ง
รว่ มกบั ผูอ้ ื่นได้ เรียน เรยี น
ด้านจิตพสิ ัย (A)
25
แบบสังเกตพฤติกรรมการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรทู้ …่ี ………..เรื่อง………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ท…่ี …………….เร่ือง………………………………………………………………….……………………….
ครผู ู้สอน…………………………………………………………………………………………………………………………………..….
ผ้สู งั เกต…………………………………………………………………………………………………………………………………………
วงจรปฏิบัตกิ ารท่ี………..วนั ท่ี…………………..เดอื น………………………….…………พ.ศ……………เวลา……………
คาํ ชี้แจง : แบบสังเกตพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้ชุดนี้ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้
เรอ่ื ง การพัฒนากระบวนการกล่มุ และผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสาระทัศนศิลป์ เร่ือง ทฤษฎีสี ของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้ LT เป็นเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือนําผลการสังเกตไปปรับปรุงในการจัด
กจิ กรรมการสอนในคร้งั ต่อไป
1.ขน้ั ทบทวน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ขั้นมอบประเดน็ ศึกษาหรอื ภาระงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ข้ันสรปุ และแสดงผลงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.ขั้นประเมินผลงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ……………………………………………………………….ผู้บันทกึ
(………………………………………………………………..)
วันท่ี…………../……………………./………………..
26
แบบสัมภาษณผ์ เู้ รียน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ …่ี ………เรื่อง…………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่………….เรอ่ื ง………………………………………………………………….…………………….……….
ครูผู้สอน………………………………………………………………………………………………………………………….………..…..
ผ้สู งั เกต………………………………………………………………………………………………………………………………..….……
วงจรปฏิบัติการที่………..วันท่ี…………………..เดอื น…………………………………………………พ.ศ………เวลา………
คาํ ช้ีแจง : แบบสงั เกตพฤติกรรมการจดั การเรียนรชู้ ดุ นีใ้ ชป้ ระกอบการจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้
เรอ่ื ง การพัฒนากระบวนการกลุ่มและผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสาระทัศนศิลป์ เรื่อง ทฤษฎีสี ของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้ LT เป็นเคร่ืองมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือนําผลการสังเกตไปปรับปรุงในการจัด
กิจกรรมการสอนในครง้ั ตอ่ ไป
1.จากการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของครู สามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจเนื้อหาที่เรียนมาก
น้อยเพียงใด อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ทําให้นักเรียนมีความเข้าใจเน้ือหา เรื่องที่จะเรียนมากน้อย
เพยี งใด อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
27
3. จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ องครู ทาํ ใหน้ ักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้ ในเร่ืองท่ีจะเรียนมาก
นอ้ ยเพียงใด อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในครัง้ นี้ มีประโยชน์หรอื คณุ ค่าตอ่ การเรยี นรขู้ องนักเรียนมากนอ้ ยเพยี งใด
อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.สง่ิ ทีน่ ักเรียนประทบั ใจในการรว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ในครงั้ นี้ คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6.ส่ิงทนี่ ักเรียนอยากให้ครปู รบั ปรงุ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ในครัง้ น้ี คอื อะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7.ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………………………….ผู้บนั ทึก
( นายเดชศกั ดา ศรีจนั ทร์เวียง )
วนั ท่ี…………../……………………./……………….
28
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม่
สังเกตพฤติกรรมกระบวนการทาํ งานและตรวจผลงาน
โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านศลิ ปะ
ประเด็นการประเมิน นาํ้ หนกั 4 ระดับคะแนน 1
คะแนน (ดมี าก) 32 (ปรบั ปรงุ )
(ดี) (พอใช)้
ผลงานมีความ 4
สอดคล้องกบั เนอื้ หา
4
ความคิดสร้างสรรค์ 2
การปฏบิ ัติงาน
เกณฑ์การประเมิน ตัง้ แต่ 9-10 คะแนน อยใู่ นระดบั ดีมาก
ระหว่าง 7-8 คะแนน อยใู่ นระดับ ดี
ระหวา่ ง 5-6 คะแนน อยู่ในระดบั พอใช้
ระหว่าง 1-4 คะแนน อยูใ่ นระดบั ปรับปรุง
29
เกณฑ์ในการให้คะแนนการประเมนิ การทาํ งานกลุ่ม
ระดบั คุณภาพ คา่ นํ้าหนกั
ประเด็นการประเมนิ 3 2 1
(ดมี าก) (ดี) (ปรับปรงุ )
1.ความเป็นผ้นู าํ /ผตู้ ามทด่ี ี 4
2.ความร่วมมอื ในกลุม่ 3
3.การแสดงความคิดเห็น 3
4.มีนาํ้ ใจเออ้ื เฟอื้ ต่อเพือ่ นใน 2
กลุ่ม 2
5.ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ
เพ่อื นในกลมุ่
ลงช่อื ……………………………….……………ผู้ประเมนิ
( นายเดชศกั ดา ศรีจันทร์เวยี ง )
วันที่………เดอื น………………..…พ.ศ.…………
บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ 2. ปัญหาและอปุ สรรค 30
ชั้น 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ 3. ข้อเสนอแนะ
เรยี น
…………………………………….… ……………………………………. ………………………………
………………………………….…… ……………………………………. …….…………………………
………………………………………… …………………………………… ………….……………………
……………….……………………… ………………………….………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………….……………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………….……… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
………………………………………… …………………………………… ………………………………
ลงชือ่ ......................................................ครผู สู้ อน
( นายเดชศักดา ศรจี ันทรเ์ วยี ง )
วันท่ี.........เดอื น...................พ.ศ.........
31
เกณฑ์การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านศลิ ปะ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ศิลปะในธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม แผนการเรยี นรทู้ ี่ 6 วรรณะของสี
ระดับคะแนน
ประเด็นการ 4 3 21
ประเมิน (ดมี าก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
ผลงานมีความ ผลงานทไ่ี ด้มีความ ผลงานทไี่ ด้มีความ ผลงานทีไ่ ด้มีความ ผลงานทีไ่ ดไ้ ม่มี
สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกับเน้อื หา สอดคลอ้ งกบั ความสอดคลอ้ งกับ
ท่เี รียนมา เน้อื หาทเ่ี รียนมา เนือ้ หาทีเ่ รียนมา
เน้ือหา เนื้อหาทีเ่ รียนมา เล็กนอ้ ย
เปน็ อย่างมาก
ความคิด ผลงานมรี ปู แบบ ผลงานมีรูปแบบ ผลงานมีรปู แบบ ผลงานมีรูป
สร้างสรรค์ แปลกใหมไ่ ม่ซา้ํ กบั คล้ายคลงึ กบั ผลงาน คลา้ ยคลึงกบั แบบเดิมไมแ่ ปลก
ผลงานของผูอ้ ืน่ มี ของผู้อ่นื เล็กน้อย ผลงานของผู้อื่น ใหม่
เอกลักษณ์
เฉพาะตวั
การปฏิบัติงาน วัสดอุ ุปกรณ์ในการ วัสดุอปุ กรณใ์ นการ วสั ดุอปุ กรณใ์ นการ ไม่ มีวสั ดอุ ุปกรณใ์ น
ปฏิบตั ิงานครบถ้วน ปฏิบตั งิ านมสี มาธิใน ปฏิบัตงิ านน้อย มี การปฏิบตั ิงาน ขาด
มสี มาธใิ นการ การทํางานและ สมาธิในการ สมาธใิ นการทาํ งาน
ทาํ งานอยา่ ง ปฏิบตั งิ านดว้ ยความ ทํางานปฏิบัตงิ าน และปฏิบตั ิงาน
ต่อเน่ืองและ ต้งั ใจกระตอื รือร้น มี ด้วยความตงั้ ใจ และรกั ษาความ
ปฏบิ ัติงานด้วย
ความตัง้ ใจในการ และรกั ษาความ สะอาดในบริเวณที่
ความต้งั ใจ
กระตอื รือรน้ มี ทาํ งานและรักษา สะอาดในบริเวณท่ี ทํางานด้วยความไม่
ความตั้งใจในการ ความสะอาดใน ทาํ งานเพียง ตั้งใจ
ทํางานและรักษา บรเิ วณที่ทํางานไดด้ ี เลก็ น้อย
ความสะอาดใน
บรเิ วณทีท่ ํางานได้ดี
มาก
32
เกณฑก์ ารตัดสินคะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 - 12 ดีมาก
7- 9 ดี
4- 6 พอใช้
0- 3
ตอ้ งปรบั ปรงุ
เกณฑ์การผา่ น ตั้งแตร่ ะดับระดบั คุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป
สรุป ผา่ น ไมผ่ า่ น
33
แบบประเมนิ การทํางานกล่มุ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทศั นศลิ ป์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่3
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่……………..วนั ท่ี……………………..เดอื น……………………………………พ.ศ…………………
ชอื่ กลมุ่ ……………………… สมาชิก ไดแ้ ก่
1…………………………………………………………………………2……………………………………………………………………
3…………………………………………………………………………4……………………………………………………………………
5……………………………………………………………………………………
คาํ ชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านกลุ่ม และใหค้ ะแนนลงในช่องท่ี
ตรงกบั การสังเกตเหน็ โดยเทียบเกณฑ์คะแนนท่ีกําหนด
4 หมายถึง ดมี าก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง พอใช้ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง
รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32
1 ความเป็นผนู้ ํา/ผู้ตามท่ดี ี
2 ความรว่ มมือในกลุม่
3 การแสดงความคิดเห็น
4 มีนํ้าใจเอ้ือเฟือ้ ต่อเพอื่ นในกลมุ่
5 ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของเพ่ือนในกลมุ่
รวมคะแนน
รวมทง้ั สิ้น
เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ
คา่ คะแนน 16-20 คะแนน มีผลการประเมนิ พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในคุณภาพระดบั คุณภาพ ดีมาก
คา่ คะแนน 8-15 คะแนน มีผลการประเมินพฤติกรรมกลมุ่ อยู่ในคุณภาพระดบั คณุ ภาพ ดี
คา่ คะแนน 1-7 คะแนน มีผลการประเมนิ พฤตกิ รรมกลุ่มอยใู่ นคณุ ภาพระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง
สรปุ ภาพรวม
ดมี าก ดี ปรับปรุง
34
รายละเอียดการประเมินการทํางานกลุม่ Rubrics ใช้เกณฑก์ ารผา่ นรอ้ ยละ70
3 (ดมี าก) 2 (ด)ี 1 (ปรับปรงุ )
1.ความเป็นผู้นํา/ผู้ ประพฤตติ นในฐานะ ประพฤติตนในฐานะ ไม่สามารถประพฤติ
ตามที่ดี
ผนู้ ําหรอื ผ้ตู ามไดท้ ุก ผนู้ ําหรือผู้ตามได้ ตนในฐานะผนู้ าํ หรอื ผู้
ครั้งอย่างเหมาะสม เพียงบางครั้ง ตามได้
2.ความร่วมมือในกลมุ่ ทุกคนทาํ งานตาม สมาชิกสว่ นมาก สมาชิกไมท่ ํางานตาม
หนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ บั ผดิ ชอบ ทาํ งานตามหนา้ ทีท่ ี่ได้ หนา้ ท่ที ี่ได้รบั ผิดชอบ
3.การแสดงความ รับผดิ ชอบ
คดิ เห็น แสดงความคิดเหน็ ได้ แสดงความคิดเหน็ ได้ แสดงความคิดเหน็ ไม่
ตรงตามประเดน็
ตรงตามประเด็น
4.มีน้ําใจเออ้ื เฟอื้ ต่อ มคี วามเอือ้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่ มคี วามเออ้ื เฟื้อเผอ่ื แผ่ มีความเอื้อเฟ้ือเผอื่ แผ่
เพ่ือนในกลุ่ม ช่วยเหลือเพ่อื นใน ชว่ ยเหลอื เพ่ือนใน ชว่ ยเหลอื เพอื่ นใน
กลมุ่ อย่างสม่ําเสมอ กล่มุ เพียงเล็กนอ้ ย กลุ่มอย่างสมํา่ เสมอ
5.ยอมรับฟังความ ยอมรับฟงั ความ ยอมรับฟงั ความ ไมย่ อมรบั ฟงั ความ
คิดเห็นของเพื่อนใน คิดเห็นของเพือ่ นใน คิดเห็นของเพื่อนใน คดิ เห็นของเพอื่ นใน
กลมุ่ กลุ่มเสมอ กลมุ่ เป็นบางคร้งั กลมุ่
35
ใบความรูท้ ี่ 1
เรือ่ ง ทฤษฎีสเี บื้องตน้
วงจรสี ( Colour Circle)
สขี นั้ ท่ี 1 คอื แม่สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีนํา้ เงิน
สีขน้ั ท่ี 2 คือ สีทเี่ กดิ จากสีข้นั ท่ี 1 หรอื แม่สผี สมกันในอตั ราสว่ นท่ีเทา่ กนั จะทําให้เกิดสใี หม่ 3 สี ไดแ้ ก่
สีแดง ผสมกบั สเี หลือง ได้สี สม้
สีแดง ผสมกับสีนํ้าเงิน ไดส้ ีม่วง
สเี หลอื ง ผสมกับสีนํ้าเงนิ ได้สเี ขียว
สีข้นั ที่ 3 คอื สที ่เี กิดจากสีขน้ั ท่ี 1 ผสมกบั สขี ัน้ ท่ี 2 ในอัตราสว่ นท่เี ท่ากัน จะได้สอี ่ืน ๆ
อกี 6 สี คอื
สีแดง ผสมกับสีสม้ ได้สี สม้ แดง
สีแดง ผสมกับสีมว่ ง ได้สมี ่วงแดง
สีเหลอื ง ผสมกับสเี ขยี ว ได้สเี ขยี วเหลือง
สีนาํ้ เงนิ ผสมกับสเี ขยี ว ไดส้ เี ขียวน้ําเงิน
สนี ํา้ เงิน ผสมกับสมี ่วง ได้สีม่วงนํ้าเงิน
สเี หลอื ง ผสมกบั สีส้ม ได้สสี ม้ เหลอื ง
36
ใบความรู้ท่ี 2
เรอื่ ง วรรณะของสี
วรรณะของสี คอื สีที่ให้ความรู้สกึ ร้อน-เย็น ในวงจรสจี ะมสี รี อ้ น 7 สี และสีเยน็ 7 สี ซ่ึงแบง่ ที่ สมี ว่ งกบั สี
เหลือง ซ่ึงเปน็ ไดท้ ัง้ สองวรรณะ แบ่งออกเปน็ 2 วรรณะ
1.วรรณะสีรอ้ น (WARM TONE) ประกอบดว้ ยสีเหลอื ง สีสม้ เหลือง สีส้ม สีสม้ แดง สีมว่ งแดง
และสมี ว่ ง สีใน วรรณะรอ้ นน้ีจะไม่ใชส่ ีสดๆ ดังท่ีเห็นในวงจรสเี สมอไป เพราะสีในธรรมชาติยอ่ มมีสี
แตกตา่ งไปกว่าสใี นวงจรสีธรรมชาตอิ ีกมาก ถ้าหากวา่ สีใด ค่อนข้างไปทางสแี ดงหรือสีสม้ เช่น สนี ้ําตาล
หรือสเี ทาอมทอง กถ็ อื วา่ เป็นสีวรรณะรอ้ น วรรณะร้อนให้ความรูส้ กึ ต่ืนตา มีพลัง อบอุ่น สนกุ สนาน และ
ดงึ ดดู ความสนใจได้ดี โครงสรี อ้ นนส้ี ภาพโดยรวมจะมีความกลมกลนื ของสมี ากควรมีสเี ย็นมาประกอบบ้าง
ทาํ ใหภ้ าพมีความนา่ สนใจมากข้ึน
2.วรรณะสเี ยน็ (COOL TONE) ประกอบด้วย สีเหลือง สีเขยี วเหลือง สีเขียว สีเขยี วน้ําเงิน สนี ํ้า
เงิน สมี ่วงนํ้าเงิน และสีมว่ ง ส่วนสีอื่นๆ ถ้าหนักไปทางสีนํ้าเงินและสเี ขยี วกเ็ ปน็ สีวรรณะเยน็ ดงั เชน่ สีเทา สี
ดาํ สีเขยี วแก่ เป็นตน้ จะสังเกตไดว้ า่ สีเหลืองและสีมว่ งอยทู่ ง้ั วรรณะร้อนและวรรณะเย็น ถ้าอยใู่ นกลมุ่ สี
วรรณะร้อนก็ใหค้ วามรูสึกรอ้ นและถ้า อยู่ในกลุ่มสีวรรณะเยน็ ก็ให้ความรู้สกึ เย็นไปด้วย สเี หลืองและสมี ว่ ง
จึงเปน็ สีไดท้ ง้ั วรรณะร้อนและวรรณะเยน็ ใหค้ วามร้สู กึ สุภาพ สงบ ลกึ ลับ เยอื กเย็น ในทางจติ วิทยาสเี ยน็ มี
ความสัมพนั ธ์กบั ความรสู้ ึกหดหู่ เศร้า โครงสีเย็นควรมีสีรอ้ นแทรกบ้างจะทําใหผ้ ลงานดนู ่าสนใจมากข้ึน
37
ใบความรทู้ ่ี 3
เรือ่ ง สีคตู่ รงขา้ ม
สตี รงข้าม หรอื สีตดั กนั หรือ สีค่ปู ฏิปกั ษ์ เปน็ สที ่ีมคี ่าความเข้มของสี ตัดกนั อย่างรุนแรง ในทาง
ปฏิบัติไม่นยิ มนํามาใช้รว่ มกนั เพราะจะทาํ ให้แต่ละสไี ม่สดใสเทา่ ท่ีควร การนาํ สีตรงข้ามกนั มาใช้ร่วมกัน
สีคูต่ รงขา้ ม คอื สีทอี่ ยู่ตรงขา้ มกันในวงจรสีธรรมชาติ เปน็ คู่สีกันคือ สีท่ีอยู่ตัดกนั หรือตา่ งจากกนั
มากท่ีสุด เชน่ สีแดงกับสเี ขียว สมี ว่ งกับสเี หลือง สีส้มกบั สนี ํา้ เงนิ เปน็ ต้น
การใช้สีตรงกันขา้ ม สตี รงขา้ มจะทําให้ความรู้สึกท่ีตดั กนั รนุ แรง สร้างความเด่น และเร้าใจได้
มากแต่หากใชไ้ มถ่ ูกหลัก หรอื ไม่เหมาะสม หรอื ใชจ้ ํานวนสมี ากสีจนเกนิ ไป กจ็ ะทาํ ให้ความรู้สึกพรา่ มัว
ลายตา ขัดแยง้ ควรใชส้ ีตรงขา้ ม ในอัตราส่วน 80% ต่อ20% หรอื หากมีพืน้ ท่เี ท่ากนั ที่จําเปน็ ตอ้ งใช้ ควร
นาํ สีขาว หรอื สีดํา เข้ามาเสรมิ เพ่ือ ตัดเส้นใหแ้ ยกออก จาก กันหรอื อีกวิธหี นึง่ คอื การลดความสดของสี
ตรงขา้ มใหห้ ม่นลงไป
38
ใบความรทู้ ี่ 4
เรื่อง การใช้สคี ู่ตรงข้าม
สีคตู่ รงข้ามจะให้ความรู้สึกขัดแยง้ ดังนน้ั การใช้สีคูต่ รงข้ามจงึ นิยมใชส้ ีใดสีหนึ่งให้มากกวา่ อีกสี
หน่ึงในพ้นื ทกี่ ารระบายสี หรอื ใช้สีคตู่ รงขา้ มโดยมีการผสมสีคูน่ น้ั ในอตั ราสว่ นที่แตกต่างกนั เพอื่ ลดความ
ขดั แยง้ ของสี ทาํ ให้ภาพมีความกลมกลนื และความสวยงามมากย่ิงขนึ้
การใช้สคี ูต่ รงขา้ ม วิธีการใช้สีคู่ตรงขา้ มหรือสีท่ีตัดกนั สามารถใช้ไดห้ ลายวิธดี ังน้ี
1.ใช้ในปรมิ าณทแ่ี ตกต่างกนั โดยใช้สใี ดสีหน่ึงจํานวน 80% ส่วนอกี สีหนึง่ ต้องเปน็ 20% จึงจะ
เกดิ ความสวยงามมากย่ิงขึ้น
2. ลดปรมิ าณค่าสลี ง หากจําเป็นต้องใช้สีคูใ่ ดคหู่ นง่ึ ในปรมิ าณเทา่ ๆกัน ตอ้ งลดค่าของสีลงด้วย
การผสมสีขาวหรอื สีเทาดํา
3. ผสมซึ่งกนั และกนั เพ่อื ลดความรุนแรงที่เกิดจากการตัดกนั ของสใี นภาพเพอ่ื ใหเ้ กิดความ
สวยงามและกลมกลืนมากยง่ิ ขนึ้
การใช้สีคตู่ รงข้ามในปริมาณท่ีตา่ งกนั
การใช้สีคู่ตรงขา้ มในปรมิ าณท่ีตา่ งกนั คือ ใช้สีใดสีหน่งึ มากกว่าอกี สีหน่ึง จะเพม่ิ ความน่าสนใจกับภาพมาก
ขนึ้
วิธีการใชส้ ีคูต่ รงข้ามเบื้องตน้
1.มองภาพทีเ่ ราวาด แล้วจินตนาการว่าเราจะเลือกใช้สีคตู่ รงข้ามคใู่ นในการใชใ้ นภาพ
2.ตัดสินใจว่าจะใช้สชี นดิ ใดในปรมิ าณทีม่ ากกวา่ เพื่อใหภ้ าพดมู ีความนา่ สนใจมากยงิ่ ขึน้
3.ลงสใี ห้สวยงาม
4.ลงรายละเอียดเพ่ิมเติม เชน่ ใส่แสงเงาใหก้ ับวัตถุ ระบายสีเพ่มิ เตมิ เพอื่ ให้ภาพดูสวยงามมาก
ยิ่งขนึ้
39
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดินแดนแห่งวรรณะสี” โดยเลือกใช้วรรณะของสโี ทนรอ้ นหรอื
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ีใช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
40
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแหง่ วรรณะสี” โดยเลอื กใช้วรรณะของสโี ทนร้อนหรือ
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนาํ เสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสที ีใ่ ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
41
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแหง่ วรรณะสี” โดยเลอื กใช้วรรณะของสีโทนร้อนหรือ
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนาํ เสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ใี ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
42
ใบงานท่ี 2
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองศิลปะในธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแห่งวรรณะสี” โดยเลอื กใช้วรรณะของสโี ทนรอ้ นหรอื
โทนเย็น พร้อมทั้งแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นทิ านเรือ่ ง……………………………………………………………….… วรรณะสีที่ใช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
43
ใบงานท่ี 2
กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่องศิลปะในธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแห่งวรรณะสี” โดยเลือกใช้วรรณะของสโี ทนร้อนหรือ
โทนเย็น พร้อมทั้งแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นทิ านเรือ่ ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ใี ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
44
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดินแดนแห่งวรรณะสี” โดยเลือกใช้วรรณะของสโี ทนรอ้ นหรอื
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ีใช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
45
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดินแดนแห่งวรรณะสี” โดยเลือกใช้วรรณะของสโี ทนรอ้ นหรอื
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ีใช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
46
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแหง่ วรรณะสี” โดยเลอื กใช้วรรณะของสีโทนร้อนหรือ
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนาํ เสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ใี ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
47
ใบงานท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั ประถมศึกษาปีที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คาํ ช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดินแดนแห่งวรรณะสี” โดยเลอื กใช้วรรณะของสีโทนร้อนหรือ
โทนเยน็ พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรอ่ื ง……………………………………………………………….… วรรณะสีทใ่ี ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
48
ใบงานท่ี 2
กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั ประถมศึกษาปีที่3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองศลิ ปะในธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง วรรณะของสี
คําช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแหง่ วรรณะสี” โดยเลือกใช้วรรณะของสีโทนร้อนหรอื
โทนเย็น พร้อมท้ังแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเรือ่ ง……………………………………………………………….… วรรณะสีท่ใี ช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
49
ใบงานที่ 2
กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองศิลปะในธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง วรรณะของสี
คําช้ีแจง ให้นักเรียนระบายสี ในหัวข้อ “ดนิ แดนแห่งวรรณะสี” โดยเลอื กใชว้ รรณะของสโี ทนร้อนหรือ
โทนเย็น พร้อมทั้งแต่งนิทาน และนําเสนอหน้าชั้นเรียน
นิทานเร่ือง……………………………………………………………….… วรรณะสีที่ใช้………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………
……….……………………………………………………………………………………………………………………………….…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
50
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ืองศิลปะในธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ของรายวิชา ศลิ ปะ สาระทศั นศลิ ป์ สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3
จานวน 6 ข้อ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน
สว่ นที่ 1 ข้อสอบปรนัย 5 ขอ้ 5 คะแนน สว่ นที่ 2 ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ 5 คะแนน
ส่วนท่ี 1 คาช้แี จง : ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมายกากบาททบั ข้อท่ถี กู ต้อง (10 คะแนน)
1.หากตอ้ งการใช้สีคตู่ รงขา้ มสรา้ งสรรค์งาน โดยระบายสดี อกไม้เปน็ สีส้ม ควรระบายสพี น้ื หลงั
ดว้ ยสใี ด
ก. สมี ่วง ข. สีเหลือง
ค. สนี า้ เงิน ง. สีเขยี วเหลือง
2.ข้อใดไมใ่ ช่สีคตู่ รงขา้ ม
ก. สีเหลือง - สีมว่ ง ข. สีส้ม – สีเขียว
ค. สแี ดง – สเี ขยี ว ง. สสี ้มเหลอื ง – สีมว่ งน้าเงนิ
3. ขอ้ ใดไมไ่ ด้นาหลกั ของการใช้สีคู่ตรงขา้ มมาใช้
ก.ขวญั ขา้ วใส่เสือ้ สสี ม้ กับกระโปงสนี า้ เงินไปงานวนั เกิดเพ่อื น
ข.แพรวานาดอกกุหลาบแดงมาจดั ใส่ในแจกันสเี ขียว
ค.ซันๆวาดรูปผลไม้โดยเลอื กวาดทเุ รียนกับมังคดุ
ง.มนี านาดอกดาวเรอื งและดอกเขม็ มาตกแต่งพานไหวค้ รู