–
–
–
–
–
คู่มอื การดาเนินการวิจัยสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา 2562
เอกสารหมายเลข 1AES/2562
งานพฒั นาวจิ ัย สพม.18
ก
คำนำ
การพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา ส่ิงทจี่ าเป็นคือ การยึดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและมาตรฐาน
ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ.2561 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของ
ผู้เรียน 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รียน 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและ
การจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
โดยการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาด้วยวิธีการนากระบวนการวิจยั เข้ามาเพ่ือช่วยในการศึกษาประเด็นที่มีความ
จาเป็นสูงสุดในการพัฒนาของสถานศึกษา และหาแนวทางการดาเนินการแก้ไข ขึ้นอยู่กับผลการวิเคราะห์ตามบริบทของ
สถานศกึ ษาท่เี หน็ เปน็ ภาวะเร่งดว่ นในการดาเนินการพฒั นา
ดังนั้นสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จึงได้จัดทาคู่มือแนวทางการดาเนินงานวิจัยการพัฒนา
“การวิจัยสถานศึกษา” ในสังกัดสพม.18 สู่การวิจัยท่ียั่งยืน นอกจากน้ีมุ่งหวังเพ่ือให้เกิดประโยชน์ไม่มากก็น้อยสาหรับใช้
เป็นแนวทางการดาเนินงานวิจัยสาหรับทุกกลุ่มงาน/หน่วยงานอื่น ที่ดาเนินการวิจัยในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้
พัฒนายิง่ ข้นึ
งานพัฒนาวิจยั สพม.18
กลมุ่ งานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 18
สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สำรบัญ ข
ส่วนท่ี 1 แนวทำง/ขั้นตอนกำรดำเนินกำรวิจัยสถำนศึกษำ 1
- ตอนท่ี 1 แนวทำงกำรวิจัยสถำนศึกษำ 2
- ตอนท่ี 2 กระบวนกำรวิจยั และพัฒนำ 4
- ตอนท่ี 3 กำรติดตำมภำยในงำนวจิ ัยของสถำนศึกษำ 11
ส่วนที่ 2 ข้นั ตอนประเมนิ ผลงำนวิจัยสถำนศึกษำทเ่ี ปน็ เลศิ ( Best Practic) ประจำปี 2562 15
อำ้ งอิง 17
ภำคผนวก 18
- ปฏิทินปฏบิ ตั งิ ำน 19
ส่วนท่ี 1
แนวทางและขน้ั ตอนการดาเนินการวจิ ยั สถานศกึ ษา
1
บทที่ 1
แนวทางการดาเนนิ การวจิ ยั สถานศกึ ษา
แนวทางการส่งเสรมิ การวจิ ยั สถานศึกษา
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 18 กำหนดวิสัยทัศน์ในกำรมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนกำรจัด
กำรศึกษำของสถำนศึกษำในสังกัด ให้ได้มำตรฐำนและมีคุณภำพระดับสำกลบนพื้นฐำนของควำมเป็นไทย และสอดคล้อง
กบั พันธกิจท่ีสำคัญในกำรพัฒนำระบบกำรจัดกำร และกำรบริหำรงำนของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 18
ที่เน้นกำรมีส่วนร่วมของทุกฝ่ำย ในกำรส่งเสริม และสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำโดยส่งผลให้ผู้เรียนทุกคน
ทกุ ระดับใหไ้ ด้รับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนอย่ำงทว่ั ถึง และมีคุณภำพตำมมำตรฐำนในระดับชำติและระดับสำกล กลำ่ วไดว้ ่ำกำร
จะพัฒนำสถำนศึกษำในสังกัด สพม. 18 ให้สำมำรถขบั เคลื่อนทำงกำรศึกษำและพัฒนำได้อย่ำงตรงเป้ำหมำย น้ันควรตอ้ งมี
วธิ ีกำรในกำรขับเคล่ือนอย่ำงหลำกหลำย โดยกำรร่วมระดมควำมคดิ ของบุคลำกรในสถำนศึกษำ ผู้ปกครอง คณะกรรมกำร
ในสถำนศึกษำและชุมชนให้มีส่วนร่วมในกำรวิเครำะห์ตำมบริบทของสถำนศึกษำให้ได้ประเด็นของปัญหำท่ีสำคัญท่ีสุดใน
กำรขับเคล่ือนเพ่ือหำแนวทำงกำรแก้ไข/ ขั้นตอนกำรดำเนินงำน/ตรวจสอบ ติดตำม และประเมินผลให้ได้องค์ควำมรู้เพ่ือ
นำไปแก้ไขปัญหำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซ่ึงเป็นกำรประยุกต์หลักกำรดำเนินงำนตำมกระบวนกำรวิจัย เพื่อสำมำรถตอบ
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้อย่ำงสมเหตุสมผลเหตุตลอดจนเป็นกำรหำวิธีท่ีสำมำรถบรรลุตำมเป้ำหมำย ที่สถำนศึกษำได้
กำหนดไว้ สำหนักงำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำเขต 18
ความสาคญั ของการวิจัยสถานศึกษา
กำรวจิ ัยสถำนศึกษำเป็นกำรวิจัยเรื่องที่เกย่ี วกับสถำนศึกษำ/หนว่ ยงำนของตนเอง เป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนกำร
กำรปรับปรงุ สถำนศกึ ษำอย่ำงต่อเนอื่ ง เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกำรพฒั นำองค์กำร (Organization Development) ถำ้ กำรทำ
วจิ ัยเร่อื งเกย่ี วกับสถำนศกึ ษำแล้วนำเอำผลทไ่ี ด้จำกกำรวจิ ัยนน้ั มำใชป้ ระโยชน์ในกำรปรับปรงุ สถำนศกึ ษำของตนเอง เพือ่ ให้
สถำนศกึ ษำ มกี ำรพัฒนำก้ำวหนำ้ อยเู่ สมออย่ำงตอ่ เน่ือง (วจิ ติ ร ศรสี อ้ำน, 2545 อำ้ งถงึ ในวรพล วแิ หลม,สรชำ พ่มุ สัมฤทธิ์,
ยุพำพิศ วรรณโชติ.2557 ) จึงเหน็ ได้วำ่ กำรวิจยั สถำนศกึ ษำเปน็ กำรออกแบบวิจัยเพื่อให้ไดส้ ำรสนเทศทช่ี ่วยตดั สนิ ใจในกำร
บริหำรงำนของสถำนศึกษำนั้น ๆ ไดแ้ ก่ กำรวำงแผน กำรกำหนดนโยบำยกำรตดั สินใจในกำรดำเนินงำนของสถำนศกึ ษำ
นนั้ ๆ สำนักงำนกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน กำหนดใหง้ ำนวิจยั เปน็ ภำรกจิ หนงึ่ ของหน่วยงำน สอดคล้องกบั แผนกำรศึกษำชำติ
ปี พ.ศ. 2560 – 2579 โดยสอดคล้องยุทธศำสตร์ข้อท่ี 2 ที่กำหนดไว้ให้มีกำรผลิตและพัฒนำ กำลังคน กำรวิจัย และ
นวัตกรรม เพ่ือสร้ำงขีด ควำมสำมำรถในกำร แข่งขันของประเทศ เพ่ือเป้ำหมำยข้อท่ี 3 คุณภำพกำรศึกษำ (Quality) ใน
ประเด็นท่ีว่ำนักเรียนมีคะแนน O-Net แต่ละวิชำ ร้อยละ 50 ข้ึนไป,ควำมแตกต่ำงของ คะแนน O-Net คณิตศำสตร์และ
2
ภำษำอังกฤษ ลดลงเป็น 0, สถำนศึกษำมีคุณภำพตำมเกณฑ์ประกันคุณภำพ เพ่ิมขึ้น,งำนวิจัยได้รับ กำรตีพิมพ์ในระดับ
ประเทศเพิ่มขึ้น และจำนวนโครงกำร วิจัยเพื่อสร้ำง องค์ควำมรู้ที่ใช้ พัฒนำประเทศ เพิ่มขึ้น สำนักงำนเลขำธิกำรสภำ
กำรศกึ ษำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร .(แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ ,2560 – 2579)
สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำเขต 18 กำหนดให้กำรวิจัยสถำนศึกษำเปน็ ภำรกิจหน่ึงของกลุ่มงำนนิเทศ
ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ ที่ชว่ ยในกำรขับเคล่ือนให้ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนกั เรียนในทุกกลุ่มสำระได้มี
กำรพัฒนำเพ่ิมข้ึนอย่ำงต่อเนื่อง จงึ ทำให้ กลุ่มงำนนิเทศ ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำได้จัดโครงกำรประชุมเชิง
ปฏิบตั ิกำรพฒั นำ “กำรวจิ ัยสถำนศึกษำ” ในสังกัดสพม.18 สู่กำรวิจัยที่ยั่งยืน จงึ จัดทำคู่มอื กำรดำเนินกำรวิจัยสถำนศึกษำ
เพ่อื ช่วยให้ทกุ สถำนศึกษำสำมำรถนำไปเป็นแนวทำงกำรดำเนนิ กำรวจิ ยั ได้อีกทำงหน่ึง
นิยามศพั ท์
1. กำรวิจยั สถำนศึกษำ หมำยถึง กำรดำเนินงำนวจิ ยั เชงิ ประเมินเก่ียวกับสถำนศึกษำ เพื่อใช้ผลกำรวิจัยเชงิ
ประเมนิ น้ัน มำประกอบกำรตัดสินใจในกำรจดั ทำนโยบำยและแผน วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และยุทธศำสตร์ ของสถำนศกึ ษำ
ตอ่ ไป
2. กำรดำเนนิ โครงกำรวจิ ยั สถำนศกึ ษำ หมำยถงึ กระบวนกำรและขัน้ ตอนในกำรจัดทำโครงกำรวิจัยสถำนศึกษำ
พิจำรณำจำกระยะเวลำของกำรดำเนนิ งำนในแตล่ ะข้นั ตอนตลอดโครงกำรที่กำหนดร่วมกันระหว่ำงคณะกรรมกำรวจิ ัยและ
ผูท้ ีม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในสถำนศึกษำ ประกอบด้วย 1) กำรปรบั แก้ไขข้อเสนอโครงกำรวิจยั สถำนศกึ ษำตำมขอ้ สังเกต
ข้อเสนอแนะผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ/คณะกรรมกำรวจิ ยั สถำนศึกษำ 2) กำรศึกษำเอกสำรและงำนวิจัยท่เี กยี่ วข้อง 3) กำร
ออกแบบและสร้ำงเคร่ืองมือ 4) กำรเก็บรวบรวมข้อมลู 5) กำรวิเครำะห์ข้อมูล 6) กำรสง่ รำยงำนควำมก้ำวหนำ้ 7) กำรสง่
รำ่ งรำยงำนวจิ ยั สถำนศึกษำฉบับสมบูรณ์ และ 8) กำรสง่ รำยงำนวิจยั สถำนศึกษำฉบับสมบูรณ์
วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทาคมู่ ือ
1. เพอ่ื ให้สถำนศึกษำ/ผูร้ ับผดิ ชอบกำรวจิ ยั สถำนศึกษำใชเ้ ปน็ แนวทำงในกำรดำเนนิ กำรวิจยั สถำนศึกษำ
ขอบเขตของการศกึ ษา
1. งำนวิจัยและพฒั นำของสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 18 ขอทำควำมตกลงเบ้อื งต้นกบั ผูท้ ่ี
รบั ผดิ ชอบงำนวิจยั สถำนศึกษำกอ่ นวำ่ เอกสำรคู่มือกำรดำเนนิ กำรวิจยั สถำนศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2562 น้ี มเี น้ือหำสำระ
เป็นเพยี งแนวคิดเบ้ืองตน้ ในกำรเขยี นคูม่ ือกำรดำเนินกำรวิจัยสถำนศกึ ษำ ไม่ไดเ้ จำะลึกไปในแตล่ ะหวั ข้อ จงึ ขอให้ทุกท่ำน
ตอ้ งศึกษำเพ่ิมเตมิ ในบำงประเด็น แต่กส็ ำมำรถจะได้แนวทำง แนวคิดและรูปแบบลักษณะโครงร่ำงและแนวทำงในกำร
ขับเคลอื่ นกำรวจิ ยั สถำนศึกษำ ซึง่ สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ไดต้ ่อกำรดำเนนิ กำรวิจัยสถำนศึกษำ
3
วิธกี ารดาเนนิ การ
1. ศกึ ษำแนวทำงในกำรดำเนนิ กำรวิจยั สถำนศกึ ษำ
2. วำงแผนในกำรดำเนนิ กำรวจิ ยั สถำนศึกษำ
3. ดำเนนิ กำรปฏิบตั ไิ ด้ตำมแผนท่กี ำหนดไว้ในกำรวิจยั สถำนศึกษำ
4. แนวทำงกำรประเมนิ ตรวจสอบกำรจดั ทำกำรวจิ ยั สถำนศึกษำ
5. เผยแพร่กำรวิจัยสถำนศึกษำสสู่ ำธำรณชน
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั
1. รำยกำรวิจัยสถำนศกึ ษำมีประสทิ ธิภำพ สำมำรถแก้ไขปญั หำของประเดน็ ท่ีต้องกำรพัฒนำไดอ้ ย่ำงสูงสดุ
2. สำมำรถนำผลกำรวิจัยสถำนศึกษำไปพัฒนำไดต้ ำมเป้ำหมำยที่สถำนศึกษำวำงไว้ได้อยำ่ งยง่ั ยนื
3. กำรวิจยั สถำนศกึ ษำเป็นกำรเตรียมฐำนข้อมูล เพื่อช่วยใหผ้ ู้บรหิ ำรสถำนศึกษำใช้ในกำรตัดสินใจและวำงแผน
กำรดำเนนิ งำน ทำใหส้ ถำนศึกษำรศู้ ักยภำพ จุดแข็ง จุดอ่อนของตนเอง
4. ผลของกำรวจิ ัยสถำนศกึ ษำ นำไปสู่กำรพัฒนำคุณภำพกำรเรียนกำรสอน และควำมเปน็ เลิศให้กับสถำนศึกษำ
รวมทั้งทำให้เกดิ กำรบรู ณำกำรระหวำ่ งกำรวจิ ัยและกำรเรียนกำรสอนซึง่ เป็นภำรกิจท่ีสำคัญของสถำนศึกษำได้อย่ำงดียิ่ง
4
ตอนท่ี 2
กระบวนการวจิ ัยและพฒั นา
การวจิ ัยและพฒั นาการศึกษา (Educational Research and Development) คอื พฒั นาการศึกษาโดยอาศัย
กระบวนการวิจยั เปน็ เครื่องมือในการพฒั นาและตรวจสอบประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษา ครง้ั นี้ เป็นการใช้กระบวนการวจิ ัย
เพ่อื พัฒนาการศกึ ษา ผลผลติ สดุ ทา้ ยทจ่ี ะพึงไดร้ ับ จากกระบวนการวิจยั และพัฒนาการศึกษาก็คอื นวตั กรรมทางการศึกษา
(E d u ca ti o nal I n no va ti o n) ที่ใชใ้ นการแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ ภายในสถานศึกษาตามบรบิ ทของแต่ละสถานศกึ ษา
ผังกระบวนการ ระยะเวลา
1.กาหนดหัวขอ้ วิจัย วเิ คราะห์บริบทของสถานศกึ ษา 2-3สปั ดาห์
(ผมู้ สี ว่ นรว่ มในสถานศึกษา)
3-4 สปั ดาห์
2.รา่ งขอ้ เสนอโครงการ ประชมุ คณะกรรมการงานวิจยั
3.3.3.อนุ 3. อนุมัติ ผู้อานวยการ 1-2 สปั ดาห์
4. ดาเนินงานวิจยั /สรปุ / คณะกรรมการงานวิจยั 8 เดือน
ขอ้ เสนอแนะ 3-4 สัปดาห์
3-4 สัปดาห์
ไมถ่ กู ตอ้ ง 5. อนุมัติ ผอู้ านวยการ
อนุมตั ิ
นุมัติ ถกู ตอ้ ง
6.เผยแพร่
แผนภมู ิแสดงข้นั ตอนการดาเนินงานวจิ ัย ในระยะเวลา 1 ปี
หมายเหตุ ปรับเวลาตามความเหมาะสมของงานวจิ ยั แต่ละสถานศึกษา
5
ขน้ั ท่ี 1 กาหนดหัวข้อวิจยั
การกาหนดหัวข้อวจิ ัยเป็นขน้ั ตอนแรกที่ตอ้ งการจะรู้คาตอบทตี่ ้องการทราบจากปัญหาของสถานศกึ ษาทีต่ ้องการ
ศึกษาว่าคอื สิง่ ใด โดยมีแนวทางใหเ้ ลอื กหลายแนวทาง ดังต่อไปน้ี
1.1 วเิ คราะหบ์ รบิ ทโดยการสารวจความตอ้ งการของสถานศึกษาในการท่ีต้องการศกึ ษาปัญหาทตี่ ้องการแกไ้ ขเปน็
อนั ดบั แรก
1.2 การกาหนดปญั หาตามความเหน็ ของคณะทางานวจิ ัยของสถานศึกษา ภายใตค้ าถามหลักๆ ได้แก่
ทาไมต้องทาวิจัย > ทาวิจัยเรอ่ื งนเ้ี พอ่ื สาเหตุใด > นาไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
1.3 ปัญหาในการวิจยั ของสถานศึกษาควรมีลกั ษณะดังนี้
- มีความเป็นไปได้ (Feasibility) หาคาตอบ/เก็บรวบรวมข้อมลู นามา วเิ คราะห์สรปุ ผลได้
- มคี วามชัดเจน (Clearness) ไมค่ ลมุ เครือ เข้าใจตรงกันไม่องิ ค่านยิ ม แต่ยึดหลักขอ้ เท็จจรงิ ทีส่ ามารถ
พิสจู น์ได้
- ความสาคัญ (Significance) มีความสาคัญเพียงพอและสามารถอธบิ ายใหเ้ ข้าใจถงึ แกน่ แท้ของปญั หาได้
พร้อมกบั มปี ระโยชนแ์ ก่สถานศึกษาและผ้ทู ส่ี นใจด้านใดได้บา้ ง
- จริยธรรมและคณุ ธรรม (Ethics &Moral) เร่ืองที่ทาต้องมปี ระโยชน์อย่างแท้จริงมใิ ช่ เพ่อื ประโยชน์ธรุ กิจ
ตวั อยา่ งหวั ข้อวิจัยสถานศึกษา
หัวข้อปัญหา ช่ือเรือ่ ง
ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน( O-NET) กรณีศึกษาปัจจัยที่ส่งผลในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
ทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน ( O-NET)
การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนในการให้นักเรียนมี รูปแบบการสอนเพ่ือส่งเสริมความสามารถในด้านการใช้
หลกั การคดิ อย่างมีเหตุผล เหตุผล
หลักสูตรของสถานศึกษาในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ปัญหาของการใช้หลักสูตรสถานศึกษาในการยกระดับ
ทางการเรยี น ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
แบบทดสอบเลือกตอบที่ใช้ในการทดสอบในแต่ละกลุ่ม ผลของรูปแบบตัวเลือกของแบบทดสอบเลือกตอบ ที่มีต่อ
สาระการเรียนรู้ คณุ ภาพของแบบทดสอบเลอื กตอบ
6
ตัวอยา่ งแบบฟอร์มการวเิ คราะหบ์ รบิ ทของสถานศึกษา (ในกรณียกผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน)
ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเดน็ ที่เป็นโอกาส(Opportunities) ประเด็นทเี่ ปน็ อปุ สรรค(Threats)
1. หลักสูตร
2. การวัดและประเมินผล (จดุ เด่นของสถานศึกษา) (จุดที่ตอ้ งพฒั นาของสถานศึกษา)
3.การจัดการเรียนการสอน
4…………………………………. 1.1 ..................................................... 1.1 .....................................................
1.2........................................................ 1.2........................................................
1.1 ..................................................... 1.1 .....................................................
1.2........................................................ 1.2........................................................
1.1 ..................................................... 1.1 .....................................................
1.2........................................................ 1.2........................................................
1.1 ..................................................... 1.1 .....................................................
1.2........................................................ 1.2........................................................
สรุปประเดน็ ทเ่ี ป็นอุปสรรค โดยเรยี งลาดบั ปัญหาที่ต้องรบี แกไ้ ขกอ่ นเปน็ อับดบั ที่ 1, 2, 3, …
ขั้นที่ 2 รา่ งขอ้ เสนอโครงการ
การจัดประชุมเพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นและมติท่ีตรงกัน ซ่ึงเป็นเร่ืองจาเป็นอย่างมาก เพ่ือจะได้ข้อคิดเห็นแล้วนามาสู่
กระบวนการรา่ งโครงการวจิ ัยให้ได้มคี ุณภาพยิ่งขึ้น และชว่ ยสร้างความเขา้ ใจตรงกัน วา่ ทาอะไร อย่างไร และประโยชน์ท่ีได้
จากงานวจิ ยั นาไปใช้กบั กลมุ่ ใด ฯ ลฯ
ผู้เกีย่ วขอ้ งในการร่างขอ้ เสนอโครงการ คณะกรรมการงานวจิ ัย ตลอดจนผู้ท่เี ก่ียวข้องทุกฝา่ ยในการจัดทา
โครงการวิจัย
การรา่ งข้อเสนอโครงการมรี ูปแบบตามความเหมาะสมของแตล่ ะสถานศกึ ษา ในท่ีน้ขี อเสนอให้เป็นตวั อย่าง โดยมี
ประเดน็ ท่ีสาคัญ ดังนี้
2.1 ความสาคญั และทมี่ าของปญั หา
แสดงให้เห็นถึงความจาเปน็ และความสาคัญที่ต้องทาวจิ ยั ในสถานศกึ ษา
2.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ควรระบุวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั อยา่ งชัดเจนเรยี งลาดับความสาคัญเปน็ ขอ้ ๆ โดยตอ้ งมีความเช่อื มโยงกบั
ความสาคัญและท่มี ีของปัญหา
7
2.3 ขอบเขตของการวจิ ยั
ใหร้ ะบขุ อบเขตในเชิงคุณภาพ/เชิงปรมิ าณ ที่เช่ือมโยงกับปัญหาที่ทาวจิ ยั ในสถานศึกษา
2.4 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ
ให้แสดงถึงความคาดหมายหรือแนวทางท่ีจะนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ระบุได้มากกว่า 1ข้อ พร้อมระบุ
กลุ่มเปา้ หมายท่จี ะได้รบั ประโยชน์ และผลกระทบจากผลงานวิจัยท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นกับกลุ่มเปา้ หมายให้ชดั เจน
2.5 วิธกี ารดาเนินการวิจยั และสถานทดี่ าเนนิ การ
อธิบายข้นั ตอน วิธีการทาการวจิ ยั อาทิ การเก็บขอ้ มูล การกาหนดพนื้ ท่ใี นการวิจยั ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง
การส่มุ ตวั อยา่ ง ขัน้ ตอนและวธิ กี ารในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู รวมทั้งระบสุ ถานที่ท่ีจะใช้เปน็ การทาการวจิ ัย/เกบ็ ข้อมลู ให้
ครบถ้วนและชัดเจน เพ่ือประโยชนต์ ่อการพิจารณาเสนอของบประมาณกับทางสถานศึกษา
2.6 ระยะเวลาทาการวิจัย
แผนการดาเนินงานตลอดระยะเวลาโครงการวจิ ัย (ระบุระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการทาการวิจยั ไมค่ วรเกนิ 1 ปี) โดย
ให้ระบขุ ั้นตอนของแผนการดาเนนิ งาน (Gantt chart) โดยละเอยี ด ท้ังน้ีใหจ้ ัดทาแยกเป็นรายปี กรณเี ปน็ โครงการต่อเนื่อง
ระยะเวลาดาเนนิ การมากกว่า 1 ปี
2.7 งบประมาณ
ให้แสดงรายละเอียดงบประมาณตามลาดับรายการ/ขั้นตอนทเ่ี ขียนไว้ในโครงการ
ขั้นตอนที่ 3 อนมุ ตั ิ
3.1 ดาเนินการขออนมุ ตั ิ
เมื่อได้โครงการท่ีสมบูรณ์ดาเนินการขออนุมัติจัดทาโครงการ โดยเสนอต่อผู้อานวยการ/รองฝ่ายวิชาการ
สถานศึกษา โดยเปน็ ตามลาข้นั ตอน และควรมเี อกสารนาเสนอ ดังตอ่ ไปน้ี
1) บันทึกเสนอ มีเน้ือหาคือ ทาไมต้องวิจัยเรื่องนี้ วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ท่ีได้และการใช้ประโยชน์
งบประมาณและเวลา ฯลฯ
2) หนงั สือแจง้ ทุกฝ่าย/กลุ่มสาระการเรียนร้ใู นสถานศึกษาเพื่อประสานงานล่วงหนา้
ขัน้ ตอนท่ี 4 ดาเนินงานวิจยั /สรปุ /ขอ้ เสนอแนะของสถานศึกษา
4.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู เปน็ ขัน้ ตอนที่สาคญั ในการออกแบบงานวจิ ยั ( Research Design)
โดยมีการดาเนินการตามลาดบั ดงั น้ี
- กาหนดกลุ่มประชากร/กลมุ่ ตวั อยา่ ง
8
- การกาหนดกลมุ่ ตวั อย่าง วิธที เ่ี หมาะสมมี 2 วิธี คอื
1) เปิดตารางสาเร็จของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) จะได้กลุ่มตัวอย่างแล้วกาหนดระดับ
ความสาคัญคลาดเคลือ่ น ( e )
2) ใชส้ ตู รกาหนดกลุม่ ตัวอยา่ งทีม่ คี วามเชอ่ื ม่ัน 95 %
เม่ือ n คือ จานวนกลุม่ ตัวอยา่ งหรือขนาดของกลม่ ตัวอยา่ ง
N คอื จานวนหน่วยทงั้ หมดหรอื ขนาดของประชากร
e คือ ความน่าจะเปน็ ของความผิดพลาดทีย่ อมให้เกดิ ได้
3) การสุ่มตวั อยา่ ง การเลอื กกล่มุ ตัวอยา่ ง มี 2 แบบ ได้แก่
3.1 แบบอาศัยความนา่ จะเป็น ( probability Sampling)
3.1.1 ส่มุ แบบงา่ ย ( Simple Random Sampling)
3.1.2 สุ่มแบบมีระบบ ( Systematic Sampling)
3.1.3 สุ่มแบบแบง่ ช้นั (Stratified Sampling)
3.1.4 สุ่มแบบเป็นกลุ่ม ( Cluster Sampling)
3.2 แบบอาศัยความนา่ จะเปน็ ( probability Sampling)
3.2.1 บงั เอิญ ( Accidental Sampling)
3.2.2 สัดสว่ น ( Quata Sampling)
3.2.3 เจาะจง ( Purposive Sampling)
3.3.4 บอกตอ่ ( Snowball Sampling)
4.2 สรา้ งเคร่ืองมอื วิจยั
เม่ือกาหนดได้แล้วว่าจะใช้ข้อมูลชนิดใด มาทาการทดสอบสมมติฐานที่ได้ต้ังไว้ ผู้วิจัยต้องเลือก
เคร่ืองมือท่ีจะนามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลาดจนเทคนิคในการเก็บข้อมูล ซึ่งเครื่องมือท่ีใช้ในงานวจิ ัย แบ่งได้หลาย
ประเภท ตามจดุ มุ่งหมายของการวิจยั ท่แี ตกตา่ งกนั ไป
9
4.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
เปน็ ข้นั ตอนการนาขอ้ มลู ดบิ ท่ีไดจ้ ากการรวบรวมมาทาการแปรรูปใหเ้ ป็น เช่น เป็นร้อยละหรอื
ค่าเฉล่ีย และแสดงผลในรูปตารางหรือกราฟเพ่ือใช้สาหรบั อภิปรายผลการวิจัย ตอบปัญหาการวิจัย และทดสอบสมมติฐาน
ทไี่ ดต้ ัง้ ไว้ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลส่วนใหญจ่ งึ นยิ มใช้โปรแกรม SPSS For Window
4.4 อภปิ รายผลการวิจยั โดยใชห้ ลักการเขยี น 4 ข้อ
4.4.1 ศกึ ษาอะไร เพือ่ บอกให้ทราบวา่ งานวิจยั มสี มมตฐิ านหรอื วัตถปุ ระสงค์อย่างไร
4.4.2 ผลท่ีไดเ้ ป็นอยา่ งไร โดยกล่าวถึงขอ้ ค้นพบทีไ่ ด้จากสมมติฐานหรือวตั ถุประสงค์ทีต่ งั้ ไว้
4.4.3 เหตใุ ดผลทไี่ ด้จึงเปน็ เช่นนน้ั การอธบิ ายใหเ้ หตุผลเปน็ ส่ิงสาคัญมากเพราะแสดง ให้เห็นวา่
ผูว้ จิ ยั /ทมี วจิ ัยมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรอ่ื งนั้นมากนอ้ ยอย่างไร มีการประมวลผลทฤษฎีและหลักการแนวคิดท่ผี ้วู ิจัยได้สร้าง
กรอบแนวคิดไวใ้ นการวิจยั มาอภปิ รายผลการวิจัยหรือปรากฏการณท์ ่ีเกิดข้นึ ได้อยา่ งสอดคล้องและสมเหตุสมผลเพยี งใด
4.4.4 ยืนยนั ผลท่ีไดอ้ ยา่ งไร พร้อมบอกมีใครทท่ี าวิจัยแล้วไดผ้ ลในลักษณะเดยี วกันบา้ ง
ตวั อย่าง การเขียนรา่ งรายงานผลการวิจยั ของสถานศกึ ษา
1.ชื่อเรอ่ื ง ควรเขียนให้กระทัดรัด ตอบคาถามให้ไดว้ า่ ใครทาอะไรกับใคร
2.ชอื่ ผู้วจิ ยั /ทีม ระบผุ ู้ศึกษาวจิ ยั
3.ความเป็นมาของการวิจยั ประกอบด้วย
-สภาพทเี่ ป็นอยู่ในปัจจุบนั เป็นอย่างไร กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์อะไรบา้ ง
-ใครคอื ผู้ไดร้ บั ผลประโยชน์
-มแี นวคิดอย่างไร ในการ แก้ปัญหา หรือแนวทางการพฒั นาปรับปรงุ แก้ไขและแนวคดิ ท่ีกลา่ วนนั้ ไดม้ า
อยา่ งไร
4.วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการวิจัย เปน็ การระบุใหท้ ราบว่า งานวจิ ัยครงั้ น้ี ผวู้ จิ ัยต้องการทาอะไร กับใครท่ี
ไหน อยา่ งไร และจุดหมายปลายทางหรอื ผลลัพธส์ ดุ ทา้ ยท่ผี ู้วจิ ัยตอ้ งการคอื อะไร
5.วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ยั ครอบคลุมกลุ่มเปา้ หมาย และเครอื่ งมอื ทีใ่ ช้วจิ ยั ต้องชดั เจน
6.การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ควรระบวุ า่ ผ้วู จิ ยั ดาเนินการอย่างไร
7.การวิเคราะห์ข้อมลู ควรระบใุ หช้ ดั เจนว่าผ้วู จิ ัยวเิ คราะหข์ ้อมลู อยา่ งไร
8.ผลการวจิ ัย สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ การดาเนนิ การตามขั้นตอนตา่ งๆจนถงึ การบรรลุเปา้ หมายทต่ี ้ังไว้ในการวิจัย
9.ขอ้ เสนอแนะ เป็นขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นผลจากการวจิ ยั ในครง้ั น้ี
10.เอกสารอา้ งอิง เนื้อหาทีน่ ามากลา่ วในรายงานวจิ ัยต้องนามาเขียนไวใ้ นเอกสารอ้างอิง
10
ขั้นตอนท่ี 5 อนมุ ตั ิ (ผลสรุปรายงานวิจัยสถานศกึ ษา)
5.1 การสรุปผลรายงานการวิจัยสถานศกึ ษาโดยใหผ้ า่ นการตรวจทานความทุกต้องตามลาดบั ต้งั แตค่ ณะกรรมการ
งานวิจัย
5.2 สง่ รองผอู้ านวยการ กรณีเรยี บร้อยทุกขนั้ ตอน สามารถนาเสนอผอู้ านวยการแต่ถา้ มขี ้อแก้ไขปรบั ปรุง ให้นาไป
ตรวจสอบความถูกต้องก่อนจะนาส่งรองผู้อานวยการและผู้อานวยการตามลาดบั ข้ัน
5.3 ทาเอกสารรูปเล่ม เกบ็ ไว้สถานศึกษาจานวน 1 เล่ม และนาส่งสานกั งานเขตพ้นื ที่ จานวน 1 เล่ม พร้อมCopy
ใส่แผ่น CD จานวน 1 แผน่
5.4 นาเอกสารส่งไปท่ปี ระธานสหวิทยาเขตทีโ่ รงเรียนน้ันสังกัดเป็นจานวน 3 เล่ม
หมายเหตุ 1. การเผยแพร่แล้วแต่ความสะดวกของแตล่ ะสถานศกึ ษาสามารถใชห้ ลายช่องทางอาทิ สรา้ งเป็น Qr –Code
แล้วนาขึน้ ท่เี ว็บไซต์ของโรงเรยี น หรอื ลิงค์แลว้ ไปแปะไวท้ ่ีเวบ็ ไซต์ทางการศึกษา (โดยแสดงไวใ้ นภาคผนวกของเลม่ งานวจิ ัย
ดว้ ยวา่ ไดด้ าเนินการเผยแพรอ่ ยา่ งไร)
กาหนดการสง่ งานวิจัยสถานศกึ ษา ระหว่างเดอื น ก.พ. – มี.ค. 63
11
ตอนที่ 3
การตดิ ตามภายในงานวจิ ัยของสถานศึกษา
การตดิ ตาม ( Monitoring) เปน็ กระบวนการในการบรหิ ารงาน เพือ่ ตรวจสอบการดาเนินงานที่จะช่วยใหร้ ะบบการ
วางแผนและการบริหารงานมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าประสงค์ ท่ีกาหนดไว้ โดยรวบรวมข้อมูลตามระบบงาน เช่น
เป้าหมาย วิธีการ ผลการปฏิบัติงาน แลว้ นาผลมาวเิ คราะห์ เพ่ือนาไปใช้ประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ แกไ้ ข และเพือ่ ใหไ้ ด้ผลงาน
เปน็ ไปตามเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้
การติดตามเป็นวิธีการในการเร่งรัดตรวจสอบการดาเนินงาน/โครงการ ให้ดาเนินงานแล้วเสร็จตามเวลา และการ
ติดตามผลน้ันจะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตลอดห้วงเวลา การดาเนินงาน/โครงการ อาจจะติดตามผล
ประจาทกุ เดอื น 1 เดือน 3 เดือน หรือตามความเหมาะสมในการเรง่ รดั งาน เป็นตน้
ความสาคญั
การตดิ ตามผลจะมงุ่ เนน้ ขอ้ มูลที่มีความสาคญั ของโครงการ ดังน้ี
1.ผลการปฏิบัติงาน (ของผ้รู ับผิดชอบคอื หัวหน้างานวิจัยของสถานศึกษา) หรอื กิจกรรมเพื่อใช้
ตรวจสอบดูว่าไดป้ ฏบิ ตั ิตามระยะเวลาท่แี ผนได้กาหนดไว้หรือไม่ รวมท้ังงบประมาณในการดาเนินงาน
2.ผลการใช้ปัจจัยหรือทรัพยากร (Input) เพ่อื ตรวจสอบดวู า่ โครงการ ได้รบั ปัจจยั หรือทรพั ยากรทั้งด้าน
ปรมิ าณ และคุณภาพตามระยะเวลาที่กาหนดไว้หรือไม่
3.ผลการดาเนนิ งาน( Outputs) เพื่อตรวจสอบดูวา่ ได้ผลตรงตามเปา้ หมายท่กี าหนดไว้หรอื ไม่เพียงใดมี
ปัญหาอปุ สรรคอไรบ้าง ทง้ั ในด้านแผนงานและขนั้ ตอนปฏบิ ัติงาน
วัตถุประสงคข์ องการตดิ ตาม/ประเมินโครงการวจิ ยั สถานศกึ ษา แบ่งได้ 2 ประเภท คอื
1.การประเมินความกา้ วหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อการปรบั ปรงุ เป็นสาคญั
ซ่งึ มักจะใชป้ ระเมินผลระหว่างการวางแผนหรอื ระหว่างดาเนนิ โครงการ ผลท่ไี ดจ้ าก(Formative Evaluation) จะชว่ ยตง้ั
วัตถุประสงค์ของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่แทจ้ ริง และจะชว่ ยตรวจสอบความก้าวหน้าโครงการว่าดาเนนิ การไดผ้ ล
อยา่ งไร
2.การประเมินผลสรุปของโครงการ (Summative Evaluation) เปน็ การประเมนิ เม่ือส้ินสุดโครงการ
เพอ่ื นาผลท่ีได้ไปประกอบการตดั สินใจ ว่าโครงการไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายหรอื ไม่อยา่ งไร ตลอดจนรายงานถึงสภาพโครงการวา่
ประสบผลสาเรจ็ หรือล้มเหลวเพยี งใด ควรจะปรับปรุง แก้ไข สานตอ่ หรือยกเลกิ โครงการ
12
วธิ ีการประเมนิ โครงการวิจยั สถานศกึ ษา
วิธกี ารประเมินใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP MODEL เป็นการประเมินวตั ถปุ ระสงค์และรายละเอยี ดต่างๆ
เพื่อช่วยในการพจิ ารณาการดาเนนิ โครงการ ในแตล่ ะขัน้ ตอนตง้ั แต่ต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนนิ งานโดยประเมนิ ในดา้ นต่างๆ
ดงั น้ี
1. การประเมินสภาวะแวดล้อม ( Context Evaluation ) ซึ่งจะชว่ ยในการตัดสินใจเก่ยี วกับการวางแผน
ในการกาหนดวตั ถุประสงค์
2. การประเมินการปัจจัยเบื้องต้น ( Input Evaluation ) เป็นการตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั โครงสรา้ งเพอื่ กาหนด
รูปแบบของโครงการ
3. การประเมนิ กระบวนการ ( Process Evaluation ) เปน็ การตัดสินใจในด้านการประยกุ ต์ใช้เพ่อื ควบคุมการ
ดาเนนิ การของโครงการ
4. การประเมนิ ผลผลติ ( Product Evaluation ) จะช่วยในการตดั สนิ ใจเพื่อตดั สินและดูผลสาเรจ็ ของโครงการ
รปู แบบการประเมนิ โครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังนี้
ประ5เ.มินสภาวะแวดลอ้ ม ( Context หลักการ
6. Evaluation ) วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
เป้าหมายของโครงการ
ประเมนิ การปจั จยั เบ้ืองตน้ การเตรียมการภายในโครงการ
( Input Evaluation )
บคุ ลากร
วสั ดุอปุ กรณ์
เคร7่อื . งมอื เคร่ืองใช้
งบประมาณ
ประเมินกระบวนการ การดาเนนิ โครงการ
( Process Evaluation ) กจิ กรรมการดาเนินงานตามโครงการ
การนิเทศตดิ ตามกากับ
การประเมนิ ผลผลติ กา8รป. ระเมนิ ผล
( Product Evaluation )
ผลการดาเนนิ โครงการ
คุณภาพผเู้ รยี น
13
เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ โครงการ
เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการประเมินโครงการวิจัยสถานศึกษาเรอ่ื ง…………………มีจานวน.......................ฉบบั ดงั นี้
1. แบบประเมนิ โครงการโครงการวิจยั สถานศกึ ษาเร่ือง…………………
2. โดยใช้แบบประเมนิ CIPP MODEL มี 4 ด้าน จานวน................ข้อ ดังนี้
2.1 ดา้ นสภาวะแวดล้อม ( Context ) จานวน.........ข้อ
2.2 ดา้ นปัจจัย ( Input ) จานวน...........ขอ้
2.3 ด้านกระบวนการ ( Process ) จานวน........ข้อ
2.4 ดา้ นผลผลิต ( Product ) จานวน...........ข้อ
การจดั ทาและการศกึ ษาประสทิ ธิภาพของเครื่องมือ ท่ีใช้ในการประเมินผลโครงการ
1. แบบประเมนิ โครงการ.........................................................................................
1.1 ศึกษาวิธกี ารประเมินโครงการ และการจัดทาเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL
1.2 จดั ทาแบบประเมนิ โครงการ...............................................................4 ดา้ น ดงั นี้
1.2.1 การประเมนิ สภาวะแวดลอ้ ม ( Context) เกย่ี วกบั หลักการ วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ
และการเตรียมการดาเนินโครงการ จานวน..............ขอ้
1.2.2 การประเมินปจั จัยนา ( Input) เกยี่ วกบั บคุ ลากร วสั ดุอปุ กรณ์ เครือ่ งมือ เคร่ืองใช้และงบประมาณ
จานวน.................ขอ้
1.2.3 การประเมนิ กระบวนการ ( Process) เกย่ี วกับ การดาเนนิ งาน กจิ กรรมการดาเนินงานตาม
โครงการ การนิเทศตดิ ตามผล และการประเมินผล จานวน.................ข้อ
1.2.4 การประเมนิ ผลผลติ ผลิต ( product ) เกี่ยวกบั ผลการดาเนินงานตาม
โครงการ และคุณภาพของผเู้ รยี น จานวน..................ข้อ
2. เกณฑเ์ ฉลีย่ การประเมนิ โครงการ
คะแนนเฉลยี่ 4.51-5.00 หมายถึง มีการดาเนินการในระดับมากที่สดุ
คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถงึ มีการดาเนินการในระดับมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดบั ปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี 1.51-2.50 หมายถงึ มกี ารดาเนินการในระดับน้อย
คะแนนเฉลย่ี 1.00-1.50 หมายถงึ มกี ารดาเนนิ การในระดบั น้อยท่สี ุด
14
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู อาจใช้หลายวธิ ี เชน่ การสังเกต การสมั ภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม โดยขน้ึ อยกู่ บั
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ และลักษณะของข้อมูลทีต่ ้องการเปน็ สาคัญ
การวเิ คราะหข์ ้อมูล
เมอ่ื ไดข้ ้อมูลทต่ี ้องการนามาวิเคราะหด์ ้วยคา่ ทางสถติ ิอยา่ งงา่ ย เช่น รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี เพ่ือให้ได้ทราบผลการ
ดาเนนิ งานในแตล่ ะขนั้ ตอนของโครงการ
ประโยชนข์ องการประเมินโครงการวจิ ัยสถานศึกษา
ประโยชน์ของการประเมินโครงการวจิ ัยสถานศึกษาไว้ ณรงค์ นนั ทวรรธนะ (2547 : 128-129) ดงั น้ี
1. ช่วยใหแ้ ผนมีความชดั เจน โดยบคุ คลทีเ่ ก่ียวข้องมีความเขา้ ใจและรบั รู้ถึงปญั หา ตา่ งๆ ร่วมกัน
2. ชว่ ยให้การปฏิบัติตามแผนเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ช่วยให้จดั และใช้ ทรพั ยากรไดอ้ ย่างเหมาะสมในการ
ปฏิบัตงิ านรวมทั้งมีรายละเอียดขัน้ ตอน ๆ ในการใช้ได้ชัดเจน
3. ช่วยลดความซา้ ซอ้ นตามภารกจิ ของหน่วยงานย่อยในองคก์ ารซง่ึ จะสง่ ผลใหล้ ด หรือขจัดความขดั แย้ง ทาให้
บคุ ลากรมีความสามัคคีเพราะได้ปฏบิ ัติงานทีเ่ หมาะสมกับภารกิจ ตาม ความรู้ความสามารถ
4. สรา้ งความมั่นใจให้ทั้งฝา่ ยจดั ทาและฝา่ ยปฏิบัติตามแผน
5. สามารถควบคมุ แผนได้ง่าย เพราะมีการจดั แยกงานออกเป็น ส่วนๆ ตามลกั ษณะเฉพาะ
กล่าวโดยสรปุ การประเมนิ โครงการวจิ ัยสถานศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตรวจสอบจดุ เดน่ จดุ ด้อย ปัญหา
และอปุ สรรคท่ผี า่ นมา ทาใหส้ ามารถปรับปรงุ แก้ไขแผนการดาเนนิ งานตา่ งๆ ไดท้ นั เวลา
************************
สว่ นท่ี 2
ขั้นตอนประเมนิ ผลงานวิจัยสถานศกึ ษาทเี่ ป็นเลิศ( Best Practic)
ประจาปี 2562
16
สว่ นที่ 2
ขน้ั ตอนประเมินผลงานวิจัยสถานศกึ ษาที่เปน็ เลิศ( Best Practic) ประจาปี 2562
ระหว่างเดอื น เม.ย. – พ.ค.63
สหวทิ ยาเขต 5 สหวิทยาเขต
สหวิทยาเขตแตล่ ะสหวิทยาเขต ใหแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการจานวน 5 ทา่ น
คณะกรรมการคัดเลือกและประเมินผลงานดีเด่น ประจาสหวทิ ยาเขต (แยกตามขนาดโรงเรียน)
นาผลการคัดเลือกสง่ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 พรอ้ มเลม่ รายงานของ
โรงเรยี นท่ผี ่านการคดั เลือก (ภายในวันท่ี ...เดอื น....พ.ศ.....)
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษาเขต 18
เขตพน้ื ทแี่ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการจานวน 5 ท่าน (คณะกรรมการภายนอกจานวน 3 คน
และภายในสพม.18 จานวน 2 คน)
คณะกรรมการคัดเลือกและประเมินผลงานวจิ ยั ที่เปน็ เลิศ ( Best Practic) ระดบั เขตพืน้ ที่
สรุปผลการคัดเลอื กท่ชี นะเลศิ ในระดบั สถานศกึ ษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่และขนาดใหญ่
พิเศษ (ดาเนนิ การส่งผลการคดั เลือกในวันท่.ี ....เดือน.....พ.ศ....... )
ประกาศผลสถานศกึ ษาท่ไี ดร้ ับรางวลั (ภายในวนั ที.่ ....เดือน......พ.ศ.......)
หมายเหตุ เกณฑ์การคดั เลือกกาหนดสง่ ใหป้ ระธานสหวิทยาเขตภายหลงั จากทกุ สถานศึกษาไดส้ ง่ เล่มวิจัยที่ สพม. 18 เป็นทีเ่ รยี บร้อย
เอกสารอ้างองิ
Stufflebeam, D.L. and Shinkfield, A.J. (19). Systematic evaluation .Boston :
Kluwer– Nijhoff
วรพล วิแหลม,สรชา พมุ่ สัมฤทธ์ิ,ยุพาพิศ วรรณโชติ.(2557).สภาพ ปญั หาและความต้องการทา
วิจยั สถาบันของบคุ ลากรสายสนบั สนุนการเรยี น การสอน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.
วารสารธรรมศาสตร์ ปีท่ี 33, ฉบบั ที่ 3
ณรงค์ นันทวรรธนะ.(2547). การบริหารโครงการ. กรงุ เทพฯ : ฟสิ ิกสเ์ ซน็ เตอร์.
สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ.(2560) แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2560 – 2579.บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จากัด, 121-122.
ภาคผนวก
19
ปฎิทนิ การดาเนินโครงการวจิ ัยสถานศึกษา สังกัด สพม.18
ลาดับที่ ขั้นตอนท่ี กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนินงาน เอกสารอ้างองิ
1 กระบวนการการจดั ทาโครงการวจิ ยั สถานศึกษา
1 จัดประชุมคณะกรรมการโครงการวจิ ัย 24-28 มถิ นุ ายน 62
สถานศึกษา ภาพประกอบการ
2 การจดั ทา/คัดเลอื กกรอบโครงการวจิ ัย 1-5 กรกฎาคม 62 ประชุมคณะทางาน
สถานศกึ ษา
3 จัดทาข้อเสนอ/รายละเอียดการ 8-26 กรกฎาคม 62 เอกสารโครงการวิจยั
ดาเนินงานโครงการวิจัย(Concept
paper)
2 กระบวนการขออนุมัตจิ ัดทาและเสนอของบประมาณในการดาเนนิ งานโครงการวิจัยสถานศกึ ษา
1 บนั ทึกนาเสนอความเหน็ ชอบในการ 29-31 กรกฎาคม 62 บนั ทกึ การเสนอความ
จัดทาโครงการวิจัยสถานศกึ ษา เห็นชอบ
3 กระบวนการทาวิจัยสถานศึกษา
1 จดั ทาแผนการปฏิบัติการวจิ ยั ระยะเวลาในการทา เอกสารแผนการ
สถานศกึ ษา วจิ ยั ตัง้ แต่ 1 ปฏิบัติการวจิ ัย
2 ดาเนนิ การตามแผนฯ
3 ตดิ ตามและรายงานผลขณะดาเนินงาน สงิ หาคม 62 เป็นตน้ เอกสารหมายเลข
(เอกสารหมายเลข 1AES/2562) ไปควรเกนิ ปี 1AES/2562
4 จัดทาผลการดาเนินงานวจิ ยั การศึกษา 2562 เอกสารเล่มวจิ ัย
4 กระบวนการรายงานและติดตามประเมินผล
1 รายงานความก้าวหนา้ โครงการวิจัย 1-9 สิงหาคม 62 แบบสอบถาม
ความก้าวหนา้
( google form)
ครั้งท่ี 1 / 62
2 นเิ ทศและตรวจเยยี่ มโครงการวจิ ัย 26-30 สิงหาคม 62 คาส่งั
ตรวจเยี่ยม 5 สหวทิ ยาเขต คณะกรรมการ
วจิ ัยจากสพม.18
3 การจัดส่งผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ก.พ. – มี.ค. 63 ซีดี จานวน
และบทคัดย่อ 15 หน้า (ในรปู ซดี ี) 2 แผ่น
4 จัดประกวดการทาผลงานวิจัยสถานศกึ ษา เม.ย. – พ.ค.63 คาสั่งแตง่ ตัง้
คดั เลอื กโดยคณะกรรมการวิจยั ของ คณะกรรมการ
สพม.18 ดาเนินการ
คัดเลือกงานวิจยั
ของสพม.18