The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปเล่มวิจัย FINALR~1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by porxv17, 2022-04-06 08:56:23

เล่มวิจัย FINALR1

สรุปเล่มวิจัย FINALR~1

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.20 xij
∑ni=1
คำนวณร้อยละของแตล่ ะคำตอบของข้อมูลโดยใชส้ ตู ร percent= xi *10

โดยท่ี xi = คา่ ของข้อมูลทีไ่ ด้จากครวั เรอื นท่ี i

ตารางท่ี 4.20 ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมภ

รายละเอยี ด ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้ันการ ัพฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ
โคก หนอง นา โมเดล
ส ้รางพ้ืนท่ีเรียน ้รู ุชมชนต้นแบบการพัฒนา
ุคณภาพ ีช ิวตระ ัดบตำบล และ ัพฒนา ้ืพน ่ีท
ค ัรวเรือนต้นแบบการพัฒนา ุคณภาพ ีช ิวต
ระ ัดบครัวเรือน
สร้างงานสร้างรายไ ้ด ได้แ ่ก เกษตรกร
ับณฑิตจบให ่ม ก ุ่ลมแรงงาน ี่ทอพยพกลับ

การเขา้ รว่ ม (รอ้ ยละ)

เข้าร่วมครบหลกั สูตร 94.30 47.88 31.39

เข้ารว่ มบางครั้ง 3.41 1.50 0.42

ไม่ไดเ้ ขา้ ร่วม 2.29 50.62 68.19

26.85 25.94 25.69 ท้องถิน่ และชุมชน ภายใตโ้ ครงการ โคก หนอง นา โมเดล 00
0.62 0.58 0.37 ท่ีตอบคำตอบที่ j และ n = จำนวนตวั อยา่ งท่จี ดั เกบ็
72.52 73.48 73.94 กระตนุ้ การบรโิ ภคภาคครวั เรอื นและ กจิ กรรม
เอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและ
24.94 สนับสนนุ พน้ื ท่คี รัวเรอื นตน้ แบบการพฒั นา หน่วย : รอ้ ยละ
0.33 คุณภาพชีวิต
74.73
บรู ณาการรว่ มพัฒนาพ้นื ทร่ี ะดบั ตำบล

พัฒนากาสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรปู
และการตลาดตามมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทย

สรา้ งระบบโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล
พฒั นาระบบ Digital รองรับ Local
Economy

4-49

รายละเอยี ด ฝึกอบรมเ ่ิพม ัทกษะระยะส้ันการ ัพฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเ ีพยง ูรปแบบ
โคก หนอง นา โมเดล
ส ้รางพ้ืน ี่ทเ ีรยน ู้ร ุชมชนต้นแบบการ ัพฒนา
ุคณภาพ ีช ิวตระ ัดบตำบล และ ัพฒนา ้ืพน ่ีท
ค ัรวเรือนต้นแบบการ ัพฒนา ุคณภาพ ีช ิวต
ระ ัดบค ัรวเ ืรอน
สร้างงานส ้รางรายไ ้ด ได้แ ่ก เกษตรกร
ับณฑิตจบให ่ม ก ุ่ลมแรงงาน ี่ทอพยพกลับ

ระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจกอ่ นเขา้ รว่ มกจิ กรรม (รอ้ ยละ)

มคี วามรเู้ ลก็ นอ้ ย 32.31 19.48 13.32
70.48
มีความรู้พอใช้ 24.19 57.99 11.28
4.12
มคี วามรู้ปานกลาง 30.14 15.82 0.79

มคี วามรมู้ าก 9.66 5.16 3.00
1.71
มคี วามรมู้ ากทสี่ ุด 3.71 1.54 76.56
12.61
ระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจหลงั เขา้ รว่ มกจิ กรรม (รอ้ ยละ)

มีความรเู้ ลก็ นอ้ ย 1.04 2.00

มีความรพู้ อใช้ 2.87 1.42

มคี วามรู้ปานกลาง 22.73 63.66

มคี วามรมู้ าก 40.76 20.90

8.41 7.74 7.66 ท้องถิน่ และชุมชน กจิ กรรม
69.65 64.15 64.82
17.07 23.15 22.77 กระตนุ้ การบรโิ ภคภาคครวั เรอื นและ
3.58 4.00 3.83 เอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและ
1.29 0.96 0.92 สนับสนนุ พน้ื ท่คี รัวเรอื นตน้ แบบการพฒั นา
คุณภาพชีวิต
0.21 0.42 0.29
1.04 1.46 2.66 บรู ณาการรว่ มพัฒนาพ้นื ทร่ี ะดบั ตำบล
81.27 82.76 80.52
11.37 10.03 9.16 พัฒนากาสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรปู
และการตลาดตามมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทย
8.20
72.60 สรา้ งระบบโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล
15.36 พฒั นาระบบ Digital รองรับ Local
3.21 Economy
1.17

0.54
4.12
81.64
8.66

4- 50

รายละเอยี ด ฝึกอบรมเ ่ิพม ัทกษะระยะส้ันการ ัพฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเ ีพยง ูรปแบบ
โคก หนอง นา โมเดล
ส ้รางพ้ืน ี่ทเ ีรยน ู้ร ุชมชนต้นแบบการ ัพฒนา
ุคณภาพ ีช ิวตระ ัดบตำบล และ ัพฒนา ้ืพน ่ีท
ค ัรวเรือนต้นแบบการ ัพฒนา ุคณภาพ ีช ิวต
ระ ัดบค ัรวเ ืรอน
สร้างงานส ้รางรายไ ้ด ได้แ ่ก เกษตรกร
ับณฑิตจบให ่ม ก ุ่ลมแรงงาน ี่ทอพยพกลับ

มคี วามรมู้ ากทีส่ ดุ 32.60 12.03 6.12

การนำเอาความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (รอ้ ยละ) 2.96
0.62
ไดน้ ำไปใชเ้ ล็กนอ้ ย 2.91 2.21 75.94
13.11
ได้นำไปใช้พอใช้ 4.95 2.21 7.37

ได้นำไปใช้ปานกลาง 22.98 64.53 3.21
1.00
ไดน้ ำไปใชม้ าก 37.18 19.69 73.56

ไดน้ ำไปใช้มากท่ีสดุ 31.97 11.37

ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการนำความรไู้ ปใช้ (รอ้ ยละ)0.33

ได้รบั ประโยชนเ์ ล็กน้อย 4.54 2.58

ได้รับประโยชนพ์ อใช้ 4.91 2.58

ไดร้ บั ประโยชน์ปานกลาง 22.73 64.07

6.12 5.33 7.37 ท้องถิน่ และชุมชน กจิ กรรม

0.33 0.33 0.46 กระตนุ้ การบรโิ ภคภาคครวั เรอื นและ
0.79 1.87 0.58 เอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและ
82.26 81.68 81.81 สนับสนนุ พน้ื ท่คี รัวเรอื นตน้ แบบการพฒั นา
10.28 9.20 9.87 คุณภาพชีวิต
6.33 6.91 7.29
บรู ณาการรว่ มพัฒนาพ้นื ทร่ี ะดบั ตำบล
0.33 0.37 0.37
0.58 2.50 0.83 พัฒนากาสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรปู
74.02 75.40 78.81 และการตลาดตามมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทย

5.04 สรา้ งระบบโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล
พฒั นาระบบ Digital รองรับ Local
0.83 Economy
2.08
9.66
61.32
26.10

0.87
2.58
76.35

4-51

ได้รบั ประโยชนม์ ากที่สดุ ไดร้ บั ประโยชน์มาก 34.39 17.53 14.82 รายละเอยี ด

33.43 ฝกึ อบรมเพ่มิ ทักษะระยะสน้ั การพฒั นา
กสิกรรมสรู่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ
13.24 โคก หนอง นา โมเดล

7.41 สรา้ งพืน้ ทีเ่ รยี นรชู้ ุมชนต้นแบบการพฒั นา
คณุ ภาพชวี ิตระดบั ตำบล และพฒั นาพื้นที่
ครวั เรือนตน้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
ระดับครวั เรือน

สร้างงานสรา้ งรายได้ ได้แก่ เกษตรกร
บณั ฑิตจบใหม่ กลมุ่ แรงงานท่อี พยพกลับ

17.07 14.78 11.03 ท้องถิน่ และชุมชน กจิ กรรม
8.00 6.95 8.95
กระตนุ้ การบรโิ ภคภาคครวั เรอื นและ
13.86 เอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและ
6.33 สนับสนนุ พน้ื ท่คี รัวเรอื นตน้ แบบการพฒั นา
คุณภาพชีวิต

บรู ณาการรว่ มพัฒนาพ้นื ทร่ี ะดบั ตำบล

พัฒนากาสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรปู
และการตลาดตามมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทย

สรา้ งระบบโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล
พฒั นาระบบ Digital รองรับ Local
Economy

4- 52

4-53
0

ส่วนที่ 4 การประเมินผลที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการฯ มิติในการประเมินผลสัมฤทธิ์
เป็นการประเมินผลรายด้านตามตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อประเมินความสำเร็จของโครงการฯ
แล้วนำเอาผลรายด้านมาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อเป็นข้อสรุปของผลสำเร็จในภาพรวมโดยมีแนวทางใน
การสรุปผลการประเมิน นอกจากตัวชี้วัดแล้วยังมีประเด็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพชีวิตใน
ภาพรวม ทที่ างคณะทีป่ รกึ ษาจะประเมนิ เพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการฯ เมื่อเทียบกับที่คาดหวังไว้ พบว่า
ในภาพรวมครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90.92 มีการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกเท่ากับ
หรือมากกว่าที่คาดหวังไว้ โดยประเด็นที่มีการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 90.00
ได้แก่ สุขภาพจิต ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ความมั่นคงทางอาหาร ความสามารถในการรับมือ
กับผันผวนของสภาพอากาศที่ส่งผลต่อการทำเกษตรของท่าน และประเด็นที่มีการเปลี่ยนแปลง
ในเชงิ บวกมากกว่ารอ้ ยละ 50.00 ไดแ้ ก่ สขุ ภาพกาย คุณภาพของสภาพแวดล้อมในพ้ืนท่ี (เชน่ อากาศ
ความสะอาด คุณภาพดิน คุณภาพน้ำ) รายได้ต่อเดือนครัวเรือน หนี้สินครัวเรือน และเงินออม
รายละเอยี ดแสดงไวใ้ นรปู ท่ี 4.13 และตารางที่ 4.21

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของรูปที่ 4.13 xij
∑in=1
คำนวณร้อยละของแตล่ ะคำตอบของข้อมูลโดยใช้สตู ร percent= xi *

โดยที่ xi = คา่ ของขอ้ มลู ที่ได้จากครวั เรือนท่ี i

รปู ท่ี 4.13 รอ้ ยละของการเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดข

3- 54

*100

ที่ตอบคำตอบท่ี j และ n = จำนวนตัวอย่างทีจ่ ดั เกบ็

ขึ้นในระดับครวั เรอื นจากการเข้ารว่ มโครงการฯ

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.21 xij
∑in=1
คำนวณร้อยละของแต่ละคำตอบของข้อมลู โดยใช้สูตร percent= xi *

โดยที่ xi = ค่าของข้อมูลท่ไี ด้จากครัวเรอื นที่ i

ตารางที่ 4.21 รอ้ ยละของการเปล่ยี นแปลงที่เกิด

ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระดบั ครวั เรอื น เพมิ่ ขนึ้ นอ้ ยกวา่ ท่ี เพม่ิ
คาดหวงั มาก
รายได้ตอ่ เดอื นครวั เรอื น 18.82
หนี้สนิ ครัวเรอื น 22.23
เงนิ ออม 21.98
สุขภาพกายของสมาชิกในครัวเรือน 3.41
สุขภาพจิตของสมาชิกในครวั เรอื น 1.79
ความสัมพันธภ์ ายในครอบครัวของสมาชิกในครัวเรือน 1.46
ความม่นั คงทางอาหาร 3.41
ความสามารถในการรับมือกบั ผันผวนของสภาพอากาศ 1.12
ทสี่ ง่ ผลตอ่ การทำเกษตรของทา่ น
คุณภาพของสภาพแวดลอ้ มในพน้ื ที่ของทา่ น 7.12
(เช่น อากาศ ความสะอาด คณุ ภาพดนิ คณุ ภาพน้ำ)
โดยภาพรวมแลว้ ทา่ นคดิ วา่ หลังเขา้ รว่ มโครงการฯ แล้ว 2.46
คณุ ภาพชวี ติ ของท่านเปลย่ี นแปลงไปอย่างไรเมอื่ เทยี บ
กบั ที่คาดหวังไว้

*100

ท่ีตอบคำตอบที่ j และ n = จำนวนตัวอย่างทจ่ี ดั เก็บ

ดข้ึนในระดับครวั เรือนจากการเข้าร่วมโครงการฯ

มขนึ้ น้อยกวา่ ที่ เพมิ่ ขนึ้ ใกลเ้ คยี งกบั เพม่ิ ขนึ้ สงู กวา่ ที่ หน่วย : ร้อยละ
คาดหวงั ทค่ี าดหวงั คาดหวงั เพม่ิ ขนึ้ สงู กวา่ ท่ี
15.20 46.21 16.86 คาดหวงั มาก
18.98 35.97 20.07
15.5 37.05 22.02 2.91
6.79 34.22 43.38 2.75
6.79 30.52 43.63 3.29
3.41 32.18 43.51 12.20
5.33 25.40 44.05 17.28
5.91 40.34 40.47 19.44
21.82
12.16

5.87 31.60 41.92 13.49

6.62 32.14 43.50 15.28

4-55

4-56
0

เมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระดับครัวเรือนก่อนและ
หลังการเข้าร่วมโครงการฯ พบว่า รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมโครงการฯ 25,592.02 บาท
ต่อเดือน ภายหลังเข้าร่วมโครงการฯ เพิ่มขึ้นเป็น 26,344.28 บาทต่อเดือน คิดเป็นการเปลี่ยนแปลง
ร้อยละ 2.94 โดยมีแหล่งที่มาของรายได้จากการเป็นแหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ฝึกอบรมเชิงเกษตร
มากที่สุด 50,790.43 บาทตอ่ เดือน รองลงมาเป็นผลผลิตทางการเกษตรมากท่ีสุด 20,003.50 บาทตอ่ เดือน
และจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 14,134.76 บาทตอ่ เดอื น

หนี้สินครวั เรือนก่อนเข้าร่วมโครงการฯ ครัวเรือนมีหนีส้ ินเฉลีย่ 449,646.18 บาท ภายหลังเข้ารว่ ม
โครงการฯ ครัวเรือนมีหนี้สินเฉลี่ย 438,680.18 บาท หรือมีหนี้สินลดลงคิดเป็นการเปล่ียนแปลง
รอ้ ยละ 2.50

เงนิ ออมครัวเรอื นก่อนเข้ารว่ มโครงการฯ ครวั เรอื นมีเงินออมเฉลย่ี 59,947.63 บาท ภายหลัง
เข้าร่วมโครงการฯ ครัวเรือนมีเงินออมเฉลี่ย 61,708.62 บาท หรือมีเงินออมเพิ่มขึ้นคิดเป็น
การเปล่ยี นแปลงร้อยละ 2.94 รายละเอยี ดแสดงไวใ้ นรูปที่ 4.14 และตารางที่ 4.22

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของรูปที่ 4.14 xi
∑in=1
คำนวณรอ้ ยละของข้อมลู โดยใช้สตู ร percent= xi *100

โดยที่ xi = คา่ ของข้อมลู ที่ได้จากครวั เรือนท่ี i

n = จำนวนตัวอยา่ งทจ่ี ดั เกบ็

รปู ท่ี 4.14 การเปลยี่ นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ ในระดบั ครวั เรือน

หน่วย: บาท

4-57
0

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.22 xi
∑in=1
คำนวณร้อยละของข้อมูลโดยใช้สตู ร percent= xi *100

โดยที่ xi = ค่าของข้อมลู ท่ีได้จากครัวเรือนท่ี i

n = จำนวนตัวอย่างทีจ่ ดั เกบ็

ตารางที่ 4.22 การเปลย่ี นแปลงด้านเศรษฐกิจในระดับครวั เรือน

ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระดบั ครวั เรอื น: ดา้ นรายไดต้ อ่ เดอื นครวั เรอื น รายไดเ้ ฉลยี่ (บาท)

รายได้กอ่ นเขา้ ร่วมโครงการฯ 25,592.02

รายได้หลงั เข้ารว่ มโครงการฯ 26,344.28

แหลง่ ทม่ี าของรายได้

จากผลผลติ ทางการเกษตร 20,003.50

จากการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร 14,134.76

จากการเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว/สถานท่ีฝกึ อบรมเชิงเกษตร 50,790.43

ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระดบั ครวั เรอื น: หนสี้ นิ ครวั เรอื น หนส้ี นิ เฉลยี่ (บาท)

หนีส้ นิ ก่อนเขา้ ร่วมโครงการฯ 449,646.18

หน้สี ินหลังเขา้ รว่ มโครงการฯ 438,680.18

ผลทเี่ กดิ ขน้ึ ในระดบั ครวั เรอื น: เงนิ ออมครวั เรอื น เงนิ ออมเฉลย่ี (บาท)

เงินออมก่อนเขา้ ร่วมโครงการฯ 59,947.63

เงนิ ออมหลงั เข้ารว่ มโครงการฯ 61,708.62

การเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ข้ึนในระดับชมุ ชนจากการเขา้ รว่ มโครงการฯ เมอ่ื เทยี บกบั ทีค่ าดหวังไว้
พบว่า ประเดน็ ที่มีการเปลยี่ นแปลงในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 80.00 ไดแ้ ก่ ความสมั พันธ์ของสมาชิก
ความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกร สุขภาพกาย สุขภาพจิต คุณภาพของแหล่งน้ำ ปริมาณแหล่งน้ำ
ปัญหาขยะ ความรู้ความเข้าใจของคนในชุมชนที่มีต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและโครงการ
โคก หนอง นา และประเด็นที่มกี ารเปลยี่ นแปลงในเชิงบวกมากกว่าร้อยละ 70.00 ได้แก่ ปญั หาสังคม
ฐานะทางเศรษฐกิจ และปญั หาสุขภาพท่เี กิดจากการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร รายละเอยี ดแสดงไว้ใน
รูปที่ 4.15 และตารางที่ 4.23

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของรูปท่ี 4.15 xij
∑in=1
คำนวณรอ้ ยละของแตล่ ะคำตอบของข้อมลู โดยใช้สูตร percent= xi *

โดยท่ี xi = ค่าของข้อมลู ที่ได้จากครวั เรือนท่ี i

รปู ที่ 4.15 ร้อยละของการเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิด

3- 58

*100

ท่ีตอบคำตอบท่ี j และ n = จำนวนตวั อย่างทจ่ี ดั เกบ็

ดขน้ึ ในระดบั ชมุ ชนจากการเขา้ ร่วมโครงการฯ

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.23 xij
∑ni=1
คำนวณรอ้ ยละของแต่ละคำตอบของข้อมลู โดยใชส้ ูตร percent= xi *

โดยท่ี xi = คา่ ของขอ้ มลู ทไี่ ด้จากครวั เรือนที่ i

ตารางท่ี 4.23 ร้อยละของการเปล่ยี นแปลงทเี่ ก

ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระดบั ชมุ ชน เพม่ิ ขน้ึ น้อยกวา่
คาดหวงั มาก
ความสัมพนั ธข์ องสมาชิกในชุมชน 5.20
ความเข้มแขง็ ของเครือข่ายเกษตรกรในชมุ ชน 10.12
ปัญหาสงั คมภายในชมุ ชน 11.41
ฐานะทางเศรษฐกจิ ของคนในชุมชน 11.24
สขุ ภาพกายของคนในชมุ ชน 9.49
สุขภาพจติ ของคนในชมุ ชน 8.99
คณุ ภาพของแหลง่ นำ้ ภายในชุมชน 9.20
ปรมิ าณแหลง่ นำ้ ของชุมชน 10.32
ปัญหาขยะภายในชุมชน 10.28
ปญั หาสุขภาพทเ่ี กิดจากการใช้สารเคมเี พ่ือการเกษตรภายในชมุ ชน 11.07
ความรูค้ วามเขา้ ใจของคนในชมุ ชนทม่ี ตี อ่ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 9.03
และโครงการโคก หนอง นา

*100

ที่ตอบคำตอบท่ี j และ n = จำนวนตวั อยา่ งที่จัดเก็บ

กดิ ขนึ้ ในระดบั ชุมชนจากการเข้าร่วมโครงการฯ

าที่ เพม่ิ ขน้ึ นอ้ ยกวา่ ท่ี เพมิ่ ขนึ้ ใกลเ้ คยี ง เพม่ิ ขนึ้ สงู กวา่ ท่ี หนว่ ย : รอ้ ยละ
คาดหวงั เพมิ่ ขนึ้ สงู กวา่ ท่ี
คาดหวงั กบั ทค่ี าดหวัง 42.13 คาดหวงั มาก
42.26
6.04 33.64 34.43 12.99
36.34 10.70
5.33 31.60 41.38 11.49
40.80 10.74
8.74 33.93 38.26 12.24
35.47 13.95
10.41 31.27 32.64 15.74
36.01 18.61
6.87 30.02 39.34 12.11
14.36
5.54 30.72 17.03

6.79 30.02

7.08 28.52

8.95 36.01

8.95 29.60

8.83 25.77

4-59

4-60
0

สว่ นที่ 5 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของหวั หนา้ ครวั เรอื น เปน็ การจำแนกหัวหนา้ ครวั เรอื นตามลักษณะ
ทางประชากรศาสตร์ของผ้ตู อบแบบสำรวจ โดยมีรายละเอียดดงั นี้

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของหัวหน้าครัวเรือน พบว่า หัวหน้าครัวเรือนส่วนใหญ่เป็น
เพศชายมากกว่าเพศหญิง 2 ใน 3 ของจำนวนท้ังหมด ร้อยละ 66.03 สว่ นใหญ่อยู่ในชว่ งอายุมากกว่า
51 ปีขึ้นไป ที่มีสถานภาพสมรสแล้ว ประมาณร้อยละ 80.85 และนับถือศาสนาพุทธมากกว่าศาสนา
อสิ ลามและศาสนาครสิ ต์ โดยมีระดบั การศึกษาสงู สุดอยู่ทร่ี ะดับประถมศกึ ษา รอ้ ยละ 39.72 รองลงมา
คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 22.27 และร้อยละ 11.57
ตามลำดับ ปัจจุบันประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง โดยยึดเป็นอาชีพ
หลักที่มีระยะเวลาในการทำงานเป็น 44.65 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีรายได้ต่อปีประมาณ 62,759.88
บาทต่อหน่วยเวลา รายละเอียดตามทแ่ี สดงในตารางที่ 4.24

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.24 xi
∑ni=1
คำนวณร้อยละของข้อมลู โดยใช้สตู ร percent= xi *100

โดยที่ xi = คา่ ของข้อมูลท่ีไดจ้ ากครัวเรือนท่ี i

n = จำนวนตัวอย่างทจ่ี ดั เก็บ

ตารางท่ี 4.24 ข้อมูลพ้ืนฐานของหัวหนา้ ครัวเรอื น

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน จำนวน (คน) รอ้ ยละ

เพศ 1,524 63.45
ชาย 877 36.51
หญงิ 1 0.04
ไมร่ ะบุเพศ
อายุ 38 1.58
นอ้ ยกวา่ 30 ปี 158 6.58
31-40 ปี 620 25.81
41-50 ปี 1,586 66.03
มากกวา่ 51 ปขี ้นึ ไป
ศาสนา 2,318 96.50
พทุ ธ 42 1.75
อสิ ลาม 42 1.75
ครสิ ต์

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน จำนวน (คน) 4-61
สถานภาพ 0
โสด 203
สมรส 1,942 รอ้ ยละ
หมา้ ย/หย่ารา้ ง 251
ไม่ระบุสถานภาพ 8.45
การศกึ ษาสงู สดุ 6 80.85
ไม่มกี ารศึกษา 10.45
ต่ำกว่าประถมศึกษา 71 0.25
ประถมศกึ ษา 181
มัธยมศึกษาตอนตน้ 954 2.96
มธั ยมศึกษาตอนปลาย 278 7.54
ประกาศนียบตั รวิชาชพี 535 39.72
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ขน้ั สูง 85 11.57
ปรญิ ญาตรี 74 22.27
สูงกวา่ ปริญญาตรี 193 3.54
สถานภาพทางการทำงาน (อสุ าหกรรม) 31 3.08
เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 8.03
อาหารและอาหารสตั ว์ 2,177 1.29
การทำเหมอื งแรแ่ ละเหมืองหิน 3
การผลติ และสิง่ ทอ 1 90.63
การผลติ เส้ือผ้าเครื่องแตง่ กาย 6 0.12
เฟอรน์ เิ จอร์ 1 0.04
ปิโตรเลยี ม 3 0.25
ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ 1 0.04
ยานยนตแ์ ละช้นิ สว่ น 2 0.12
อตุ สาหกรรมการผลิตอืน่ ๆ 1 0.04
กอ่ สร้าง 1 0.08
ขายสง่ ขายปลกี ซอ่ มยานยนต์ และจกั รยานยนต์ 10 0.04
ทพ่ี กั แรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 5 0.04
การขนสง่ และสถานท่ีเกบ็ สนิ ค้า 1 0.42
การเงินและการประกันภัย 2 0.21
บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพและสังคมสงเคราะห์ 1 0.04
บรกิ ารอ่นื ๆ 1 0.08
186 0.04
0.04
7.74

4-62
0

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน จำนวน (คน) รอ้ ยละ
สถานภาพการทำงาน
นายจ้าง/เจา้ ของ 1,979 82.39
ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัว 167 6.95
ชว่ ยธุรกิจครวั เรือนโดยไมไ่ ดร้ ับค่าจ้าง 73 3.04
ลูกจา้ งรัฐบาล 122 5.08
ลกู จา้ งรฐั วิสาหกจิ 4 0.17
ลกู จ้างเอกชน 20 0.83
ลูกจา้ งทำงานหลายเจ้า 25 1.04
การรวมกลุม่ 12 0.50
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการทำงาน (ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห)์ *ตอบไดม้ ากกวา่ 1
คำตอบ จำนวน (คน) ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์
งานหลกั
งานอืน่ ๆ 2,395 44.65
จำนวน และลกั ษณะของคา่ จา้ ง/รายไดท้ ไี่ ดร้ บั 7 18.49
รายวนั บาทตอ่ หนว่ ยเวลา
รายสปั ดาห์ จำนวน (คน) 3,288.61
รายเดอื น 173 4,504.15
รายปี 58 10,885.77
อื่น ๆ 668 62,759.88
สวสั ดกิ ารทไี่ ดร้ บั (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 1,474 24,172.35
อาหาร 27 รอ้ ยละ
ที่พกั 0.17
อน่ื ๆ จำนวน (คน) 0.04
ไมป่ ระสงคร์ ะบุ 4 1.21
1 98.60
29

2,368

ส่วนที่ 6 ความคิดเห็นของผู้ไม่เคยเข้าร่วมโครงการ โคก หนอง นา โมเดล เป็น
ความคิดเห็นของผู้ที่ยังไม่เคยเข้าร่วมโครงการฯ ความต้องการเข้าร่วมและไม่ต้องการเข้าร่วม
โครงการฯ เหตผุ ลทีเ่ ข้าร่วมและไมเ่ ข้ารว่ มโครงการฯ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

จากการสำรวจผู้ที่ไม่เคยเข้าร่วมโครงการฯ พบว่า มีความต้องการเข้าร่วมโครงการฯ
คิดเป็นร้อยละ 51.00 ไม่ต้องการเข้าร่วมโครงการฯ คิดเป็นร้อยละ 49.00 โดยเหตุผลที่เข้าร่วม
โครงการฯ คือ มีตัวอย่างความสำเรจ็ ของโครงการฯ ในพื้นที่ สามารถนำไปปรับใชใ้ นพืน้ ท่ีการเกษตร
ของครัวเรือนได้ และเสริมความรู้ทางด้านการเกษตร เช่น การกับเก็บน้ำ การปลูกพืช ส่วนเหตุผล

4-63
0

ที่ไม่เข้าร่วมโครงการฯ คือ มีพื้นที่ในการทำเกษตรน้อย และค่าใช้จ่ายในการทำ โคก หนอง นา
รายละเอียดตามท่แี สดงไว้ในรูปท่ี 4.16 ตารางที่ 4.25 และตารางที่ 4.26

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของรูปท่ี 4.16 xi
∑in=1
คำนวณร้อยละของข้อมูลโดยใช้สตู ร percent= xi *100

โดยท่ี xi = คา่ ของข้อมูลที่ไดจ้ ากครวั เรือนที่ i

n = จำนวนตวั อยา่ งท่จี ดั เกบ็

รปู ท่ี 4.16 ความตอ้ งการในการเข้ารว่ มโครงการ โคก หนอง นา ของผไู้ ม่เคยเขา้ ร่วมในอนาคต

หนว่ ย : ร้อยละ

49.00 ตอ้ งการเข้าร่วม
51.00 ไมต่ ้องการเขา้ รว่ ม

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.25 xi
∑ni=1
คำนวณร้อยละของข้อมลู โดยใชส้ ูตร percent= xi *100

โดยที่ xi = ค่าของข้อมูลท่ีได้จากครัวเรอื นท่ี i

n = จำนวนตวั อยา่ งที่จัดเกบ็

ตารางท่ี 4.25 เหตผุ ลในการเข้ารว่ มโครงการ โคก หนอง นา โมเดล

เหตผุ ล รอ้ ยละ

สามารถนำไปปรับใช้ในพนื้ ท่ีการเกษตรของครัวครัวได้ 35.42

มีตัวอยา่ งความสำเรจ็ ของโครงการฯ ในพน้ื ที่ 40.25

เสรมิ ความรู้ทางด้านการเกษตร เช่น การกบั เก็บนำ้ การปลูกพืช 24.33

รวม 100.00

4-64
0

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางท่ี 4.26 xi
∑in=1
คำนวณร้อยละของข้อมูลโดยใชส้ ตู ร percent= xi *100

โดยท่ี xi = ค่าของข้อมลู ท่ีได้จากครวั เรอื นท่ี i

n = จำนวนตวั อย่างทีจ่ ดั เกบ็

ตารางท่ี 4.26 เหตุผลในการไมเ่ ขา้ ร่วมโครงการ โคก หนอง นา โมเดล

เหตผุ ล รอ้ ยละ

มีพน้ื ที่ในการทำเกษตรน้อย 81.68

ค่าใช้จ่ายในการทำโคก หนอง นา 18.32

รวม 100.00

ส่วนที่ 7 ปัญหา อปุ สรรคจากการเขา้ รว่ มโครงการฯ และขอ้ เสนอแนะ เปน็ ความคดิ เห็นของ
ผู้ที่เข้าร่วมโครงการฯ ในประเด็นปัญหา อุปสรรคจากการเข้าร่วมโครงการฯ รวมถึงข้อเสนอแนะ
จากการเขา้ ร่วมโครงการฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ปัญหา อุปสรรคจากการเข้าร่วมโครงการฯ มี 2 ประเด็น คือ ต้องใช้ระยะเวลาใน
การปรับปรุงพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 62.95 และรูปแบบการขุดสระยากต่อการนำไปใช้ในพื้นที่จริง
คิดเป็นร้อยละ 37.05 ด้านข้อเสนอแนะจากการเข้าร่วมโครงการฯ ควรมีการบูรณาการกับหน่วยงาน
ให้มากขึ้น เช่น สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด
สำนกั งานพลงั งานจังหวัด เป็นตน้ และการสนับสนนุ การทำการตลาด ทง้ั ช่องทางการจัดจำหนา่ ย การ
นำเสนอผลิตภัณฑ์ การประชาสัมพันธ์ ให้กับเกษตรกร รายละเอียดตามที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.27
และตารางท่ี 4.28

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.27 xi
∑in=1
คำนวณร้อยละของข้อมลู โดยใช้สตู ร percent= xi *100

โดยท่ี xi = คา่ ของข้อมลู ที่ไดจ้ ากครัวเรอื นท่ี i

n = จำนวนตัวอย่างทจี่ ดั เกบ็

4-65
0

ตารางท่ี 4.27 ปัญหา อปุ สรรค จากการเขา้ รว่ มโครงการฯ รอ้ ยละ
62.95
ปญั หา อปุ สรรค 37.05
ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาในการปรบั ปรงุ พน้ื ที่ 100.00
รูปแบบการขดุ สระยากตอ่ การนำไปใชใ้ นพืน้ ทจี่ รงิ

รวม

แนวทางการคำนวณขอ้ มลู ของตารางที่ 4.28 xi
∑ni=1
คำนวณร้อยละของข้อมูลโดยใช้สูตร percent= xi *100

โดยท่ี xi = คา่ ของข้อมลู ท่ีได้จากครัวเรอื นท่ี i

n = จำนวนตัวอยา่ งท่จี ัดเกบ็

ตารางท่ี 4.28 ข้อเสนอแนะจากการเข้ารว่ มโครงการฯ รอ้ ยละ
78.06
ขอ้ เสนอแนะ
ควรมกี ารบรู ณาการกบั หน่วยงานให้มากข้นึ เช่น สำนกั งานเกษตรจงั หวัด สำนกั งานเกษตร 21.94
จังหวดั สำนักงานพฒั นาท่ีดินเขต สำนักงานปศสุ ตั วจ์ งั หวัด สำนกั งานพลงั งานจังหวัด เปน็ ตน้
สนับสนุนการทำการตลาด ทั้งชอ่ งทางการจัดจำหน่าย การนำเสนอผลติ ภณั ฑ์ 100.00
การประชาสัมพันธ์ ให้กบั เกษตรกร

รวม

4.2.3 ผลการตดิ ตามประเมนิ ผลดา้ นธรรมาภบิ าลของกลุม่ เป้าหมาย
การประเมินธรรมภบิ าลจะใช้กรอบท่ีเสนอโดย สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ
(สำนกั งาน กพร.)1 ทีใ่ ห้แนวทางไว้ว่าหลักธรรมภิบาลของการบริหารจดั การท่ีดีจะประกอบด้วย 4 มิติ
ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่

1) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ที่ให้ความสำคัญ
กับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน ควบคู่ไปกับความสามารถในการตอบสนองต่อ
ความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อยา่ งเหมาะสมทันทว่ งที

1 สำนักงาน กพร. (ไม่ปรากฎปี) หลกั ธรรมภบิ าลของการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี เข้าถงึ ไดท้ ี่
https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/article/7.1_hlakthrrmaaphibaalkhngkaarbrih
aarkicchkaarbaanemuuengthiidii.pdf

4-66
0

2) ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) ที่ให้ความสำคัญกับความโปร่งใส
ในการดำเนินงาน การตรวจสอบและรับผิดรับชอบต่อผลของการดำเนินงาน บริหารจัดการโดยใช้
หลักนติ ิธรรม และใหค้ วามสำคญั กบั ความเสมอภาค

3) ประชารัฐ (Participatory State) ที่ใหค้ วามสำคญั กบั การกระจายอำนาจ การมสี ว่ นร่วม
ของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี รวมถงึ การมกี ระบวนการในการหาฉนั ทามติรว่ มกันอย่างเหมาะสม

4) ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ที่ให้ความสำคัญ
กบั การใช้คุณธรรมและจรยิ ธรรมมาเป็นแนวทางในการทำงานภายในขอบเขตงานของหน่วยงาน

เนื่องจากการดำเนินงานของโครงการฯ ในกลุ่มของ CLM และ HLM มีกรอบการทำงาน
ในลักษณะเดียวกัน การประเมินผลด้านธรรมาภิบาลจึงสามารถประเมินในภาพรวมของโครงการฯ
ได้ด้วยการประเมินระหว่างทาง (Formative Evaluation) ที่เป็นเครื่องมือในการประเมินโครงการฯ
ที่ยังอยู่ระหว่างการดำเนินการ โดยมีผลในการประเมนิ จำแนกตามมิตขิ ้างต้นดงั น้ี

ผลการประเมินด้านการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
โครงการฯ นำเอาเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เปน็ เคร่ืองมือในการทำงาน
ร่วมกันของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน มีฐานข้อมูลที่ใช้ใน
การติดตามประเมินผล มีการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลสมั ฤทธิ์ของโครงการฯ ซึ่งจะช่วยยกระดับ
ประสิทธิผลการดำเนินงานของโครงการฯ และช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการทำงานโดยเฉพาะ
การทำงานภายใต้สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงเป็นไปตาม
หลักการบรหิ ารจัดการภาครัฐแนวใหม่

ผลการประเมินด้านค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) การพัฒนาฐานข้อมูลและ
ระบบติดตามประเมินที่สามารถแสดงผลในระดับครัวเรือน ช่วยให้ประเมินผลสำเร็จของ
การดำเนินงานได้ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ตำบล จังหวัด ภูมิภาค และภาพรวมของประเทศ ที่จะเป็น
ข้อมูลสำคัญในการตรวจสอบและรับผิดรับชอบต่อผลของการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระบบดังกล่าวยังเป็นช่องทางที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการฯ สามารถแสดงความเห็นเกี่ยวกับ
การดำเนินงานของโครงการฯ จึงสอดคล้องกับคา่ นยิ มประชาธิปไตย

ผลการประเมินด้านประชารัฐ (Participatory State) แนวทางการดำเนินโครงการฯ
ให้ความสำคัญกับทำงานในเชิงพื้นที่ และการทำงานร่วมกับภาคีเครือที่เกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับ
ศักยภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่จากการเป็นผู้เข้าร่วมไปสู่การเป็นผู้ร่วมขับเคลื่อน จึงเป็นไป
ตามหลกั การดำเนินงานแบบประชารัฐ

ผลการประเมินด้านความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility)
การดำเนินโครงการฯ ได้ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการทำงานทุกระดับ

4-67
0

โดยเฉพาะหลักจรยิ ธรรมและคุณธรรมของความพอเพียง การดำเนินงานของโครงการฯ จึงสอดคล้อง
กบั หลักความรับผิดชอบทางการบริหาร

4.3 ผลการวิเคราะห์จัดกลุ่ม (Class Analysis) และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างครัวเรือนท่ี
เข้ารว่ ม และไมเ่ ขา้ รว่ มโครงการฯ ในประเดน็ ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ในบรบิ ทพนื้ ท่ี
เดยี วกัน

การวิเคราะห์ในส่วนนี้จะเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างครัวเรือนท่ีเขา้ ร่วมโครงการและ
ไม่เข้าร่วมโครง เพื่อประเมินการเข้ารว่ มโครงการทำใหเ้ กิดความแตกต่างในระดับใด ความแตกต่างน้ี
จะท้อนให้เห็นผลสัมฤทธิ์จากการเข้าร่วมโครงการ ยกตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบแล้ว ผู้เข้าร่วม
โครงการมีพื้นที่ในการกักเก็บน้ำเพิ่มขึ้น ก็หมายความว่าเกิดผลสัมฤทธิ์ในด้านสภาพแวดล้อมด้าน
การมีแหล่งนี้ ทั้งนี้การเปรียบเทียบจะให้วิธีการ Propensity Score Matching (PSM) ที่จะนำ
ค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่ต้องการวัดผลสัมฤทธิ์ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการและไม่เข้าร่วมโครงการมา
เปรียบเทียบกับ โดยการควบคุมตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และตัวแปรอื่นให้มีค่าคงที่ วิธีการนี้จะ
ใหผ้ ลแมน่ ยำกวา่ การเปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี แล้วใชค้ ่าสถิติ t ทดสอบ เน่ืองจากการทำสอบด้วยคา่ สถิติ t
มไิ ดม้ ีการควบคุมอิทธิพลของปัจจยั แวดลอ้ ม สว่ นการให้ PSM นน้ั ปจั จยั แวดล้อมทอี่ าจมผี ลได้ถูกควบคุมไว้
ความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจึงเกิดจากการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมโครงการเท่านั้น ในการคำนวณ
ผลสัมฤทธ์ิด้วย PSM จะใชส้ ูตรคำนวณต่อไปน้ี

สตู รการคำนวณโดยใช้ PSM

e(xi) = Pr⁡(zi=1|xi)

โดยท่ี e(xi)=⁡ผลสัมฤทธิด์ า้ นที่ i ภายใต้การควบคมุ ปัจจยั xi
zi=0⁡สำหรับผไู้ มไ่ ด้เขา้ รว่ มโครงการ
⁡zi=1 สำหรบั ผู้เขา้ ร่วมโครงการ

⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡⁡xi= ตัวแปรทางเศรษฐกจิ สังคม และตัวแปรอื่น

ทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อผลสมั ฤทธ์ิทป่ี ระเมิน

สำหรับการตีความผลของการประมาณค่าด้วยวิธี PSM ที่ได้ตามที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.29
นนั้ คา่ สมั ประสทิ ธิท์ ี่แสดงจะเปน็ ระดับความแตกต่าง ยกตัวอย่างเชน่ กรณขี องพน้ื ทีเ่ พาะปลูกท้ังหมด
ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้เท่ากับ 1.283 แสดงว่า ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีพื้นที่

4-68
0

เพาะปลูกสูงกว่าผู้ที่ไม่เข้าร่วมโครงการ 1.283 ไร่ โดยความแตกต่างเป็นผลโดยตรงจากการเข้าร่วม
โครงการ เนื่องจาก PSM ได้ควบคุมอิทธิพลของปัจจัยอื่นที่จะส่งผลให้เกิดความแตกต่างในการใช้พื้นที่ไว้
แล้ว การตีความผลที่ได้ในกรณีอื่นก็ใช้แนวทางเดียวกัน โดยพื้นที่กักเก็บน้ำของผู้เข้าร่วมโครงการฯ
มีมากกว่าผู้ไม่เข้ารว่ มโครงการฯ 0.160 ไร่ พืชสำคัญทีป่ ลูกในทีด่ นิ ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีมากกว่า
ผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.831 ชนิด การเพิ่มขึ้นของรายได้ต่อปี เมื่อเทียบกับที่คาดหวังไว้สูงกว่า
ผู้ไม่เข้าร่วม 83454.69 บาท ซึ่งมีชั่วโมงทำงานหลักน้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 2.476 ชั่วโมง
และชวั่ โมงทำงานอ่ืน ๆ สงู กว่าผ้ไู มเ่ ข้าร่วมโครงการฯ 3.146 ชั่วโมง

ตารางที่ 4.29 ผลการคาดการณท์ ่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนกบั ผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ

ดา้ นทค่ี าดการณ์ คา่ สมั ประสทิ ธิ์
พ้นื ท่ีเพาะปลูกทงั้ หมด (ไร)่ 1.283904*** (-0.4290862)
พนื้ ทีก่ กั เกบ็ น้ำในที่ดนิ (ไร่) 0.160357*** (-0.024372)
พชื สำคญั ทีป่ ลูกในท่ีดิน (ชนิด) 0.8305509*** (-0.0471229)
รายได้ตอ่ ปี (บาท) 83454.69*** (-46813.89)
ช่วั โมงทำงานหลัก (ช่วั โมง) -2.476857*** (-0.4896087)
ชัว่ โมงทำงานอ่นื ๆ (ชัว่ โมง)
3.145778 (-3.471093)

การใช้ PSM มาประเมินผลสัมฤทธิ์ด้านเศรษฐกิจ สุขภาวะ ความสัมพันธ์ในครัวเรือน
ความมั่นคงทางอาหาร และสิ่งแวดล้อม ตามผลที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.30 ก็จะใช้การตีความ
ในแนวทางเดียวกับที่อธิบายไว้ข้างต้น เพียงแต่ผลการประเมินจะมีหน่วยเป็น “คะแนน” เนื่องจาก
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผลสัมฤทธิ์เป็นข้อมูลที่เกิดจากการให้คะแนนเมื่อเทียบกับความคาดหวัง
ยกตวั อยา่ งเชน่ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ดิ ้านรายได้ต่อเดอื นครัวเรือน คา่ สมั ประสิทธิ์จาก PSM เท่ากับ
-0.0776942 หรือประมาณ -0.078 แสดงว่า ผู้เขา้ ร่วมโครงการมผี ลสมั ฤทธ์ิด้านการเพมิ่ ขน้ึ ของรายได้
นอ้ ยกวา่ ผ้ทู ่ไี ม่ได้เขา้ รว่ มโครงการเทา่ กับ 0.078 ผลการประเมินแตล่ ะด้านมีรายละเอยี ดดงั นี้

ด้านเศรษฐกิจ
ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ ในระดบั ครัวเรือนมีคะแนนการเพิ่มข้ึนของรายได้ต่อครัวเรือน เมื่อเทียบ
กับที่คาดหวังไว้น้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.078 คะแนน มีการเพิ่มขึ้นของหนี้สินครัวเรือน
เมื่อเทียบกับที่คาดหวงั ไว้น้อยกวา่ ผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.072 คะแนน มีการออมเงิน เมื่อเทียบกับ
ที่คาดหวังไว้น้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.043 คะแนน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับชุมชน
มฐี านะทางเศรษฐกิจสงู กว่าผูไ้ ม่เข้ารว่ มโครงการฯ 0.156 คะแนน

4-69
0

ด้านสุขภาวะ
ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับครัวเรือนมีสุขภาพกายที่ดีกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.004
คะแนน แต่มีสุขภาพจิตต่ำกว่าผู้ไม่เข้าร่วม 0.110 คะแนน และผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับชุมชน
มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ปัญหาสุขภาพจากการใช้สารเคมีในชุมชนเพิ่มขึ้น 0.152 คะแนน 0.052
คะแนน และ 0.184 คะแนน เพม่ิ ขนึ้ ตามลำดับ เมื่อเทียบผ้ไู มเ่ ขา้ รว่ มโครงการฯ
ดา้ นความสมั พันธ์ในครวั เรอื น
ความสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับครัวเรือน 0.102 คะแนน เมื่อเทียบกับที่คาดหวงั
ไว้น้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ และผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับชุมชนมีความสัมพันธ์กับสมาชิก
ในชุมชนน้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมโครงการฯ 0.001 คะแนน แต่มีความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกร
และปัญหาสงั คมภายในชุมชนสูงกวา่ ผู้ไมเ่ ขา้ ร่วมเท่ากันที่ 0.143 คะแนน
ความมน่ั คงทางอาหาร
ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ ในระดบั ครัวเรือนมคี วามมัน่ คงทางอาหาร เมื่อเทยี บกบั ที่คาดหวังไว้น้อย
กว่าผไู้ มเ่ ขา้ รว่ มโครงการฯ 0.088 คะแนน
ด้านสิ่งแวดล้อม
ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับครัวเรือนมีความสามารถในการรับมือกับการผันผวนของสภาพ
อากาศที่ส่งผลต่อการทำเกษตรได้น้อยกว่าผู้ไม่เข้าร่วมตามที่คาดหวัง 0.113 คะแนน คุณภาพของ
สภาพแวดล้อมในพืน้ ท่ีมีคะแนนน้อยกว่าผูไ้ ม่เข้าร่วมตามที่คาดหวัง 0.017 คะแนน โดยภาพรวมแลว้
หลังเข้าร่วมโครงการฯ คุณภาพชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเทียบกับที่คาดหวังไว้น้อยกว่า 0.106
คะแนน และผู้เข้าร่วมโครงการฯ ในระดับชุมชนมีคุณภาพของแหล่งน้ำสูงกว่าผู้ไม่เข้าร่วมตามท่ี
คาดหวงั 0.032 คะแนน ซึง่ มีปรมิ าณแหล่งน้ำของชุมชนสงู กว่าตามท่ีคาดหวัง 0.031 คะแนน ปัญหา
ขยะที่เกิดขึ้นภายในชุมชนสูงกว่าตามที่คาดหวัง 0.143 คะแนน และคนในชุมชนมีความรูค้ วามเข้าใจ
ต่อปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและโครงการ โคก หนอง นา โมเดล สูงกว่าผไู้ ม่เข้ารว่ มโครงการฯ 0.013
คะแนน รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 4.30

4-70
0

ตารางที่ 4.30 ผลการคาดการณท์ ค่ี าดวา่ จะเกดิ ข้นึ กบั ผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ

ระดบั ครวั เรอื น ระดบั ชมุ ชน

ดา้ นทเ่ี ปรยี บเทยี บ คา่ สมั ประสทิ ธิ์ ดา้ นทเ่ี ปรยี บเทยี บ คา่ สมั ประสทิ ธ์ิ

ดา้ นเศรษฐกจิ

รายได้ตอ่ เดอื นครวั เรือน (บาท) -0.0776942*** ฐานะทางเศรษฐกจิ ของคนใน 0.1559656***

(0.0169497) ชมุ ชน (0.0159926)

หนส้ี ินครัวเรอื น (บาท) -0.0723354***

(0.0162215)

เงินออม (บาท) -0.0438267***

(0.0176391)

ดา้ นสขุ ภาวะ

สุขภาพกายของสมาชกิ ใน 0.003545 สุขภาพกายของคนในชุมชน 0.1524535***

ครัวเรือน (0.0144217) (0.0150081)

สขุ ภาพจิตของสมาชิกใน -0.1103252*** สุขภาพจิตของคนในชุมชน 0.0517412***

ครัวเรือน (0.0143544) (0.01544)

ปัญหาสขุ ภาพทเ่ี กิดจากการใช้ 0.1843919***

สารเคมีเพื่อการเกษตรภายใน (0.0156016)

ชมุ ชน

ดา้ นความสมั พนั ธ์

-0.1023777*** ความสัมพนั ธข์ องสมาชิกใน -0.001484

ความสัมพันธภ์ ายในครอบครวั (0.0139481) ชมุ ชน (0.0145443)

ของสมาชกิ ในครวั เรือน ความเข้มแข็งของเครอื ข่าย 0.1429231***

เกษตรกรในชมุ ชน (0.0145731)

ความมนั่ คงทางอาหาร -0.0872082*** ปญั หาสงั คมภายในชมุ ชน 0.1427087***

(0.0139969) (0.016528)

4-71
0

ระดบั ครวั เรอื น ระดบั ชมุ ชน

ดา้ นทเ่ี ปรยี บเทยี บ คา่ สมั ประสทิ ธิ์ ดา้ นทเี่ ปรยี บเทยี บ คา่ สมั ประสทิ ธิ์

ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

ความสามารถในการรบั มอื กับ -0.11265*** คุณภาพของแหลง่ น้ำภายใน 0.0328123**

ผนั ผวนของสภาพอากาศท่ี (0.0142508) ชุมชน (0.016248)

ส่งผลต่อการทำเกษตร

คุณภาพของสภาพแวดล้อมใน -0.0168513 ปรมิ าณแหลง่ นำ้ ของชมุ ชน 0.0312624*

พื้นที่ (เช่น อากาศ ความสะอาด (0.0154731) (0.0170206)

คุณภาพดนิ คณุ ภาพน้ำ) ปญั หาขยะภายในชมุ ชน 0.1427912***

(0.015294)

โดยภาพรวมแล้วหลงั เข้าร่วม -0.1064833*** ความรู้ความเขา้ ใจของคนใน 0.0136031

โครงการฯ คณุ ภาพชวี ติ ของ (0.0140797) ชุมชนท่มี ีต่อปรัชญาเศรษฐกิจ (0.0176156)

ทา่ นเปลย่ี นแปลงไปอย่างไรเมอ่ื พอเพยี งและโครงการ โคก

เทียบกบั ที่คาดหวังไว้ หนอง นา โมเดล

ด้านข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน กลุ่มผู้ที่ไม่เข้าร่วมเป็นเพศชายร้อยละ 65.54 เพศหญิง
ร้อยละ 34.46 ขณะที่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เป็นเพศชายร้อยละ 63.45 เพศหญิงร้อยละ 36.51
โดยส่วนมากอายุของทั้งสองกลุ่มอยู่ในช่วงมากกว่า 51 ปีขึ้นไป ตามด้วยช่วงอายุระหว่าง 41-50 ปี
ซึ่งมากกว่าร้อยละ 90.00 ของทั้งสองกลุ่มนับถือศาสนาพุทธ และประมาณร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม
และไม่เขา้ รว่ มมีสถานะสมรส

ด้านการศึกษา โดยส่วนมากผู้เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการฯ มีการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น ตามลำดับ ด้านสถานภาพใน
การทำงาน พบว่าท้ังสองกลมุ่ ไมม่ ีความแตกต่างกัน คอื ประมาณรอ้ ยละ 90.00 ของท้งั สองกลุ่มอยู่ใน
ภาคการเกษตร และทงั้ สองกลุ่มมีสถานภาพเปน็ เจ้านายหรอื เจา้ ของประมาณร้อยละ 80.00 ตามด้วย
ประกอบธรุ กิจส่วนตวั และชว่ ยธุรกิจครวั เรือนโดยไมไ่ ด้รับคา่ จ้าง

สำหรับชั่วโมงการทำงาน พบว่ากลุ่มที่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีชั่วโมงการทำงานหลักน้อยกว่า
กลุ่มผู้ที่ไม่เข้าร่วมเล็กน้อย แต่มีชั่วโมงในการทำงานอื่น ๆ มากกว่า ด้านค่าจ้างเฉลี่ยต่อหน่วยเวลา
กลุ่มผู้ที่เข้าร่วมมีค่าจ้างเฉลี่ย 3,288.61 บาทต่อวัน 4,504.15 บาทต่อสัปดาห์ 10,885.77 บาทต่อ
เดอื น 62,759.88 บาทต่อปี สว่ นกลุ่มผทู้ ไ่ี ม่เข้าร่วมมีค่าจ้างเฉลยี่ 374.85 บาทต่อวนั 2,303.96 บาท
ตอ่ สปั ดาห์ 8,976.14 บาทตอ่ เดือน 61,281.28 บาทต่อปี รายละเอยี ดตามท่ีแสดงไว้ในตารางท่ี 4.31

4-72
0

ตารางท่ี 4.31 เปรยี บเทยี บขอ้ มูลพ้ืนฐานครัวเรือนผูเ้ ขา้ ร่วมและไมเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน เขา้ รว่ ม ไมเ่ ขา้ รว่ ม
จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

เพศ

ชาย 1,524 63.45 1,738 65.54

หญงิ 877 36.51 914 34.46

อายุ

น้อยกวา่ 30 ปี 38 1.58 72 2.71

31-40 ปี 158 6.58 225 8.48

41-50 ปี 620 25.81 561 21.15

มากกวา่ 51 ปีข้นึ ไป 1,586 66.03 1,794 67.65

ศาสนา

พทุ ธ 2,318 96.5 2,560 96.53

อสิ ลาม 42 1.75 34 1.28

ครสิ ต์ 42 1.75 58 2.19

สถานภาพ

โสด 203 8.47 232 8.75

สมรส 1,942 81.05 2,110 79.56

หม้าย/หยา่ รา้ ง 251 10.48 310 11.69

การศกึ ษาสงู สดุ

ไม่มีการศึกษา 71 2.96 132 4.98

ต่ำกว่าประถมศึกษา 181 7.54 253 9.54

ประถมศึกษา 954 39.72 1,267 47.78

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 278 11.57 290 10.94

มธั ยมศึกษาตอนปลาย 535 22.27 423 15.95

ประกาศนียบตั รวชิ าชพี 85 3.54 50 1.89

ประกาศนียบตั รวิชาชพี ขั้นสงู 74 3.08 71 2.68

ปริญญาตรี 193 8.03 147 5.54

สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 31 1.29 19 0.72

4-73
0

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน เขา้ รว่ ม ไมเ่ ขา้ รว่ ม
จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
สถานภาพทางการทำงาน (อตุ สาหกรรม)
เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 2,177 90.63 2,374 89.52
อาหารและอาหารสัตว์ 3 0.12 7 0.26
การทำเหมืองแร่และเหมอื งหิน 1 0.04 --
การผลิตและสิง่ ทอ 6 0.25 1 0.04
การผลิตเสอื้ ผ้าเคร่ืองแต่งกาย 1 0.04 1 0.04
เฟอร์นิเจอร์ 3 0.12 1 0.04
ปิโตรเลียม 1 0.04 --
ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ 2 0.08 --
ยานยนตแ์ ละชน้ิ ส่วน 1 0.04 --
อุตสาหกรรมการผลติ อื่น ๆ 1 0.04 --
ก่อสร้าง 10 0.42 5 0.19
ขายสง่ ขายปลีก ซอ่ มยานยนต์ และ 5 0.21 13 0.49
จกั รยานยนต์
ท่พี กั แรมและบริการดา้ นอาหาร 1 0.04 --
การขนสง่ และสถานที่เกบ็ สนิ คา้ 2 0.08 1 0.04
การเงนิ และการประกนั ภัย 1 0.04 --
บรกิ ารดา้ นสุขภาพและสังคมสงเคราะห์ 1 0.04 --
บริการอนื่ ๆ 186 7.74 249 9.39
สถานภาพการทำงานของทา่ น
นายจา้ ง/เจา้ ของ 1,979 82.39 2,128 80.24
ประกอบธุรกจิ สว่ นตวั 167 6.95 161 6.07
ช่วยธรุ กจิ ครัวเรอื นโดยไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง 73 3.04 55 2.07
ลกู จา้ งรัฐบาล 122 5.08 218 8.22
ลูกจา้ งรัฐวสิ าหกจิ 4 0.17 1 0.04
ลูกจ้างเอกชน 20 0.83 44 1.66
ลกู จา้ งทำงานหลายเจา้ 25 1.04 43 1.62
การรวมกลุ่ม 12 0.5 2 0.08

4-74
0

ขอ้ มลู พนื้ ฐาน เขา้ รว่ ม ไมเ่ ขา้ รว่ ม
จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
ในชว่ ง 7 วนั ทผี่ า่ นมา ทา่ นใชเ้ วลาทำงาน
ในแตล่ ะงานเปน็ เวลากชี่ ว่ั โมง จำนวน (คน) ช่วั โมงตอ่ จำนวน (คน) ชวั่ โมงตอ่
(เฉพาะงานทไี่ ดร้ บั คา่ ตอบแทน) สปั ดาห์ สปั ดาห์
งานหลัก
งานอืน่ ๆ 2,381 44.65 2,652 46.93
ทา่ นไดร้ บั คา่ จา้ ง/รายไดใ้ นลกั ษณะใด 79 18.49 123 14.73
(ดจู ากหนว่ ยเวลา)
และคดิ เปน็ จำนวนเงนิ เทา่ ไหร่ จำนวน (คน) บาทตอ่ หนว่ ย จำนวน (คน) บาทตอ่ หนว่ ย
รายวัน เวลา เวลา
รายสัปดาห์
รายเดอื น 173 3,288.61 268 374.85
รายปี 58 4,504.15 82 2,303.96
อ่นื ๆ 668 10,885.77 725 8,976.14
ทา่ นไดร้ บั สวสั ดกิ ารอน่ื ๆ หรอื ไม่ กรณุ า 1,474 62,759.88 1,576 61,281.28
ระบุ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 27 24,172.35 1 32,851.62
อาหาร
ท่ีพกั จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
น้ำ
ไฟฟ้า 4 11.43 4 4.82
อ่ืนๆ 1 2.86 7 8.43
-- 1 1.20
-- 14 16.87
29 82.86 57 68.67

4-75
0

4.4 การวิเคราะห์ผลสมั ฤทธดิ์ า้ นเศรษฐกจิ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม ของผู้เขา้ รว่ มโครงการพฒั นาพน้ื ท่ี
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
ในระดับครัวเรือน จังหวัด และประเทศ ของพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Community Lab Model for quality of life: CLM)

การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนา
พนื้ ทตี่ ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หมป่ ระยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ในระดับ
ครัวเรือน จังหวัด และประเทศ ของพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community
Lab Model for quality of life : CLM) สามารถวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ ในระดับครัวเรอื น ได้ ดังนี้

ผลการทดสอบตวั ชีว้ ดั
จากการเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมโครงการโคก หนอง นา โมเดล พื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (CLM) เกบ็ ขอ้ มลู ตวั อย่างท้งั หมด 180 ครวั เรอื น โดยมผี ู้ตอบแบบสอบถามที่
เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 180 ครัวเรือน สามารถนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีตามประเด็นของผลที่
เกดิ ขน้ึ ดังนี้
ในระดับครัวเรือน ขั้นตอนที่ 1 สามารถแบ่งประเด็นของผลที่เกิดขึ้นในระดับครัวเรือน
(การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ จากการเขา้ รว่ มโครงการฯ จำนวน 10 ประเด็น ดังนี้ 1) รายได้ตอ่ ครวั เรือน
2) หนี้สินครัวเรือน 3) เงินออม 4) สุขภาพกายของสมาชิกในครัวเรือน 5) สุขภาพจิตของสมาชิกใน
ครัวเรือน 6) ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวของสมาชิกในครัวเรือน 7) ความมั่นคงทางอาหาร
8) ความสามารถในการรับมือกับผันผวนของสภาพอากาศที่ส่งผลต่อการทำเกษตรของท่าน
9) คุณภาพของสภาพแวดล้อมในพื้นที่ของท่าน (เช่น อากาศ ความสะอาด คุณภาพดิน คุณภาพน้ำ) และ
10) ในภาพรวมท่านคิดว่าหลังเข้าร่วมโครงการฯ แล้วคุณภาพชีวิตของท่านเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
เม่ือเทียบเทียบที่คาดหวังไว้ โดยแต่ละประเด็นการให้เกณฑ์ระดับความคาดหวัง 5 ระดับ ได้แก่
1 หมายถึง เพิ่มขึ้นน้อยกว่าที่คาดหวัง 2 หมายถึง เพิ่มขึ้นน้อยกว่าที่คาดหวัง 3 หมายถึง เพิ่มข้ึน
ใกล้เคียงกับที่คาดหวงั 4 หมายถึง เพิม่ ข้ึนสูงกว่าที่คาดหวงั 5 หมายถงึ เพ่ิมข้นึ สูงกว่าทีค่ าดหวงั มาก
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อได้ข้อมูลตัวเลขครบทั้ง 10 ประเด็น จึงนำมาแปลงค่าของเกณฑ์ให้เป็น
ค่าดัชนีจะโดยกำหนดระดับความคาดหวังคือ เพิ่มขึ้นน้อยกว่าที่คาดหวังมากเท่ากับ -1 , เพิ่มขึ้น
น้อยกว่าที่คาดหวังเท่ากับ - 0.5 เพิ่มขึ้นใกล้เคียงกับที่คาดหวังเท่ากับ 0 เพิ่มขึ้นสูงกว่าที่คาดหวัง
เทา่ กับ 0.5 และเพิม่ ขึน้ สูงกวา่ ทีค่ าดหวังมากเทา่ กับ 1 จากนนั้ นำตัวเลขแต่ละประเด็นท้ัง 10 ประเด็น
เข้าสกู่ ารวเิ คราะหโ์ ดยแปลงตามวิธกี ารและตวั อย่างดังน้ี

4-76
0

ดัชนผี ลสัมฤทธิโ์ ครงการฯ ระดบั ครัวเรือน = รอ้ ยละความคาดหวงั (1) × ค่าดัชนีระดบั ความคาดหวัง (2)

ดัชนผี ลสมั ฤทธโ์ิ ครงการฯ เพมิ่ ข้ึน ระดบั ความคาดหวงั เพม่ิ ขึ้นสงู ผลรวม
นอ้ ยกวา่ ท่ี เพมิ่ ขน้ึ เพม่ิ ขึ้น เพมิ่ ข้นึ สงู กว่าท่ี
ร้อยละความคาดหวงั (1) คาดหวงั นอ้ ยกวา่ ท่ี ใกลเ้ คยี ง กวา่ ที่ คาดหวงั 100.00
คา่ ดชั นีระดับความคาดหวงั (2) คาดหวงั กบั ที่ คาดหวงั มาก -
ดัชนผี ลสัมฤทธิ์รายได้ตอ่ ครัวเรือน มาก 2.92
= (1) X (2) 18.88 คาดหวงั 1 -15.13
15.25 46.03 16.92
-1 -0.5 0 0.5 2.92

-18.88 -7.63 0 8.46

ขั้นตอนที่ 3 นำผลการวิเคราะห์ดัชนีผลสัมฤทธิ์ความสำเร็จของโครงการฯ ที่เกิดขึ้นในระดับ
ครัวเรอื นทัง้ 10 ประเด็น แล้วนำผลทไ่ี ดจ้ ากการคำนวณไปแสดงไวใ้ นรูปที่ 4.17 และตารางท่ี 4.32

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความคาดหวังต่อผลสำเร็จของโครงการฯ ในระดับครัวเรือน (CLM)
ทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาวะ ด้านความสัมพันธ์ในครัวเรือน และ
ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า โดยภาพรวมแล้วหลังเข้าร่วมโครงการฯ คุณภาพชีวิตดีกว่าที่คาดหวังมาก
(คะแนนอยู่ในช่วง 50 ถึง 100) ทั้งเรื่องความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ความมั่นคงทางอาหาร
ความสามารถในการรับมือกับผันผวนของสภาพอากาศที่ส่งผลต่อการทำเกษตร ด้านคุณภาพ
ของสภาพแวดล้อมในพื้นที่ (เช่น อากาศ ความสะอาด คุณภาพดิน คุณภาพน้ำ) สุขภาพจิต
ของสมาชกิ ในครัวเรอื นและสุขภาพกายของสมาชิกในครวั เรือนดกี วา่ ท่คี าดหวัง (คะแนนอยใู่ นช่วง 1 ถึง 50)
สำหรับความคาดหวังด้านรายได้ต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินครัวเรือน เงินออม น้อยกว่าที่คาดหวงั
(คะแนนอยู่ในช่วง -1 ถึง -50) จากการเข้าร่วมโครงการฯ รายละเอียดตามที่แสดงไว้ในรูปที่ 4.17
และตารางที่ 4.32

รปู ที่ 4.17 การเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขึ้นจากการเ


Click to View FlipBook Version