ยาเสพติดให้โทษ จัดทำ โดย เสนอ วิชา คอมพิวเตอร์ ด.ญ.สุพัทธ์ธีรา ยกยิ่ง เลขที่31 คุณครูโชษิตา แป้นคง ปกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสร้่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2567 มี วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรียนรู้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยว กับยาเสพติดที่เกิดขึ้น ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ยาเสพติดคืออะไร ประเภทของยาเสพติด ตัวอย่างยาเสพติด อาการของยาเสพติด คำ นำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือฉบับนี้จะให้ความรู้และ เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อยหากมีการผิดพลาด ประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย สุพัทธ์ธีรา ยกยิ่ง 26 มกราคม 2567
สารบัญ เรื่อง หน้า ยาเสพติดคืออะไร ประเภทยาเสพติด ตัวอย่างยาเสพติด อาการของผู้เสพยาเสพติด คำ นำ สารบัญ 1 2 3 7 เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม 11 ประวัติส่วนตัว 12
คือ ยาหรือสารเคมี หรือวัตถุชนิดใด ๆ ที่ อาจเป็น ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรือจากการสังเคราะห์ ซึ่ง เมื่อ เสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีการกิน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใด ๆ ก็ ตาม เป็นช่วงระยะเวลา หรือนาน ติดกันจนท าให้ร่างกายทรุดโทรม และตกอยู่ใต้ อำ นาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้น ทั้งด้านร่างกาย ยาเสพติดคืออะไร 1
คือ ยาเสพติดมีผลิตขึ้นด้วยกรรมทางเคมี เช่น เฮโรอีน โคเคน ประเภทยาเสพติด ประเภทยาเสพติดตามธรรมชาติ ประเภทยาเสพติดสงเคราะห์ คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กัญชา กระท่อม 2
ตัวอย่างยาเสพติดแต่ละ ประเภท ตัวอย่างยาเสพติดประเภทธรรมชาติ เป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ในเนื้อฝิ่นมีสาร เคมีผสมอยู่มากมายประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรด อินทรีย์เป็นแอลคะลอยด์ ฝิ่น (Opium) กระท่อม (kratom) เสพติดที่พบในใบกระท่อม คือ ไมทราไจนีน (Mitragynine) เป็นสารจำ พวกอัลคาลอยด์ ออกฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง (CNS depressant) 3
กัญชาเป็นพืชล้มลุกจำ พวกหญ้าชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น THAISTICKS,MARY - JANE หรือที่นิยมเรียกกันในกลุ่มผู้เสพว่า เนื้อ (จัด เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท ๕ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒) ลักษณะใบกัญชา จะเรียวยาวแตกเป็นแฉกคล้ายใบละหุ่งหรือ มันสำ ปะหลัง ส่วนที่นำ มาใช้เสพก็คือ ใบและยอดช่อดอกตัวเมีย โดยการนำ มาตากหรืออบแห้งแล้วบดหรือหั่นเป็นผงหยาบ ๆ นำ มามวนบุหรี่สูบ หรืออาจ สูบด้วยกล้องหรือบ้องกัญชา บางรายใช้เคี้ยว หรือเจือปนกับอาหารรับประทาน กัญชา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cannabis, sp.) ในกรณีที่เสพติดด้วยวิธีการสูบ กลิ่นกัญชาจะเหมือนกับเชือกหรือหญ้าแห้ง ไหม้ไฟ กัญชาจะออกฤทธิ์หลายอย่างผสมผสานกัน เริ่มตั้งแต่ กระตุ้น กด และหลอนประสาททั้งนี้เนื่องจากในช่อดอกและใบกัญชามีสารพิษที่ร้ายแรง ชนิดหนึ่งเรียกว่า TETRAHYDROCANNABINOL (THC) เป็นสารพิษที่ ทำ ลายสุขภาพร่างกายและก่อให้เกิดอาการติดยา 4
ตัวอย่างยาเสพติดประเภทสังเคราะห์ โคเคน (Cocaine) โคเคน เป็นสารกระตุ้นอย่างเข้มที่มักใช้เป็นยาเพื่อนันทนาการ ทั่วไปเสพโดย การสูด สูบควัน หรือละลายแล้วฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ฤทธิ์ต่อจิตประสาท เช่นการเสียการรับรู้ความเป็นจริง รู้สึกสุขยิ่งยิ่ง หรือกระสับกระส่าย เฮโรอีน (HEROIN) เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ประเภท ๑ (ตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒) เฮโรอีนได้จากการสังเคราะห์ตามกรรมวิธี ทางเคมี ฤทธิ์ของเฮโรอีนมีความรุนแรงกว่ามอร์ฟีน ประมาณ ๔-๘ เท่าและ รุนแรงกว่าฝิ่นประมาณ ๓๐-๘๐ เท่า 5
มอร์ฟีน (MORPHINE) เป็นสารอัลคาลอยด์ที่สกัดได้จากฝิ่น มีลักษณะเป็นผงสีขาวนวล สีครีม สี เทา ไม่มีกลิ่น รสขม ละลายน้ำ ง่าย (จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท ๒ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒) มีฤทธิ์ในการกด ประสาทและสมองรุนแรงกว่าฝิ่น ประมาณ ๘-๑๐ เท่า เสพติดได้ง่าย มี ลักษณะแตกต่างกัน เช่น อัดเป็นเม็ด เป็นผง เป็นแท่งสี่เหลี่ยมมี เครื่องหมาย 999 หรือ OK เป็นสัญลักษณ์ และชนิดน้ำ บรรจุหลอด แอมเฟตามีน (AMPHETAMINE) แอมเฟตามีน มีลักษณะเป็นผงผลึกมีขาว ไม่มีกลิ่น รสขม มีฤทธิ์ในการกระ ทำ ระบบประสาทส่วนกลาง (จัดเป็นวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท๒ ตามพระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ.๒๕๑๘) มีชื่อเรียก ทางการค้าต่าง ๆ กัน เช่น เบนซีดรีน ฟีนามีน ฯลฯ แต่ในกลุ่มผู้ใช้หรือเสพ นิยมเรียกกันว่า ยาม้า ยาขยัน ยาแก้ง่วง ยาโด๊ป ยาเพิ่มพลัง ฯลฯ 6
อาการของผู้เสพยาเสพติด •อาการยาเสพติดประเภทธรรมชาติ จะมีอาการจิตใจเลื่อนลอย ซึม ง่วง พูดจาวกวนไปมา อารมณ์ดี ความคิดและ การตัดสินใจเชื่องช้าเสพติดต่อกันเป็นเวลานาน ร่างกายจะทรุดโทรม ตัวซีด เหลืองซูบผอม ตาเหม่อลอยริมฝีปากเขียวคล้ำ อ่อนเพลียง่าย ซึมเศร้า อารมณ์ แปรปรวนง่าย ความจำ เสื่อม หงุดหงิด กระวนกระวาย ฉุนเฉียวน้ำ มูก น้ำ ตา ไหล ขนลุก ตัวลั่น เหงื่อออก ม่านตาขยาย ฝิ่น (Opium) 7
กระท่อม (kratom) ท้องผูก อุจจาระเขียวแข็งเหมือนมูลแพะบางรายมีอาการหูแว่ว ประสาทหลอนได้ เสพหนึ่งครั้งจะออกฤทธิ์นาน 3 – 4 ชั่วโมง กัญชา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cannabis, sp.) นอนมากกว่าปกติ, ปากแห้ง, คอแห้ง, วิงเวียนศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน •อาการยาเสพติดประเภทสังเคราะห์ โคเคน (Cocaine) 8
เคลิบเคลิ้มเป็นสุข ความวิตกกังวลลดลง อาการประหม่าต่อการเข้าสังคม ลดลง มีอารมณ์ทางเพศ การเสพต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จะทำ ให้เกิดอาการ ประสาทหลอน เฮโรอีน (HEROIN) อาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดตามข้อ ปวดสันหลัง ปวดบั้นเอว ปวดหัวรุนแรง มีอาการ จุกแน่นในอกคล้ายใจจะขาด อ่อนเพลียอย่างหนัก 9
มอร์ฟีน (MORPHINE) มีอาการท้องผูก คลื่นเหียน อาเจียน คันหน้า ตาแดง ง่วงซึม สมองช้าเกิด อาการมึนๆ ชาๆ สติปัญญาเสื่อม ร่างกายทรุดโทรมอย่างหนักและไม่ สนใจต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบ แอมเฟตามีน (AMPHETAMINE) ปากแห้ง มือสั่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ ถ้าใช้ยาเกินขนาดจะทำ ให้ความ ดันเลือดสูง ไข้สูง คลุ้มคลั่ง ประสาทหลอน ชัก และอาจตายได้ แต่ถ้าใช้ ยาติดต่อกันนานๆ จะทำ ให้สมองเสื่อม ตื่นเต้นตกใจง่าย นอนไม่หลับ น้ำ หนักลด 10
เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม ยาเสพติดคืออะไร ที่มา:http://www.lalommaipatthana.go.th ประเภทของยาเสพติด ที่มา: hattp://www.bangkok.go.th hattp://www.bangkokhealth.com/16930 ตัวอย่างยาเสพติด ที่มา:https://th.m.wikipedia.org https://www.oncb.go.th https://www.pinthog-group.com อาการของผู้เสพสารเสพติด ที่มา: http://www.pmnidat.go.th http://www.bangpakok3.com http://muangdon.go.th http://www.khlantanoi.go.th 11
ประวัติส่วนตัว ชื่อ ด.ญ.สุพัทธ์ธีรา นามสกุล ยกยิ่ง ชื่อเล่น ครีม กำ ลังศึกษาอยู่ที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนครศรีธรรมราช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เกิดวันที่ 21/กรกฎาคม/2552 สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ความชอบส่วนตัว สีที่ชอบ สีเขียว,สีดำ ,สีม่วง อาหารที่ชอบ ก๋วยเตี๋ยว,สลัด,หมูทอด งานอดิเรก นอน,ท่องเที่ยว,เต้น อายุ 14 ปี 12