The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำราชาศัพท์ น.ส.สิริปรียา เรืองใสส่อง(แก้2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruangsisong, 2021-11-03 07:36:46

คำราชาศัพท์ น.ส.สิริปรียา เรืองใสส่อง(แก้2)

คำราชาศัพท์ น.ส.สิริปรียา เรืองใสส่อง(แก้2)

คำราชาศัพท์

๑๒ หมวด

น า ง ส า ว สิ ริ ป รี ย า เ รื อ ง ใ ส ส่ อ ง
ชั้ น มั ธ ย ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๖ / ๑

โ ร ง เ รี ย น วั ง โ พ น ง า ม วิ ท ย า

คำนำ

สมุดเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน
ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับคำราชาศัพท์ทั้งสิบสองหมวดเพื่อเป็นประโยชน์
ต่อผู้อ่านและที่ศึกษาข้อมูลในเรื่องคำราชาศัพท์

ผู้จัดทำหวังว่าสมุดเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านหรือผู้ศึกษา
ไม่มากก็น้อย

หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้

จัดทำโดย
นางสาวสิริปรียา เรืองใสส่อง
วันที่ ๒ เดือน พฤษจิกายน ๒๕๖๔

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
หมวดร่างกาย ๑
หมวดอาหาร ๒
หมวดกริยา ๓
หมวดเครื่องประดับ ๔
หมวดภาชนะ ๕
หมวดเครือญาติ ๖
หมวดพระสงฆ์ ๗
หมวดสรรพนาม ๘
หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด ๙
หมวดเครื่องใช้ทั่วไป ๑๐
หมวดคำสุภาพ ๑๑
หมวดคำอวยพร ๑๒

หมวด ร่างกาย

พระอุระ พระทรวง แปลว่า อก พระขนง พระภมู แปลว่า คิ้ว
พระหทัย พระกมล แปลว่า หัวใจ พระเนตร พระนัยนะ พระจักษุ แปลว่า ดวงตา
พระอุทร แปลว่า ท้อง พระกนีนิกา พระเนตรดารา แปลว่า แก้วตา
พระนาภี แปลว่า สะดือ ม่านพระเนตร แปลว่า ม่านตา
พระกฤษฎี บั้นพระองค์ พระกฏิ แปลว่า เอว ต่อมพระเนตร แปลว่า ต่อมน้ำตา
พระปรัศว์ แปลว่า สีข้าง พระนาสิก พระนาสา แปลว่า จมูก
พระผาสุกะ แปลว่า ซี่โครง พระปราง แปลว่า แก้ม
พระเศียร แปลว่า หัว ศีรษะ พระทนต์ แปลว่า ฟัน
พระสิรัฐิ ( สิ – รัด – ถิ ) พระสีสกฏาหะ พระกำโบล กระพุ้งพระปราง
แปลว่า กะโหลกศีรษะ แปลว่า กระพุ้งแก้ม
พระนลาฏ แปลว่า หน้าผาก พระโอษฐ์ แปลว่า ปาก ริมฝีปาก

หมวด อาหาร

เครื่องเสวย หมายถึง ของกิน ผักทอดยอด หมายถึง ผักบุ้ง
เครื่องคาว หมายถึง ของคาว ฟักเหลือง หมายถึง ฟักทอง
เครื่องเคียง หมายถึง ของเคียง ถั่วเพาะ หมายถึง ถั่วงอก
เครื่องว่าง หมายถึง ของว่าง พริกเม็ดเล็ก หมายถึง พริกขี้หนู
เครื่องหวาน หมายถึง ของหวาน เห็ดปลวก หมายถึง เห็ดโคน
พระกระยาหาร หมายถึง ข้าว เยื่อเคย หมายถึง กะปิ
พระกระยาต้ม หมายถึง ข้าวต้ม ปลาหาง หมายถึง ปลาช่อน
ขนมเส้น หมายถึง ขนมจีน ปลาใบไม้ หมายถึง ปลาสลิด
ผักรู้นอน หมายถึง ผักกระเฉด ปลายาว หมายถึง ปลาไหล
ผักสามหาว หมายถึง ผักตบ ปลามัจฉะ หมายถึง ปลาร้า

หมวด กริยา

ทรงพระปินาสะ หมายถึง จาม ถวายบังคม หมายถึง ไหว้
พระราชโองการ หมายถึง คำสั่ง พระบรมราชวินิจฉัย หมายถึง ตัดสิน
พระราโชวาท หมายถึง คำสั่งสอน ทอดพระเนตร หมายถึง ดู
พระราชปฏิสันถาร หมายถึง ทักทาย พระราชทาน หมายถึง ให้
มีพระราชประสงค์ หมายถึง อยากได้ พระราชหัตถเลขา หมายถึง เขียนจดหมาย
สรงพระพักตร์ หมายถึง ล้างหน้า ทรงเครื่อง หมายถึง แต่งตัว
ชำระพระหัตถ์ หมายถึง ล้างมือ ทรงพระอักษร หมายถึง เรียน เขียน อ่าน
พระราชปฏิสันถาร หมายถึง ทักทายปราศรัย ประทับ หมายถึง นั่ง
เสด็จประพาส หมายถึง ไปเที่ยว ทรงยืน หมายถึง ยืน
พระราชปุจฉา หมายถึง ถาม บรรทม หมายถึง นอน

หมวด เครื่องประดับ

พระจุฑามณี หมายถึง ปิ่ นประดับเพชร ทองพระกร, พระกำไล, พระวลัย
พระอุณหิส หมายถึง กรอบหน้า หมายถึง กำไล
พระมหามงกุฎ หมายถึง หมายถึง พระมหา พาหุรัด หมายถึง กำไลต้นแขน
พิชัยมงกุฎ ในเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ สร้อยข้อพระหัตถ์, พระวลัย
พระกุณฑล หมายถึง ต่างหู หมายถึง สร้อยข้อมือ
ตุ้มพระกรรณ หมายถึง ต่างหู พระกำไลหยก หมายถึง กำไลหยก
พระกรรเจียก หมายถึง จอนหู กำไลข้อพระบาท, ทองพระบาท
เกยูร หมายถึง สร้อยอ่อน, ทองต้นแขน หมายถึง กำไลข้อเท้า
สร้อยพระศอ หมายถึงสร้อยคอ พระธำมรงค์ หมายถึง แหวน
พระมหาสังวาล หมายถึง สร้อยตัว รัดพระองค์ หมายถึง เข็มขัด
พระสังวาล หมายถึง สร้อยตัว, สร้อยยาวสวม พระปั้ นเหน่ง หมายถึง หัวเข็มขัด
สะพายแล่ง

หมวด ภาชนะ

พระสุพรรณภาชน์ หมายถึง ชามชำระพระหัตถ์ หมายถึง ชามล้างมือ
โต๊ะทองคำสำหรับตั้งสำรับคาวหวาน พระมังสี หมายถึง พานรองสังข์ จอกหมาก
พระสุพรรณศรี หมายถึง กระโถนเล็ก พระตะพาบ, พระเต้า (คนโท)
พระสุพรรณราช หมายถึง กระโถนใหญ่ หมายถึง คนโทน้ำ
พระทวย หมายถึง พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ หมายถึง
คันทวยสำหรับรองรับกระโถน หรือรับพระ ขันน้ำทรงมณฑปพานรอง มีจอกลอย
ภูษาโยง หมายถึง บ้วนพระโอษฐ์ พระมณฑปพระสุธารส หมายถึง หม้อน้ำดื่ม
กระโถน หมายถึง โต๊ะเสวย พระเต้าทักษิโณทก หมายถึง เต้ากรวดน้ำ
โต๊ะรับประทานอาหาร หมายถึง พระสุวรรณภิงคาร หมายถึง
ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมายถึง ช้อน หม้อน้ำทำด้วยทองคำรูปคนโท
ฉลองพระหัตถ์ส้อม หมายถึง ส้อม ชามเครื่องต้น, ถ้วยชามเครื่องต้น
ฉลองพระหตั ถ์ตะเกียบ หมายถึง ตะเกียบ หมายถึง ถ้วยชาม
ผ้าเช็ดพระหัตถ์ หมายถึง ผ้าเช็ดมือ จานเครื่องต้น หมายถึง จาน
มีดคาว, มีดหวาน, มีดผลไม้
หมายถึง มีด

หมวด เครือญาติ

พระปัยกา หมายถึง ปู่ทวด พระปิตุลา หมายถึง ลุง อา (ฝ่ายพ่อ)
พระปัยยิกา หมายถึง ย่าทวด พระมาตุลา หมายถึง ลุง น้า (ฝ่ายแม่)
พระมาตามหัยกา, พระปัยกา หมายถึง ตาทวด พระปิตุจฉา หมายถึง ป้า อา (ฝ่ายพ่อ)
พระมาตามหัยยิกา, พระปัยยิกา พระมาตุจฉา หมายถึง ป้า อา (ฝ่ายแม่)
หมายถึง ยายทวด พระราชโอรส หมายถึง ลูกชาย
พระปิตามหะ หมายถึง ปู่ พระราชธิดา หมายถึง ลูกสาว
พระอัยยิกา หมายถึง ย่า พระเชษฐาธิราช, พระเชษฐา, พระเชษฐาภาดา
พระมาตามหะ, พระอัยกา หมายถึง ตา หมายถึง พี่ชาย
พระมาตามหา, พระอัยยิกา หมายถึง ยาย พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว
พระบรมชนกนาถ, พระชนก, พระราชบิดา พระอนุชาธิราช, พระอนุชา หมายถึง น้องชาย
หมายถึง พ่อ
พระราชชนนี, พระชนนี, พระราชมารดา
หมายถึง แม่

หมวด พระสงฆ์

กุฏิ แปลว่า เรือนที่พักในวัด พระบัญชา แปลว่า คำสั่ง(พระสังฆราช)
คิลานเภสัช แปลว่า ยารักษาโรค พระสมณสาสน์ แปลว่า จดหมาย(พระ
จังหัน แปลว่า อาหาร สังฆราช)
จำวัด แปลว่า นอน พระแท่น แปลว่า ธรรมาสน์(พระสังฆราช)
ฉัน แปลว่า รับประทาน พระโอวาท แปลว่า คำสอน(พระสังฆราช)
ถาน,เวจกุฎี แปลว่า ห้องสุขา ภัตตาหาร แปลว่า อาหาร
นิมนต์ แปลว่า เชิญ มรณภาพ แปลว่า ตาย
ประเคน แปลว่า ถวาย รูป แปลว่า ลักษณนามสำหรัพระภิกษุ
ปลงผม แปลว่า โกนผม, ตัดผม ลิขิต แปลว่า จดหมาย
ปัจจัย แปลว่า เงิน สลากภัต แปลว่า อาหารถวายพระด้วยสลาก
สรงน้ำ แปลว่า อาบน้ำ

หมวด สรรพนาม

กระผม, ดิฉัน แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1)
ข้าพระพุทธเจ้า แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1)
ทา่ น แทนผู้ที่พูดถึง
ฝ่าพระบาท แทนชื่อที่พูดด้วย
พระคุณท่าน แทนชื่อที่พูดด้วย
พระคุณเจ้า แทนชื่อที่พูดด้วย
พระองค์ แทนผู้ที่พูดถึง (บุรุษที่ 3)
พระเดชพระคุณ แทนชื่อที่พูดด้วย
ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
ใต้ฝ่าละอองพระบาท แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)

หมวด สัตว์
และเบ็ดเตล็ด

กระบือ หมายถึง ควาย เครื่องหวาน, เครื่องต้นหวาน
กล้วยเปลือกบาง, กล้วยกะ หมายถึง กล้วยไข่ หมายถึง ของหวาน, อาหารหวาน
กล้วยสั้น หมายถึง กล้วยกุ โค หมายถึง วัว
ขนมดอกเหล็ก, ขนมทราย หมายถึง ขนมขี้หนู จิตรจูล, จิตรจุล หมายถึง เต่า
ขนมสอดไส้ หมายถึง ขนมใส่ไส้ เจ็ดประการ หมายถึง เจ็ดอย่าง
ข้าวเสวย หมายถึง ชัลลุกะ, ชัลลุกา หมายถึง ปลิง
ข้าว หรือเรียกว่า พระกระยา ช้าง 2 ช้าง, ช้าง 2 เชือก หมายถึง ช้าง 2 ตัว
เครื่องคาว, เครื่องต้นคาว ช้างนรการ หมายถึง ช้างสีดอ
หมายถึง ของคาว, อาหารคาว ดอกขจร หมายถึง ดอกสลิด
เครื่องเคียง หมายถึง เครื่องจิ้ม เครื่องเนม ดอกซ่อนกลิ่น หมายถึง ดอกซ่อนชู้
เครื่องว่าง หมายถึง ของว่าง, อาหารว่าง ดอกถันวิฬาร์ หมายถึง ดอกนมแมว
เครื่องเสวย, เครื่องต้น, พระกระยาหาร ดอกทอดยอด หมายถึง ดอกผักบุ้ง
หมายถึง ของกิน

หมวด เครื่องใช้ทั่วไป

กระเป๋าทรง หมายถึง กระเป๋าถือ พระที่นั่ง หมายถึง ที่นั่ง
คันฉ่อง หมายถึง กระจกมีคันถือ แว่นโลหะขัด พระที่นั่งเก้าอี้, เก้าอี้ประทับ หมายถึง เก้าอี้นั่ง
เงามีด้าม ใช้เป็นกระจกส่องหน้า พระที่นั่งเจียม หมายถึง พรมขนสัตว์
ฉลองพระหัตถ์, ฉลองได, นารายณ์หัตถ์ พระพัชนี หมายถึง พัด
หมายถึง ไม้เกาหลัง พระยี่ภู่ หมายถึง ฟูก นวมที่ปูลาดไว้
ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา พระรัตนกรัณฑ์ หมายถึง ตลับประดับเพชร
ตลับพระมณฑปเล็ก หมายถึง ตลับยอดมณฑป พระราชบรรจถรณ์ หมายถึง ที่นอน
ตั่ง หมายถึง ที่นั่งไม่มีพนัก พระราชลัญจกร หมายถึง
ที่สรงพระพักตร์, ถาดสรงพระพักตร์, ตราแผ่นดินสำหรับใช้ประทับ
หมายถึง อ่างล้างหน้า พระราชอาสน์, พระเก้าอี้ หมายถึง เก้าอี้
ธารพระกร หมายถึง ไม้เท้า, ไม้วา, ไม้วัด พระล่วม หมายถึง กระเป๋าหมากบุหรี่
น้ำจัณฑ์ หมายถึง เหล้า
พระกลด หมายถึง ร่มด้ามยาว สำหรับประดบั
พระเกียรติยศ

หมวด คำสุภาพ

กรอกหม้อ แปลว่า ใส่หม้อ ครบสาม แปลว่า สามตัว
กลัดกระดุม แปลว่า ใส่กระดุม ครบหก แปลว่า ที่หก
กล้วยกระ, กล้วยเปลือกบาง แปลว่า กล้วยไข่ ครบห้า แปลว่า ที่ห้า
กล้วยกุ แปลว่า กล้วยสั้น คลอดบุตร แปลว่า คนออกลูก
กล้วยเปลือกบาง แปลว่า กล้วยไข่ จองจำ แปลวา่ ใส่ตรวน
กึ่งตำลึง แปลว่า สองบาท จิตรจุล แปลว่า เต่า
ขนมใส่ไส้ แปลว่า ขนมสอดไส้ ชลั ลุกา แปลวา่ ปลิง
ขึ้นยุ้ง แปลว่า ใส่ยุ้ง ชลั ลุกา, ชัลลุกะ แปลว่า ปลิง
คนคลอดลูก แปลว่า คนออกลูก ช้าง 2 ช้าง แปลว่า ช้างหลวง 2 ตัว
ครกตีพริก แปลว่า ครกกะเบือ ชา้ ง 2 ตัว แปลว่า ช้างอยู่ป่า 2 ตัว

หมวด คำอวยพร

อาศิรวาท หมายถึง อวยพร สดุดี สรรเสริญ


Click to View FlipBook Version