นอนลำ พูน นอนลำ พูน อายุยืน อายุยืน ๑ ปี 1 คืน
คำ นำ รายงานเล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการสัมมนาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง การท่องเที่ยวจังหวัดลำ พูน และ ได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน ผู้จัดทำ หวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำ ลังหาข้อมูล เรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำ หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ ขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย ผู้จัดทำ (นางสาวสุธาร์ทิพย์ จำ ปาที) (นางสาวแก้วกมล แก้วสุริยอร่าม)
สารบัญเรื่อง หน้าประวัติความเป็นมาจังหวัดลำ พูนคำ ขวัญจังหวัดลำ พูน8 อำ เภจังหวัดลำ พูน5 ชาติพันธุ์ในลำ พูนผ้าไหมยกดอกลำ พูนผ้าฝ้ายดอนหลวงลำ พูนต้นไม้ประจำ จังหวัดลำ พูนดอกไม้ประจำ จังหวัดลำ พูนโคขาวลำ พูนสัตว์ประจำ จังหวัดลำ พูนมาลำ พูนต้องนึกถึง...สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน1313212728293031323337
จังหวัดลำ พูน เดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตร หรือ ชนเชื้อชาติมอญมาสร้าง เมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำ สองสาย คือ แม่น้ำ กวง และแม่น้ำ ปิง เมื่อ มาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญ ราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลาย พระองค์จนกระทั่งถึงสมัยพระยายีบาจึงได้เสียการ ให้แก่พ่อขุนเม็งรายมหาราช ผู้รวบรวม แว่นแคว้นทางเหนือ เข้าเป็นอาณาจักรล้านนา เมืองลำ พูน ถึงแม้ว่า จะตกอยู่ ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามา ปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่และเชียงราย เมืองลำ พูนจึงยังคงความสำ คัญ ในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมือง ลำ พูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครอง นครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมา ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้าย คือ พลตรีเจ้าจักรคำ ขจรศักดิ์ ถึงแก่พิราลัย เมืองลำ พูนจึงเปลี่ยนเป็นจังหวัด มีผู้ว่าราชการ จังหวัดเป็นผู้ปกครอง สืบมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน “เมืองโบราณหริภุญไชย” อาณาจักรอันรุ่งเรือง และเก่าแก่ที่สุดในภาคเหนือ ประวัติความเป็นมา จังหวัดลำ พูน ปกครอง 1
อาณาจักรหริภุญชัย หรือ หริภุญไชย เป็นอาณาจักรมอญที่ตั้งอยู่ บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำ นานจามเทวีวงศ์โบราณได้บันทึกไว้ว่า ฤๅษีวาสุเทพเป็นผู้สร้างเมืองหริ ภุญชัยขึ้นในปี พ.ศ. 1310 แล้วทูลเชิญพระนางจามเทวี ซึ่งเป็นเจ้าหญิงจาก อาณาจักรละโว้ ขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัย ในครั้งนั้นพระนางจามเทวีได้นำ พระภิกษุ นักปราชญ์ และช่างศิลปะต่าง ๆ จากละโว้ขึ้นไปด้วยเป็นจำ นวน มากราวหมื่นคน พระนางได้ทำ นุบำ รุงและก่อสร้างบ้านเมือง ทำ ให้เมืองหริ ภุญชัย (ลำ พูน) นั้นเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ต่อมา พระนางได้สร้างเขลางค์นคร (ลำ ปาง) ขึ้นอีกเมืองหนึ่งให้เป็นเมืองสำ คัญ สมัยนั้นปรากฏมีการใช้ภาษามอญโบราณในศิลาจารึกของหริภุญชัย มี หนังสือหมานซูของจีนสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญชัยไว้ว่าเป็น “อาณาจักรของสมเด็จพระราชินีนาถ” (⼥王國 หนี่ว์ หวัง กว๋อ) ต่อมา พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราชผู้สถาปนาอาณาจักรล้านนา ได้ยก กองทัพเข้ายึดเอาเมืองหริภุญชัยจากพญายีบาได้ ต่อจากนั้นอาณาจักรหริภุญชัยจึงสิ้นสุดลงหลังจากรุ่งเรืองมา 618 ปี มีพระมหากษัตริย์ครองเมือง 49 พระองค์ ปัจจุบัน โบราณสถานสำ คัญของอาณาจักรหริภุญชัย คือพระธาตุหริภุญไชย ที่จังหวัดลำ พูน ซึ่งเป็นบริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็นราชธานีในสมัยนั้น ได้มีการพบจารึกอักษรมอญโบราณ สมัยหริภุญไชย ราวพุทธศตวรรษที่ 17 ที่ลำ พูน ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำ พูน บางหมู่บ้านของ จังหวัดลำ พูนนั้นพบว่า ยังมีคนพูดภาษา มอญและอนุรักษ์วัฒนธรรมมอญอยู่ เมืองหริภุญชัย จังหวัดลำ พูน 2
เป็นปูชนียสถานสำ คัญในภาคเหนือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่เมืองลำ พูนมาอย่าง ยาวนานตั้งอดีตนับเวลามากกว่าพันปี ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำ พูน ห่างจาก ศาลากลางจังหวัดประมาณ 150 เมตร นอกจากนั้นยังเป็นองค์พระธาตุประจำ ปีเกิดของคนเกิดปีระกาพระบรมธาตุหริภุญไชย ภายในบรรจุพระเกศบรมธาตุ บรรจุในโกศทองคำ ประดิษฐานในพระเจดีย์ ประกอบด้วยฐานปัทม์ แบบฐานบัวลูกแก้ว ย่อเก็จ สำ เภาทอง ประดิษฐานอยู่ประจำ รั้วชั้นนอกทั้งทิศเหนือ และทิศใต้ มีซุ้มกุมภัณฑ์ และฉัตรประจำ สี่มุม และหอคอยประจำ ทุกด้านรวม 4 หอ บรรจุพระพุทธรูป นั่งทุกหอ นอกจากนี้ยังมีโคมประทีป และแท่นบูชาก่อประจำ ไว้เพื่อเป็นที่สักการะบูชา ของพุทธศาสนิกชนทั่วไป คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” วัดพระธาตุหริภุญไชยวรมหาวิหาร 3
พระรอด เป็นพระพิมพ์ขนาดเล็กที่สุดในบรรดาพระเครื่องสกุลลำ พูน เป็นพระพิมพ์ที่ทำ ขึ้นในสมัยพระนางจามเทวี ในสมัยก่อนจะทำ พระรอดขึ้น เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชนและทหารไว้คุ้มครองรักษาในยามสงครามและเก็บ ไว้ที่สูงเพื่อสักการะบูชา ลักษณะทั่วไปของพระรอด เป็นพระปางมารวิชัย มีฐานอยู่ใต้ที่นั่งและมีผ้า นิสีทนะ(ผ้าปูนั่ง) รองรับไว้บนฐาน ข้างหลังองค์พระมีลวดลายกระจังชาวพื้น เมืองเหนือเรียกว่า ใบโพธิ์ พระอุระผึ่งผาย พระกรรณ (หู) ยาวลงมาเกือบถึง พระอังสะทั้งสองข้าง ส่วนด้านหลังนั้นไม่มีลวดลายอะไร พระรอดเป็นดินละเอียดไม่มีเม็ดแร่เจือปน ไม่มีรอยร้าวหรือรายแตกเนื้อแน่นมี น้ำ หนักกว่าดินธรรมดาในปริมาณที่เท่ากัน คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” พระรอด 4
จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจสำ คัญของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน จังหวัดภาคเหนือ คือ จังหวัดลำ พูน ถือว่าเป็นพื้นที่ที่ปลูกลำ ไยดั้งเดิมและ สำ คัญที่สุดของประเทศ นับว่าเป็นพืชที่ทำ รายได้ ให้แก่เกษตรกรมาก ทั้งใน รูปของผลสด และ ลำ ไยแปรรูป ตลาดใหญ่ของลำ ไยสดได้แก่ ฮ่องกง สิงคโปร์ ส่วนลำ ไยแห้งทั้งเปลือกนั้นส่งออกไปยังประเทศจีน และหลาย ประเทศ จากศักยภาพและความเหมาะสมในการปลูกลำ ไยของประเทศไทย จึงได้มีการขยายตัวการปลูกลำ ไยจากผลการพัฒนาการปลูกและการผลิต ลำ ไย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์จัดให้ลำ ไยเป็นไม้ ผลยอดเยี่ยม (ProductChampion) คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” ลำ ไยลำ พูน ลำ ไย พันธุ์เบี้ยวเขียวป่าเส้า ลักษณะผลกลม ผิวเปลือกขรุขระ สีน้ำ ตาล ปนเขียว เนื้อมีสีขาวขุ่น แห้ง แน่น รสชาติหวานหอม เมล็ดสีดำ มันกลมและ แบนด้านข้าง ปลูกในพื้นที่ 6 ตำ บลของอำ เภอเมือง จังหวัดลำ พูน ได้แก่ ตำ บลหนองช้างคืน ตำ บลอุโมงค์ ตำ บลเหมืองง่า ตำ บลต้นธง ตำ บลริมปิง และตำ บลประตูป่า 5
“กระเทียม” นิยมปลูกเพื่อทั้งบริโภคในครัวเรือนและเป็นพืชเศรษฐกิจ ระดับท้องถิ่นเพื่อจำ หน่ายและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร จังหวัดลำ พูน โดยเฉพาะอำ เภอบ้านโฮ่ง ที่เกษตรกรมีการปลูกกระเทียมเพื่อจำ หน่ายกัน เป็นอย่างมาก ซึ่งก่อนที่จะจัดจำ หน่ายกระเทียมนั้น เกษตรกรก็จะเก็บเกี่ยว เมื่อกระเทียมแก่จัดที่อายุประมาณ 70-110 วัน ถ้าปลูกในช่วงฤดูหนาว แต่ ถ้ามีการปลูกในช่วงฤดูฝนจะสามารถเก็บเกี่ยวได้เมื่อกระเทียมมีอายุ ประมาณ 45 วัน จังหวัดลำ พูนมีเนื้อที่เพาะปลูกปี 2564/65 รวมทั้งจังหวัดจำ นวน 943 ไร่ เกษตรกรผู้ปลูกกระเทียม 344 ราย ในพื้นที่ 5 อำ เภอของจังหวัดลำ พูน ได้แก่ อำ เภอแม่ทา อำ เภอบ้านโฮ่ง อำ เภอลี้ อำ เภอทุ่งหัวช้าง และอำ เภอ ป่าซาง ให้ผลผลิตหอมแดง 5,075 ตันสด มีผลผลิตเฉลี่ย 5,382 กิโลกรัม ต่อไร่ (ตัดสด/ไร่) โดยเดือนที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตมากที่สุดคือเดือน กุมภาพันธ์ คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” กระเทียม กระเทียมดี 6
งานแต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง อำ เภอป่าซาง คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” เป็นประเพณีที่ถือว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเกิดขึ้นที่เดียวในโลก โดยมีรากฐานมาจาก "ชาวยอง" หรือกลุ่มชาติพันธุ์ลื้อจากสิบสองปัน นาก่อนจะอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในจังหวัดลำ พูนอีกทีหนึ่งเมื่อประมาณ 200 กว่าปีที่แล้วการชูภาพลักษณ์ความเป็นวิถีไทยmถือเป็นภารกิจ หลักที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.)นโยบายจากรัฐบาลเพื่อ สร้างรายได้ให้ประชาชนไปสู่ท้องถิ่นผ่านการท่องเที่ยวชุมชนในกลุ่ม เมืองรองต่างๆซึ่งนอกเรื่องของรายได้แล้วททท.ยังให้ความสำ คัญกับ กิจกรรมที่มีเสน่ห์ด้านวัฒนธรรมและประเพณีที่มีเป็นอัตลักษณ์เฉพาะ ตัวสร้างความภาคภูมิใจให้แก่คนในชาติอีกด้วย งานสลากย้อมเมืองหละปูนงานแต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง เป็นงานประจำ ปีของตำ บลแม่แรง อำ เภอป่าซาง ซึ่งได้จัดเป็น ประจำ ทุกปีอย่างต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สินค้าพื้นบ้านโดยเฉพาะ ผ้าฝ้าย ให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนชาวลำ พูน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ซึ่งบ้านดอน หลวงเป็นหมู่บ้านที่มีวัฒนธรรมพื้นบ้านที่หลากหลายและน่าภาคภูมิใจ โดยเฉพาะผ้าฝ้ายที่เป็นสินค้า ที่ขึ้นชื่อของหมู่บ้าน ในงานมีการสาธิตการทอผ้าพื้นเมืองซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถทดลองทอผ้าฝ้าย ได้โดยมีชาวบ้านคอยให้คำ แนะนำ การจำ หน่ายอาหารพื้นเมืองรูปแบบกาดหมั้ว ลานขันโตก ชมการ แสดงพื้นเมืองของชาวบ้าน 7
คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” หนึ่งเดียวในโลก ประเพณีสลากย้อมเมืองลำ พูน เกิดขึ้นที่จังหวัดลำ พูน เป็นส่วนสำ คัญ ของงานประเพณี “ ทานสลากภัตร ” ซึ่งเป็นการทำ บุญประจำ ปีก่อน ออกพรรษา คนล้านนามักจะจัดทานสลากภัตรในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 “สลากย้อม ” เป็นการถวายทานเพื่อเป็นพุทธบูชาของหญิงสาว บางพื้นที่จำ เพาะเจาะจงว่าต้องเป็นหญิงสาวที่มีอายุ 20 ปีเท่านั้น ขณะ ที่บางพื้นที่ไม่จำ เป็น ขอให้เป็นช่วงอายุ 20 ปี โดยประมาณอาจจะ มากกว่าหรือน้อยกว่าสัก 2-3 ปีก็ได้ แต่สิ่งที่เชื่อเหมือนกันก็คือต้อง เป็นหญิงสาวที่ยังไม่แต่งงาน และเชื่อกันว่าการถวายสลากย้อมของ หญิงสาวได้รับอานิสงส์ผลบุญสูงยิ่ง เทียบเท่ากับการบวชของผู้ชาย งานเทศกาลโคมแสนดวงที่เมืองลำ พูน ประเพณีแขวนโคมที่จังหวัดลำ พูนนั้นไม่แน่ชัดว่าเริ่มขึ้นเมื่อใด แต่ถ้าจะกล่าวถึงโคมแล้วนั้นมีใช้กัน มาตั้งแต่สมัยโบราณเพื่อใช้ประดับตกแต่งและให้แสงสว่างตามบ้านเรือน ทางเดิน ซึ่งในสมัยก่อน นั้นยังไม่มีไฟฟ้า ในทางความเชื่อเกี่ยวกับการถวายโคมจะทำ เมื่อหลังออกพรรษาใกล้กับเทศกาล #ยี่เป็ง หรืองานลอยกระทงของทางภาคเหนือนั่นเองสำ หรับประเพณีการแขวนโคมของภาคเหนือก็ เพื่อบูชาไฟ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เราเคารพนับถือเสมือนให้ไฟช่วยนำ ทางสว่างและให้โคมช่วยป้องกันมิ ให้ไฟในโคมนั้นดับเปรียบดั่งมีสิ่งคุ้มครองผู้แขวนบูชานั่นเอง 8
ประเพณีแห่แค่หลวง เป็นงานประจำ"แค่ ” เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย มีลักษณติดไฟได้ง่าย นำ มามัดเป็นกำ รวมกัน ขนาดใประโยชน์คือจุดไฟให้สว่างเพื่อส่องทางในเทศกาลลอยกระทง หรือเดือนยี่เป็งและจุดเชาวบ้านนิยมทำ ต้นแค่พร้อมคบเพลิงในเทศถวายเป็นพุทธบูชาในสมัยล้านนาโบราณชาวอย่างสวยงามแห่แค่ไปถวายพระสงฆ์ที่วัดเพ็ญเดือน ๑๒ แล้วจึงไปลอยกระทงต่อมาปไป แต่ชาวอำ เภอบ้านโฮ่งยังคงอนุรักษ์สืบสาต่อเนื่องงานแห่แคร่หลวง ลอยคำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” การแห่ไม้ค้ำ สะหลี หรือการแห่ไม้ค้ำ ต้นโพธิ์ โดยคำ ว่า ‘สะหลี ’ เป็นภาษาล้านนา มาจากคำ ว่า ‘ศรี ’ อัน หมายถึงพระศรีมหาโพธิ์ การแห่ไม้ค้ำ ศรี หรือการแห่ไม้ค้ำ ต้นโพธิ์ อันหมายถึงพระศรีมหาโพธิ์ เป็น พิธีกรรมที่สืบทอดกันมาจากการที่กลุ่มคนนำ ไม้ค้ำ ไปค้ำ ที่ต้นโพธิ์ ซึ่งไม้ค้ำ ที่จัดทำ ขึ้นเป็นพิเศษนี้ จะถวาย ทานในเทศกาลสงกรานต์ การที่ได้นำ เอาไม้ค้ำ ไปค้ำ ที่ต้นโพธิ์ เหมือนการค้ำ ชูพระพุทธศาสนา ชาวล้านนา เชื่อว่า เมื่อถึงเทศกาลสงกรานต์แล้ว ทุกคนควรจะทำ พิธีสืบชะตาของตน เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง ประเพณีแห่ไม้ค้ำ 9
คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” จำปีของอำ เภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำ พูน คำ ว่า ณะเป็นไม้มัดกำ ทำ มาจากไม้แห้งที่สามารถ ใหญ่กว่ากำ มือเล็กน้อยยาวไม่เกิน ๑ เมตร นเวลาค่ำ คืนเหมือนไต้ไฟหรือคบเพลิงใน พื่อถวายเป็นพุทธ บูชาในสมัยล้านนาโบราณ ศกาลลอยกระทงหรือเดือนยี่เป็งและจุดเพื่อ วบ้านนิยมทำ ต้นแค่พร้อมกับประดับตกแต่ง เพื่อจุดถวายเป็นพุทธบูชาในวันยี่เป็งหรือวัน ประเพณีการจุดไม้แค่หลายพื้นที่ถูกลืมเลือน านประเพณีการจุดแค่เอาไว้อย่างเหนียวแน่น งปัจจุบัน ยกระทง อำ เภอบ้านโฮ่ง ประเพณีลอยขโมด ประเพณีลอยโขมดเป็นประเพณีที่ชาวบ้านต้นธง ต.ต้นธง อ.เมือง จ.ลำ พูน รวมถึงชาวบ้านในพื้นที่ใกล้ เคียง จัดขึ้นในช่วงยี่คืนวันเพ็ญในเดือนยี่เป็ง หรือเพ็ญเดือนสิบสอง ชาวบ้านจะมีการนำ กาบกล้วยมาทำ เป็น กระทงทรงกระโจมสำ หรับใส่สิ่งของต่างๆ ลอยไปตามลำ น้ำ กวงบริเวณหน้าวัดรมณียาราม หรือวัดกู่ระมัก ในเวลากลางคืนพร้อมทั้งจุดเทียนไปในกระทงนั้นด้วย ซึ่งผีโขมดนี้ เป็นชื่อเรียก ผีป่า ที่ออกหากินในเวลา กลางคืน มีพะเนียงไฟมองเห็นเป็นระยะอย่างผีกระสือ ชาวล้านนา จึงเรียกว่า ลอยโขมด 10
พระนางจามเทวี เป็นสตรีซึ่งปรากฏพระนามในเอกสารต่าง ๆ ซึ่งระบุ ว่าทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญชัย อันเป็นอาณาจักรโบราณ ในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำ นานต่าง ๆ ที่กล่าวถึงพระองค์ระบุ ศักราชไว้ไม่ตรงกัน ปรากฏบันทึกและการสอบศักราชโดยบุคคลต่าง ๆ เช่น หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ระบุว่าทรงครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 1205 คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” พระนางจามเทวี พระนางจามเทวี เป็นตำ นานพื้นบ้านที่ได้รับการขึ้นบัญชี มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประจำ ปี พ.ศ.2554 เป็น เรื่องเล่าท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของคนไทย ภาคเหนือหลายจังหวัด อาทิ ลำ พูน ลำ ปาง ซึ่งในอดีต มีชื่อว่า เขลางค์นคร เป็นเมืองคู่แฝดของอาณาจักรหริ ภุญไชย 11
อาณาจักรหริภุญชัยคงจะก่อตัวขึ้นภายหลังการกำ เนิดของอาณาจักร โยนกเชียงแสนไม่นานนัก และคงจะเจริญควบคู่กันมา หริภุญชัยมีอาณาเขต อยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ปิงตอนบน (ปัจจุบันคือจังหวัดลำ พูน) สร้างขึ้นใน ราว พ.ศ. 1310 มีตำ นานเล่าว่ากษัตริย์องค์แรกคือ พระนางจามเทวี ภายหลัง ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นในลุ่มแม่น้ำ วัง คือ เขลางค์นคร (จังหวัดลำ ปางในปัจจุบัน) กษัตริย์ผู้ปกครองอาณาจักรหริภุญชัยมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ซึ่งสันนิษฐานว่ารับอิทธิพลมาจากมอญ มีการสร้างวัด โบราณสถาน โบราณวัตถุมากมาย ทำ ให้อาณาจักรหริภุญชัยกลายเป็นศูนย์กลางทาง พระพุทธศาสนาในภาคเหนือ ซึ่งยังคงปรากฏหลักฐานจนถึงปัจจุบัน เช่น เจดีย์วุดกู่กุดหรือวัดจามเทวี จังหวัดลำ พูน เจดีย์ช้างยืน วัดพระธาตุหริ ภุญชัย เจดีย์วัดโลกโมฬีอาราม พระพุทธรูปศิลา เป็นต้น อาณาจักรหริ ภุญชัยที่รุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมสิ้นสุดลง เมื่อพ่อขุนมังรายหรือเม็งราย ผู้ก่อตั้งอาณาจักรล้านนา ยกทัพมายึดได้ใน พ.ศ. 1835 คำ ขวัญจังหวัดลำ พูน “ พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำ ไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย ” เมืองหริภุญชัย 12
อำ เภอเมือง อำ เภอเมืองลำ พูน เป็นอำ เภอศูนย์กลางเศราฐฏิจ การค้าและการลงทุนของจังหวัด ลำ พูน และเป็นที่ต้องของศาลากลางจังหวัดลำ พูน มีฐานะเป็นอำ เภอชั้น 1 ห่างจากศาลากลางจังหวัดลำ พูนประมาณ 1 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 689 กิโลเมตร ได้รับการยกฐานะเป็นอำ เภอเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2465 มีอาคารที่ว่าการอำ เภอ เมืองลำ พูนตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดมหาวัน ตำ บลในเมือง อำ เภอเมืองลำ พูน ต่อมาเพื่อ ประมาณปี พ.ศ. 2528 ได้ย้ายมาตั้งอยู่บริเวณบ้านเวียงยอง หมู่ที่ 3 ตำ บลเวียงยอง อำ เภอเมืองลำ พูนจนถึงปัจจุบัน การปกครองส่วนภูมิภาค อำ เภอเมืองลำ พูนแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 15 ตำ บล 159 หมู่บ้าน 8 อำ เภอ บรมธาตุคู่แคว้นโบราณ ผสานอุตสาหกรรมนำ สมัย พระรอดเลื่องชื่อลำ ไยลือไกล ชนน้ำ ใจงามนามเมืองลำ พูน 13
เป็นอำ เภอหนึ่งของจังหวัดลำ พูน มีความเจริญเป็นอันดับที่ 2 รองจากอำ เภอ เมืองลำ พูน ในอดีตเป็นอำ เภอขนาดใหญ่ ต่อมาได้แยกออกเป็นอำ เภอบ้านโฮ่งและ อำ เภอเวียงหนองล่องดังเช่นปัจจุบัน ป่าซาง (เดิมชื่อ อำ เภอปากบ่อง) เป็นเมืองเก่าชุมชนเก่าแก่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ภูเขา ส่วนที่ตั้งของอำ เภอป่าซางนั้นตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ทากับแม่น้ำ ปิง ก่อนที่จะตั้ง เป็นอำ เภอป่าซางนั้น บ้านป่าซางเป็นตำ บลหนึ่งของอำ เภอปากบ่อง จังหวัดลำ พูน ในอดีตเมื่อครั้งสมัย พระยาวชิรปราการ (เจ้ากาวิละ) ทรงขับไล่พม่าออกจากแผ่นดิน ล้านนาได้แล้ว เป็นยุคของการ "เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง" ทรงรวบรวมสะสม ไพร่พลไว้ที่ป่าซาง โดยใช้ชื่อว่า เวียงเวฬุคาม ลักษณะเวียงเวฬุคามตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่ น้ำ กวงด้านทิศตะวันตก มีแนวกำ แพงเมืองลักษณะในรูปเกือกม้าหรือรูปครึ่งวงเดือน คูน้ำ ที่ล้อมรอบเวียงเวฬุคามนั้นใช้น้ำ ไหลเข้าจากน้ำ แม่ทาโดยมีฝายกั้นที่หน้าธนาคาร ออมสินปัจจุบัน น้ำ ไหลรอบคูเมืองไปออกที่ข้างป่าช้าป่าซางปัจจุบัน ลักษณะกำ แพง เมืองเวฬุคามกว้างประมาณ 1 เมตร และมีป้อมยามรักษาการณ์ตลอดแนวกำ แพง เมืองระยะห่างประมาณ 100 เมตร ปัจจุบันซากกำ แพงเมืองเวฬุคามยังมองซากอยู่ เป็นช่วง ๆ ยาวกว่า 1.5 กิโลเมตร อำ เภอป่าซาง 8 อำ เภอ พระพุทธบาทงามละออ ผ้าทอหัตถกรรม งามล้ำ ประเพณี คุณภาพดีหอมกระเทียม ยอดเยี่ยมลำ ไย ถิ่นใหญ่ไทยยอง แผ่นดินทองหริภุญไชย 14
อำ เภอบ้านโฮ่ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 40 กิโลเมตร แยกออกเป็นกิ่งอำ เภอ เมื่อปี พ.ศ. 2460 และยกฐานะเป็นอำ เภอในปี พ.ศ. 2499 อำ เภอบ้านโฮ่งเดิมมีฐานะเป็นตำ บลขึ้นกับอำ เภอป่าซาง แยกเป็นกิ่งอำ เภอบ้านโฮ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2460 และได้รับการยกฐานะเป็นอำ เภอ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2499 ในสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูบ้านเมืองได้กวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองและเมือง ใกล้เคียงมาไว้ที่เมืองลำ พูน โดยตั้งเมืองลำ พูนขึ้นใหม่ใน พ.ศ. 2348 ส่วนทางเมือง ยองเองเจ้านายของเมืองยองก็ไม่คิดขึ้นกับล้านนาแต่ยังยินยอมสวามิภักดิ์กับพม่าพา ผู้คนจำ นวนหนึ่งกลับไปตั้งเมืองใหม่เป็นเมืองยองสืบต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน ในการ ฟื้นฟูเชียงใหม่นั้นพระเจ้ากาวิละได้เทครัวคนจากเมืองอื่นๆมาหลายครั้ง สำ หรับชาว ยองมีการเทครัวลงมาจากเมืองยองราว พ.ศ. 2351-2353 และ พ.ศ. 2356 หลังจาก นั้นก็ยังมีอีกแต่ไม่เด่นชัด 8 อำ เภอ ถ้ำ หลวงงดงาม ลือนามหอมกระเทียม ลำ ไยรสเยี่ยม พระเจ้าสะเลียมหวานเลิศล้ำ น้ำ ตกงามแท้ แค่หลวงงามตา บูชา พระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพระบาทสามยอด 15
อำ เภอลี้ อำ เภอลี้ ได้จัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2454 ห่างจากจังหวัดลำ พูน 105 กม. ซึ่งได้ ก่อตั้ง มาแต่สมัยกรุงสุโขทัย มีพระนางจามรีเป็นหัวหน้าสร้างชื่อเมืองลี้ อำ เภอลี้ เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาเก่าแก่ โดยได้ก่อตั้งเมืองมา ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ก่อนปี พ.ศ. 1800 มีพระนางจามะรี เป็นราชธิดาของเจ้าเมือง หลวงพระบาง เป็นหัวหน้าในการอพยพผู้คนหลบหนีลี้ภัยข้าศึกและโรคระบาดจาก เมืองหลวงพระบางลงมายังทางทิศใต้สู่แคว้นล้านนา ได้สร้างเมือง ณ บริเวณวัดพระ ธาตุดวงเดียว เนื่องจากมีลักษณะภูมิประเทศเหมาะสม มีสายน้ำ 3 สายมาบรรจบกัน ปัจจุบันเรียกว่า "แม่ลี้" "แม่แต๊ะ" และ "แม่ไป" จึงตั้งชื่อเมืองว่า เมืองลี้ เมืองลี้เจริญ รุ่งเรืองตลอดมา จวบจนทางกรุงสุโขทัยได้ยกทัพมาตี โดยกวาดต้อนผู้คนและ ทรัพย์สินไปยังกรุงสุโขทัย เมืองลี้จึงกลายเป็นเมืองร้าง ต่อมามีผู้คนอพยพมาจากเมืองเชียงใหม่ ลำ พูน เถิน และตาก เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ อาศัยจนถึงกลางสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าเมืองลำ พูนหรือนครหริภุญไชยได้แต่งตั้ง เจ้าเมืองมาปกครองและตั้งเป็นเมืองลี้ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง และในปี พ.ศ. 2454 ได้ เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น อำ เภอเมืองลี้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2460 จึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำ เภอลี้ 8 อำ เภอ น้ำ ตกเย็นใส น้ำ ใจคนดี มีเหมืองถ่านหิน เป็นถิ่นนักบุญ 16
อำ เภอแม่ทา เป็นอำ เภอที่มีเส้นทางคมนาคมที่สำ คัญ คือ ถนนซูเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่-ลำ ปาง และทางรถไฟสายเหนือ นอกจากนั้นแล้วยังมีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาน อุโมงค์ขุนตาน และสถานีรถไฟขุนตาน อำ เภอแม่ทาเดิมเป็นพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด ตั้งอยู่เชิงเทือกเขาขุนตาน ไม่มีผู้คนตั้งบ้าน เรือนอาศัยอยู่เลย จนเมื่อราว 200 ปีเศษมานี้ ได้มีหัวหน้าไทยใหญ่คนหนึ่ง ชื่อ นาย ฮ้อย คำ อ่าง เป็นผู้อพยพครอบครัวและบริวารมาตั้งรกราก ทำ มาหากินตั้งเป็น หมู่บ้านขึ้นในชั้นแรกมีบ้านศาลาแม่ทาก่อน ต่อมาได้ขยายเป็นชุมชนใหญ่และอยู่ในเขต การปกครองของอำ เภอเมืองลำ พูน ในปี พ.ศ.2482 ทางราชการได้พิจาณา เห็นว่า ชุมชนบ้านศาลาแม่ทาได้ขยายเป็นชุมชนใหญ่มากขึ้น เพื่อสะดวกต่อการปกครองและ เพื่อขยายความเจริญของชุมชน ทางราชการโดยกระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศยก ฐานะชุมชนแม่ทาขึ้นเป็นกิ่งอำ เภอแม่ทาอยู่ในเขตการปกครองของอำ เภอเมืองลำ พูน จากนั้นเป็นต้นมากิ่งอำ เภอแม่ทาก็ได้มีความเจริญเติบโตมาเป็นลำ ดับ ทางราชการเห็น สมควรที่จะยกฐานะจากกิ่งอำ เภอแม่ทาขึ้นเป็นอำ เภอ ทางจังหวัดลำ พูนจึงได้ทำ หนังสือไปยังกระทรวงมหาดไทยเพื่อขอยกฐานะจากิ่งอำ เภอแม่ทาขึ้นเป็นอำ เภอ ต่อมาในวันที่ 22 กรกฎาคม 2501 จึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นอำ เภอให้ชื่อว่า อำ เภอ แม่ทา โดย เรียกชื่อตามลำ น้ำ แม่ทา ซึ่งเป็นแม่น้ำ สายใหญ่และสำ คัญที่สุดของอำ เภอ ไหลผ่านทุกตำ บลในเขตอำ เภอแม่ทา ยกเว้นตำ บลทาแม่ลอบ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า "ทา" นำ หน้าชื่อตำ บลทุกตำ บลของอำ เภอแม่ทา มาจนถึงปัจจุบันนี้ 8 อำ เภอ ลำ น้ำ ทาเชื่่อมสายใย ศูนย์รวมใจพระพุทธา เด่นสง่าดอยขุนตาน สะพานขาวเลื่องลือ ขึ้นชื่อไม้แกะสลัก อนุรักษ์ผ้าทอมือ 17
อำ เภอทุ่งหัวช้าง เป็นอำ เภอเภอที่อยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดลำ พูน มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 950 ตร.กม. หรือ 593,750 ไร่ และอำ เภอทุ่งหัวช้างยังเป็นแหล่งกำ เนินแม่น้ำ ลี้ อำ เภอทุ่งหัวช้าง ได้จัดตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2520 โดยแยกตำ บลตะเคียนปม ตำ บลทุ่งหัวช้าง และตำ บลบ้านปวง ออกจากเขตการปกครองของอำ เภอลี้ จังหวัดลำ พูน มาจัดตั้งเป็นกิ่งอำ เภอ ทุ่งหัวช้าง ด้วยเหตุผลที่ว่าทั้งสามตำ บลอยู่ห่างไกลจากตัวอำ เภอลี้ การคมนาคมไม่ สะดวก ประกอบกับมีการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสแห่งประเทศไทย จึงจำ เป็น ต้องแยกแล้วจัดตั้งเป็นกิ่งอำ เภอ ในระยะเริ่มแรกทางราชการได้ใช้สถานีอนามัยตำ บล ทุ่งหัวช้างเป็นที่ว่าการชั่วคราว ต่อมาเมื่อเห็นว่าคับแคบจึงได้ย้ายมาอาศัยอาคาร เรียนในบริเวณโรงเรียนชุมชนทุ่งหัวช้าง(ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำ บลทุ่งหัวช้าง) เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2521 และได้ย้ายมาอยู่ยังที่ว่าการอำ เภอทุ่งหัวช้างปัจจุบันนี้ มีเนื้อที่ ประมาณ 29 ไร่ ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 เป็นต้นมา จนถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 ได้รับการประกาศยกฐานะขึ้นเป็น “อำ เภอทุ่งหัวช้าง" ตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนที่ 179 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 8 อำ เภอ แหล่งกำ เนินต้นน้ำ ลี้ ฝีมือเลิศยกดอกไหม ศูนย์รวมใจพระธาตุดอยกวางคำ งามเลิศล้ำ อ่างเก็บน้ำ แม่ปันเด็ง ผู้คนครัดเคร่ง คุณธรรมน้ำ ใจงาม นามระบือ คือทุ่งหัวช้าง 18
อำ เภอบ้านธิ บ้านธิมีที่ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของจังหวัดลำ พูน มีระยะห่างจากอำ เภอเมืองลำ พูน 22 กิโลเมตร มีพื้นที่ 122.45 ตารางกิโลเมตรหรือ 76,530 ไร่ บ้านธิ เป็นชื่อของลำ น้ำ แม่ธิ ซึ่งมีต้นกำ เนิดจากเทือกเขาแม่ธิ ในเขตพื้นที่หมู่บ้าน ดอยเวียง หมู่ที่ 9 ตำ บลบ้านธิ น้ำ แม่ธิไหลผ่านตอนกลางของตำ บลบ้านธิ จากทิศตะวัน ออกลงสู่น้ำ กวง ทิศตะวันตกในเขตพื้นที่บ้านสันมะนะ หมู่ที่ 10 ตำ บลบ้านธิ เดิมเป็น ตำ บลอยู่ในเขตการปกครองของอำ เภอเมืองลำ พูน ชื่ออำ เภอตั้งตามชื่อแม่น้ำ คือ ลำ น้ำ ธิ มีต้นกำ เนิดจากขุนเขาแม่ธิ ตั้งเป็นกิ่งอำ เภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2533 และเป็น อำ เภอบ้านธิ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2538 8 อำ เภอ เมืองคนดี มีศีลธรรม ถิ่นงานไทลื้อ นามระบือไทยอง ท้องถิ่นคนขยัน มุ่มมั่นพัฒนา สถานศึกษาดีเด่น รวมพลังสามัคคี 19
แยกตัวออกมาจากอำ เภอป่าซาง นับเป็นอำ เภอที่มีขนาดเล็กที่สุดในจังหวัด ลำ พูน ตำ นานเล่าว่า อำ เภอเวียงหนองล่อง เดิมเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณ เมือง หน้าด่านของเมืองหริภุญชัย ในปี พุทธศักราช 1217 ชาวเมกกะที่มีถิ่นฐานอยู่ทางทิศ ใต้ของนครหริภุญชัย นำ ข่าวมากราบทูลพระแม่เจ้าจามเทวี ปฐมกษัตริย์เมืองหริ ภุญชัย ว่าที่หนองน้ำ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากเขาอยู่เท่าใดนัก มีการเผือกมาร้องในวันธรรม สาวนะ จึงให้ข้าราชการบริพารไปดูก็เห็นจริง จึงได้รับสั่งให้สร้างเวียงขึ้น พระราชทานนามว่า เวียงกาฮ้อง ปัจจุบันเป็นอำ เภอเวียงหนองส่อง จังหวัดลำ พูน ขณะนั้นทรงโปรดให้สร้างอารามการ้อง ทรงให้อารามศรีเตี้ยวเป็นสถานที่ศึกษา อักขระรามัญแห่งเวียงกาฮ้อง และทรงฉลองเวียงนี้เมื่อแล้วเสร็จไปกลางปี อำ เภอเวียงหนองล่อง ประกอบด้วย 3 ตำ บล คือ ตำ บลหนองล่อง ตำ บลหนองยวง และตำ บลวังผาง เดิมเป็นเขตการปกครองของอำ เภอป่าซาง จังหวัดลำ พูน ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2538 กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งเป็น กิ่งอำ เภอเวียง หนองล่อง ในระยะเริ่มแรกได้ใช้ศาลาการเปรียญ วัดต้นผึ้งเป็นที่ทำ การ ชั่วคราว และ ได้มีราษฎรอุทิศที่ดิน จำ นวน 75 ไร่ ต้งอยู่ ณ หมู่ที่ 8 ตำ บลหนองล่อง ให้สร้างที่ ว่าการกิ่งอำ เภอเวียงหนองล่อง และเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550 กิ่งอำ เภอเวียง หนองล่องได้รับการยกฐานะเป็นอำ เภอเวียงหนองล่อง อำ เภอเวียงหนองล่อง 8 อำ เภอ ตลาดนัดลือชื่อ เลื่องลือลำ ไย สุดสายน้ำ ลี้ เขียวขจีลุ่มน้ำ ปิง น่าอยู่ยิ่งเวียงหนองล่อง 20
ไทยอง ไทลื้อ ไทยวน กะเหรี่ยง มอญ 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน “ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มพี่น้องชาติพันธุ์ทั้ง 5 กลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ จ.ลำ พูน ได้แก่ กลุ่มชาติพันธุ์ไทยอง ไทยวนหรือคนเมือง ไทลื้อ มอญ และ กะเหรี่ยง ให้เป็นที่รับรู้และเข้าใจแก่สาธารณชนทั่วไป ทั้งในกลุ่มเด็ก เยาวชน รวมถึงประชาชนใน จ.ลำ พูน และจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งเป็นการช่วยสืบสานมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่ม ชาติพันธุ์ ให้คงอยู่ได้สืบไป” 21
เป็นชื่อที่ใช้เรียกคนในกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ ที่ตั้งบ้านเมืองอยู่ที่เมืองยอง ประเทศ เมียนมา และได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดลำ พูนและเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2348 เมื่อครั้งที่พระยากาวิละ เจ้าเมืองเชียงใหม่ กวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองร่วมฟื้นฟู อาณาจักรล้านนา โดยให้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเมืองลำ พูน ปัจจุบันพวกเขาเรียกตัวเองว่า "คนยอง" ซึ่งในการตั้งถิ่นฐานของไทยองในลำ พูน พระเจ้ากาวิละได้สถาปนาให้ผู้นำ ของชาวยองขึ้นเป็นเจ้าเมือง และให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ในที่ราบลุ่มฝั่งแม่น้ำ กวง ตรงข้าม กับตัวเมืองลำ พูน ปัจจุบันคือบ้านเวียงยอง ส่วนไทยองกลุ่มอื่น ๆ ถูกตั้งให้ กระจัดกระจายไปยังพื้นที่อื่น ๆ ของลำ พูน ย้อนไปในอดีตที่เมืองยองในเมียนมา ไทยองเคยมีวัดหัวข่วงราชฐานหลวงเป็น ศูนย์รวมจิตใจ เมื่อต้องอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ จึงได้ร่วมกันสร้างวัดหัวข่วงนาง เหลียว ซึ่งต่อมาวัดก็ได้ถูกแม่น้ำ กัดเซาะตลิ่งจนพัง ชาวยองจึงช่วยกันสร้างวัดใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2357 และใช้ชื่อว่า "วัดหัวขัว" แม้จะมีความมั่นคงในพระพุทธศาสนา แต่ ในความเชื่อดั้งเดิมของชาวไทยองก็ยังนับถือผีควบคู่กันไปด้วย โดยมี “เตวะบุตรโหล ง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกปักรักษาให้อยู่เย็นเป็นสุขตราบถึงทุกวันนี้ ไทยอง 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน 22
ชาวไทลื้อบ้านธิ ลำ พูน ชาวไทลื้อบ้านธิเดิมทีอยู่ดินแดนสิบสองปัน¬นาแต่ด้วย เหตุหลายปัจจัยทำ ให้ต้องย้ายถิ่น-ฐานมาที่จังหวัดลำ พูน ชาวไทลื้อชอบอาศัย บริเวณริมน้ำ เพื่อสะดวกใ¬นการทำ มาหากิน และนับถือผี ประเพณีของชาวไทลื้อมี มากมาย เช่น กินหวานต๋านม่วน เลื้ยงผีขุนน้ำ เป็นต้น.ชาวไทลื้อจะรักพวกพ้อง และ จะแต่งงานกันเองในเครือญาติ ผู้ที่มาสร้างถิ่นฐานในบ้านธิคนแรกคือพ่อห¬นาญปัญโญกับแม่อุ๊ยขา บ้านแพะ เป็นบ้านแรกที่ไทลื้อบ้านธิมาอาศัยและขยา¬ยไปเรื่อยๆจนมีลูกหลานมากมายและได้ ชยายเป็น10หมู่บ้าน ในท้องถิ่นแต่ละแห่งย่อมมีการเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้นๆ เรื่องที่เล่าอาจเป็นเรื่องที่เคยเกิดขึ้นจริง แล้วเล่าต่อ ๆ กันมา และอาจแพร่ไปยังท้อง ถิ่นอื่นด้วย ตำ นาน คือ เรื่องราวที่เล่าเกี่ยวกับประเพณีเก่าแก่ บางเรื่องเกี่ยวข้องกับ ประวัติศาสตร์และอ้างถึงตัวบุคคลหรือสถานที่ที่มี อยู่จริง ในท้องถิ่นหรือชุมชน หลายแห่งมีเรื่องของวีรบุรุษหรือคนที่ทำ ประโยชน์ให้กับ ชุมชนแห่งนั้น ผู้คนในชุมชน มีความรักและภาคภูมิในในตัวบุคคลเหล่านี้ ไทลื้อ 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน 23
ไทยวน หรือคนเมือง คือกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ที่อาศัยอยู่บริเวณภาคเหนือของ ประเทศไทย มักตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ไหลผ่านระหว่างหุบเขา เช่น ลุ่มแม่น้ำ ปิงเป็นที่ตั้งของเมืองเชียงใหม่และลำ พูน ชาวไทยวน มีภาษา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่ออันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ในสังคมของชาวไทยวนมีความคิดในเรื่อง ผีผสมพุทธศาสนา โดยเฉพาะผีปู่ย่า (ผีบรรพบุรุษ) จะมีบทบาทในการควบคุม พฤติกรรมของลูกหลานชาวไทยวนให้ประพฤติตนถูกต้องตามจารีตประเพณีและ กรอบที่ดีงามของสังคม อีกทั้งมีความเชื่อเรื่อง “ขึด” คือข้อห้าม หรือข้อปฏิบัติที่ถูก ต้อง ที่ควรปฏิบัติไม่ให้เกิดสิ่งไม่ดีขึ้นกับตัวเองและครอบครัว ไทยวน 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน 24
หมู่บ้านชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง(ปาเกอะญอ)มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่จะยึดตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียงมีความเป็นอยู่ที่สงบเรียบง่าย หมู่บ้านแห่งนี้มีภาษาและการแต่ง กายเป็นของตัวเอง ชาวบ้านส่วนใหญ่จะทอผ้าไว้ใช้เองเริ่มตั้งแต่การปลูกฝ้าย ปั่น ด้าย ทอผ้า และประดับลูกเดือย มีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ภายในหมู่บ้านยังมีกลุ่ม ทอผ้า จำ หน่ายผลิตภัณฑ์ชาวเขาและสิ่งทอทุกชนิดให้ได้เลือกซื้อกันอีกด้วย คำ ว่า กะเหรี่ยง สันนิษฐานว่า มาจากภาษามอญ ကရေ ၚ် กะเรียง ที่ใช้เรียก ชาว ปกาเกอะญอ (ส่วนมากเป็นกะเหรี่ยงพุทธ) อาจมีความเชื่อมโยงกับ ชื่อกลุ่มผู้นับถือ ศาสนาพุทธนิกายมหายานที่มีอยู่ใน ธิเบต เนปาล ที่เรียกว่า กะยูปา หรือ ปากะญู ซึ่ง มักแต่งกายด้วยชุดสีขาว และมีวิถีชีวิตอย่างเรียบง่ายสมถะ ซึ่งความเชื่อนี้อาจแพร่ หลายเข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิเมื่อกว่าพันปีก่อน กะเหรี่ยงมีด้วยกันหลายกลุ่ม ย่อย และมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ทั้งยังมีประเพณี ความเชื่อ ความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน ด้วย กะเหรี่ยง 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน 25
คนมอญเป็นกลุ่มคนที่เรียบง่ายไม่ปรารถนาที่จะต่อล้อต่อเถียงกับใคร ตลอดทั้ง ชีวิตของพวกเขามุ่งแสวงหาความสงบและการแสดงออกถึงศรัทธาต่อศาสนาอย่าง แรงกล้า นี่อาจเป็นคำ กล่าวหนึ่งที่เหมือนจะตอกย้ำ ลงไปว่า แท้จริงแล้วคนมอญไม่ได้เป็น ชนชาตินักรบ หากแต่พวกเขาเป็นกลุ่มคนที่รักความสงบ ดำ รงตนอยู่ภายใต้หลัก ธรรมคำ สอนของพุทธศาสนามากกว่า ในอดีตที่ผ่านมาจะสังเกตว่าตั้งแต่พื้นที่ขวาน ทองของไทยเรื่อยไปจนกระทั่งถึงพม่าและอินเดียบางส่วนเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของกลุ่มคน มอญ กระทั่งพวกเขาถูกรุกรานและได้อพยพเร่ร่อนไปอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ ของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ทำ ให้พวกเขาถูกมองว่าเป็นกลุ่มชนที่ไม่มีหลักแหล่งแน่นอน และนี่ คืออนุสติสำ คัญแห่งหน้าประวัติศาสตร์ เมื่อฉากสุดท้ายของมหาอาณาจักรที่สำ คัญ ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิ เคยเป็นถึง “แอ่งอารยธรรมแม่” ของอารยธรรมทั้งปวง ในแถบอุษาคเนย์ จักต้องมาจบลงด้วยการไร้ชาติสิ้นแผ่นดิน ทว่าหากย้อนเข้าไปใน ยุคสมัยประวัติศาสตร์ทำ ให้ทราบว่า “มอญ” คือบรรพบุรุษกลุ่มแรกที่เคยครอบ ครองผืนแผ่นไทยมาก่อน เช่นในพุทธศตวรรษที่ 8 หรือราว 1,800 ปีมาแล้วมีหลัก ฐานยืนยันว่า อาณาจักรมอญแห่งแรกสุดมีศูนย์กลางอยู่แถบนครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี ซึ่งเรียกรวมกันว่า “อาณาจักรทวารวดี” มอญ 5 ชาติพันธุ์ในลำ พูน 26
ผ้าไหมยกดอก มีความหมายเดียวกับผ้ายก ต่างกันที่การใช้ไหมพุ่งอาจจะใช้เส้น ไหมสีต่างๆ แทนเส้นดิ้นในการทอผ้า คำ ว่า ยกดอก นั้นเพื่อบ่งบอกถึงเทคนิคที่ใช้ทอผ้าและบ่งบอกถึงลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์ของจังหวัดลำ พูนที่เป็นลวดลายดอกไม้ เช่น ลายดอกพิกุล ดังนั้นจึง เรียกว่า "ผ้าไหมยกดอก" หรือ "ผ้าไหมยกดอก ลำ พูน" การประดิษฐ์ลวดลายนั้น ผ้ายกลำ พูนนับว่าเป็นศิลปะการทอผ้าที่มีลวดลาย งดงามมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง มีรูปแบบลวดลายที่อ่อนช้อยงดงามของ ธรรมชาติ เป็นเรื่องราวของดอกไม้ ใบไม้ เช่น ลายดอกพิกุล ลายกลีบลำ ดวน ลาย ใบเทศ ลายเม็ดมะยม และลายพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังนำ ลวดลาย ธรรมชาติเหล่านี้ประยุกต์เข้ากับลายไทยต่างๆ ตามจินตนาการของผู้ออกแบบ สำ หรับลวดลายที่เป็นลายโบราณดั้งเดิมและยังได้รับความนิยมในปัจจุบันคือ ลาย ดอกพิกุลหรือดอกแก้ว ซึ่งเริ่มแรกในสมัยโบราณไม่มีการบันทึกลวดลายเป็นลาย ลักษณ์อักษร ต้องจดจำ ลวดลายไว้ในหัวสมอง ถ้าความจำ ลบเลือนหรือเสียชีวิตไป ลวดลายที่จดจำ ไว้นั้นก็สูญหายไปด้วย ทำ ให้ลายผ้าโบราณหายไปมากเพราะไม่ได้ ลอกลายไว้ ผ้าไหมยกดอก 27
สินค้างานหัตถกรรมผ้าฝ้ายทอมือ “บ้านดอนหลวง” ชุมชนชาวบ้านทอผ้าฝ้าย พื้นเมือง และมีชื่อเสียงมากที่สุดของอำ เภอป่าซาง จังหวัดลำ พูน จนกลายเป็นของ ฝากขึ้นชื่อชั้นดี “ผ้าฝ้ายดอยหลวง” ถือได้ว่าเป็นสินค้าที่ขึ้นชื่อของชุมชนบ้านดอนหลวง อำ เภอ ป่าซาง จังหวัดลำ พูน เป็นอำ เภอที่มีชาวบ้านทอผ้าฝ้ายพื้นเมืองมากที่สุดและมีชื่อ เสียงแห่งหนึ่ง โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์กับงานหัตถกรรม ที่สืบทอดวัฒนธรรมการทอ ผ้ามาจากบรรพบุรษมาหลายชั่วคน โดยการนำ ผ้าทอมาทำ การตกแต่งเครื่องเรือน ประเภทผ้าคลุมเตียง ผ้าม่าน ปลอกหมอน ผ้ารองจาน และอีกหลายรูปแบบ จนทำ ให้ ผ้าฝ้ายดอนหลวงของอำ เภอป่าซางเป็นงานหัตถกรรมที่สร้างรายได้สร้างอาชีพ และ ของฝากที่โด่งดังจนถึงปัจจุบันนี้ จุดเด่นผ้าฝ้ายบ้านดอนหลวง จะทอมือแบบโบราณ เน้นลาย 4 และ 6 ตะกอ ช่วย ให้เนื้อผ้านุ่มและเหนียว อีกทั้ง ชาวบ้านได้พัฒนารูปแบบให้หลากหลาย ทั้งเป็นเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ กระเป๋า ปลอกหมอน ผ้าคลุมเตียง ฯลฯ มีช่องทาง ตลาด โดยเปิดขายปลีกหน้าบ้านตัวเอง กับขายส่ง ผ่านพ่อค้าคนกลางที่จะเข้ามารับ ซื้อสินค้าถึงหมู่บ้าน รายได้ชาวบ้านจะแตกต่างกันไป ตามสัดส่วนการผลิต ตั้งแต่ 3,000 บาท จนไปถึงเดือนละหลักแสน ผ้าฝ้ายดอนหลวง 28
ต้นจามจุรีเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่สูง 10–20 เมตร แผ่พุ่มกว้างคล้ายร่ม เป็น แบบขนนกสองชั้นออกสลับ เปลือกต้นสีดำ เป็นเกล็ดโตแข็งสีเขียวเข้ม ใบเป็นใบ ประกอบแบบขนนกคล้ายใบแค ปลายใบมนแกนกลางใบประกอบและก้านใบประกอบ แยกแขนงตรงข้ามกัน บนแขนงมีใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี หรือคล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ หลังใบเกลี้ยง ออกดอกเป็นรวมเป็นกระจุก สีชมพู อ่อน โคนดอกสีขาวออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง วงนอกช่อดอกมีขนาดเล็กกว่าดอก วงใน ดอกวงนอกมีก้านสั้น ดอกวงใยไม่มีก้าน ส่วนบนมีขนหนาแน่น ปลายหลอด กลีบดอกแยกเป็น 5 แฉก ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักแบน ยาว ฝักอ่อนสีเขียว ฝักแก่สีน้ำ ตาล เนื้อในนิ่มสีดำ รสหวาน เมล็ดสีน้ำ ตาลเข้ม จามจุรีแดง ต้นไม้ประจำ จังหวัด 29
ทองกวาวนับเป็นพืชพื้นเมืองดั้งเดิมของไทยอีกชนิดหนึ่ง เพราะมีถิ่นกำ เนิดที่เขต ร้อนในบริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ เช่นใน ประเทศไทย พม่า กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ศรีลังกา เนปาล อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ สำ หรับใน ประเทศไทย พบขึ้นทุกภาคโดยจะกระจายทั่วไปตามที่ราบลุ่ม และในป่าเบญจพรรณ ที่สูงจากระดับน้ำ ทะเล 80-300 เมตร แต่มักจะพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือมากกว่าภาคอื่นๆ ทองกวาวเป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 8 - 20 เมตร เรือนยอดทรง กลมหรือรูปไข่ ทรงพุ่มทึบปานกลาง ผลัดใบ เจริญเติบโตช้ามากเนื่องจากเป็นไม้เนื้อ แข็ง เวลาออกดอกใบจะร่วงหมด ดอกสะพรั่งเต็มต้น เป็นไม้ที่ทนต่อสภาพแห้งแล้ง ทนลมและสภาพดินเค็ม ดอกทองกวาว ดอกไม้ประจำ จังหวัด 30
โคขาวลำ พูน เป็นโคพื้นเมืองที่เกิดจากฝีมือและผลงานของชาวบ้านในจังหวัด ลำ พูน มีการพัฒนาสายพันธุ์มานานกว่า 100 ปี เลี้ยงกันแพร่หลายในจังหวัด ลำ พูนและเชียงใหม่แล้วแพร่กระจายไปยังจังหวัดลำ ปาง พะเยา เชียงราย เกิดขึ้นมา ได้อย่างไรไม่มีหลักฐานแน่ชัด บางท่านเล่าว่า เกิดจากการกลายพันธุ์ของโคพื้นเมืองในสมัยพระนางจามเทวี ผู้ ครองนครหริภุญไชยพระองค์แรก เมื่อ 1,340 กว่าปีมาแล้ว และเป็นสัตว์คู่บารมีของ ชนชั้นปกครอง ในสมัยนั้นใช้ลากเกวียน แต่หริภุญไชยก็ล่มสลายตั้งแต่ครั้งเมื่อ พ่อขุนเม็งรายมหาราชยึดครอง อีกทั้งเป็นเมืองร้าง สมัยพม่าครองเมือง ช่วงกรุง ศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 ในตำ ราฝรั่งบางเล่มกล่าวว่า ต้นตระกูลของโคพื้นเมืองในภาคพื้นเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ น่าจะเป็นโคยุโรปที่ไม่มีหนอก ซึ่งต่อมาถูกผสมข้ามโดยโคอินเดียที่มีหนอก เพราะโคในภูมิภาคนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะของทั้งโคยุโรปและโคอินเดียรวมกัน คือมี เหนียงคอสั้น หน้าผากแบน และหูเล็กแบบโคยุโรป มีหนอกแบบโคอินเดีย โคขาวลำ พูน โคพันธุ์พื้นเมือง 31
อึ่งปากขวด หรือ อึ่งเพ้า มีความยาวจากหัวจรดถึงก้นประมาณ 73 มิลลิเมตร ลำ ตัวอ้วนป้อม มีลักษณะเด่นคือ หน้าสั้นมาก ปากแคบและทู่ไม่มีฟัน ไม่ เหมือนกับกบหรืออึ่งอ่างชนิดอื่น ๆ ตาเล็ก ขาสั้น แผ่นเยื่อแก้วหูเห็นไม่ชัด ลำ ตัวสี น้ำ ตาลดำ หรือสีเทาดำ ใต้ท้องสีขาว บางตัวอาจมีจุดกระสีเหลืองกระจายอยู่ทั่ว เท้า ทั้ง 4 ข้างมีพังผืดเกาะติดอยู่ ใช้สำ หรับว่ายน้ำ และมีสันใต้ฝ่าเท้าหลังใช้สำ หรับขุดดิน อึ่งปากขวด หรือ อึ่งเพ้า พบในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยจะพบ เฉพาะพื้นที่ที่อยู่เหนือจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ขึ้นไป โดยมีพฤติกรรมอาศัยโดยขุด โพรงดินที่เป็นดินปนทรายและอาศัยอยู่ภายใน ในป่าที่มีความชุ่มชื้นใกล้กับพื้นที่ชุ่ม น้ำ ในฤดูร้อนจะซ่อนตัวในโพรงแทบตลอด เมื่อฝนตกจะออกมาหากิน โดยหากินใน เวลากลางคืน ผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงต้นฤดูฝน และจะผสมพันธุ์วางไข่เร็วกว่าอึ่ง อ่างหรือกบชนิดอื่น อึ่งปากขวดหรืออึ่งเพ้า สัตว์ประจำ จังหวัดลำ พูน 32
เป็นแหล่งผลิตไม้แกะสลักเป็นรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปคน รูปสัตว์ เครื่องใช้ภายใน บ้าน เครื่องประดับบ้าน ของเล่นเด็ก เป็นอุตสาหกรรมภายในครัวเรือนส่งไปขายยัง จังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง บ้านหนองยางไคล ตำ บลทาทุ่งหลวง และบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียง เป็นแหล่งผลิต ไม้แกะสลักรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปคน รูปสัตว์ เครื่องใช้ภายในบ้าน เครื่องประดับบ้าน ของเล่นเด็ก เป็นอุตสาหกรรมภายในครัวเรือนส่งไปขายยังจังหวัดเชียงใหม่และใกล้ เคียง การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 106 แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 116 ประมาณ 2 กิโลเมตร ถึงแยกไฟแดงป่าห้าแล้วไปตามทางหลวงหมายเลข 1033 อีก ประมาณ 10 กิโลเมตร10 วัดห้ามพลาดเมื่อมาลำ พูนร้านอาหารต้องลองของลำ พูน ร้านเก๋ ๆ นั่งชิวในลำ พูน หมู่บ้านแกะสลักลำ พูน มาลำ พูนต้องนึกถึง 33
ในอดีตบ้านสันเหมือง ตำ บลหนองล่อง อำ เภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำ พูน เป็น แหล่งผลิตหม้อน้ำ ดินเผาขนาดใหญ่ของจังหวัดลำ พูน นอกจากมีการผลิตหม้อน้ำ ดิน เผาแล้ว ยังมีผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาอื่นๆ อีก อาทิเช่น กระถางดอกไม้ หม้อสาว (หม้อแกงของคนเหนือ เนื่องจากในสมัยก่อนไม่มีกะทะ จึงใช้หม้อดินเผาก้นกลมใช้ใน การประกอบอาหารแทน) หม้อต่อม (หม้อสำ หรับใช้ใส่กระดูกคนตาย แล้วนำ ไปฝัง บริเวณป่าช้า หรือนำ ไปลอยน้ำ เชื่อว่าจะทำ ให้วิญญาณคนตายได้รับการปลดปล่อย และไปเกิดในภพที่ดี)หม้อข้าวดินเผา (มีลักษณะเหมือนหม้อสาว และมีขนาดเท่าหม้อ ต่อม แต่มีปากหม้อที่กว้างกว่า ใช้สำ หรับใส่ข้าวเหนียว) และหม้อต้มเหล้า (ซึ่งมีขนาด ใหญ่มาก ประมาณเส้นผ่าศูนย์กลาง ๕๐-๖๐ เซนติเมตร) ปั้นหม้อน้ำ ดินเผา มาลำ พูนต้องนึกถึง 34
ร้านขนมเส้นหม้อดินเป็นร้านอาหารท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองลำ พูน ใช้ เวลาขับรถแค่ไม่กี่นาที เราก็จะมาพบกับร้านอาหารสไตล์บ้านสวน ทางเข้าหน้าร้าน เล็กๆ มีซุ้มประตูไม้และ “น้ำ ต้น” หรือคนโทน้ำ ของชาวล้านนาที่มีกระบวยตักน้ำ ดื่มรอ ต้อนรับแขกที่มาเยือน ขนมเส้นหม้อดิน มาลำ พูนต้องนึกถึง 35
ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋นลำ ไย ร้าน “ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋นลำ ไย” ตั้งอยู่ใกล้กับวัดพระธาตุหริภุญชัย เพียงข้ามถนน มาฝั่งตรงข้ามวัด เดินข้ามสะพานขัวมุงท่าสิงห์ (ที่ขายของที่ระลึกและสินค้าโอท็อป ของลำ พูน) ตรงมาอีกเล็กน้อย จะเห็นร้านตั้งอยู่ทางซ้ายมือ ร้านนี้มีเมนูเด็ดอยู่ที่ ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋นลำ ไย(50-60 บาท) และความพิเศษก็คือ น้ำ ซุปที่ใช้ลำ ไยอบแห้งมาตุ๋นกับหมูพร้อมด้วยเครื่องตุ๋นยาจีนซึ่งเป็นสูตรเฉพาะของ ร้าน ใช้เวลาเคี่ยวนานกว่า 2 ชั่วโมง จึงได้น้ำ ซุปที่หวานหอมจากลำ ไยอบแห้ง บวก กับความหอมของเครื่องยาจีน ส่วนเนื้อหมูก็ตุ๋นจนเปื่อยนุ่มได้ที่ ตักใส่ชามมาพร้อม กับเนื้อลำ ไย ได้ความหวานกินอร่อยคู่กับทั้งเส้นหมี่ เส้นเล็ก เส้นใหญ่ บะหมี่ ที่เลือก ได้ตามใจ มาลำ พูนต้องนึกถึง 36
สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน ลำ พูน เป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน รวมถึงมีวัดเก่า แก่คู่บ้านคู่เมืองซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงศิลปะโบราณแห่งเมืองหริภุญชัย ได้เป็นอย่างดี วันนี้เราเลยจะชวนทุกคนไปเดินสายทำ บุญ ไหว้พระ 9 วัด ลำ พูน กราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และชมมรกดกทางวัฒนธรรมที่ สืบทอดมาจนถึงปัจจุบันกันค่ะ 37
วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหารวัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำ บลในเมือง อำ เภอเมืองพูน จังหวัดลำ พูน เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 1651 ในสมัย พระเจ้าอาทิตยราช กษัตริย์ราชวงศ์จามเทวีวงศ์องค์ที่ 32 แห่งอาณาจักรหริภุญชัย รวมๆ แล้วก็มีอายุ ยาวนานกว่า 900 เลยทีเดียวค่ะ ที่นี่เป็นที่ประดิษฐานของ พระธาตุหริภุญชัย พระ ธาตุประจำ ปีเกิดปีระกา ซึ่งบรรจุ พระบรมเกศาธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้าไว้ในโกศทองคำ โดยองค์เจดีย์พระธาตุนั้นสร้างด้วยศิลปะแบบล้านนาไทยแท้ มีลักษณะคล้ายคลึงกับ พระธาตุดอยสุเทพ ที่จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ที่ วัดพระ ธาตุหริภุญชัย ยังมีการจัด งานโคมแสนดวง ที่จะมีการประดับโคมล้านนาหลากสี อย่างสวยงามให้พวกเราได้เห็นกันในทุก วันลอยกระทง สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 38
วัดสันป่ายางหลวง วัดสันป่ายางหลวง เดิมมีชื่อว่า วัดขอมลำ โพง สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 1074 เป็น ที่ประดิษฐานพระอัฐิธาตุของ พระสารีบุตร และพระโมคคัลลาน พระสาวกขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยอายุที่ยาวนานกว่าพันปี ทำ ให้ วัดสันป่ายางหลวง มีสถาปัตยกรรมที่หลอมรวมจากหลายยุคหลายสมัย และหลากหลายวัฒนธรรม แต่ ที่โดดเด่นที่สุดก็คือศิลปะแบบหริภุญชัยอย่าง พระวิหารพระโขงเขียว หรือ พระวิหาร พุทธรัตนมหานทีศรีหริภุญชัย ที่มีรูปแกะสลักปูนปั้นที่วิจิตรงดงามประดับตกแต่งทั้ง ด้านใน และด้านนอก ทำ ให้วัดแห่งนี้เป็นหนึ่งใน 5 วัดที่สวยที่สุดในประเทศไทยเลยค่ะ สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 39
วัดจามเทวี วัดจามเทวีหรือวัดกู่กุด เป็นอีกหนึ่งวัดเก่าแก่ที่มีความสำ คัญต่อประวัติศาสตร์ ของจังหวัดลำ พูน เพราะเป็นวัดที่ พระเจ้ามหันตยศ และ พระเจ้าอนันตยศ พระ ราชโอรสของ พระนางจามเทวี ทรงโปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นเพื่อถวายพระเพริงให้แก่ พระมารดา ส่วนที่สำ คัญที่ในสุดในวัดนี้ก็คือ พระเจดีย์จามเทวี เจดีย์ยุคแรกๆ ใน ล้านนาไทย ซึ่งมีทรงเหลี่ยมแบบ พระพุทธคยา ประเทศอินเดียค่ะ แต่ละด้านมีซุ้ม ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานพร ด้านละ 15 องค์ รวมทั้งหมดเป็น 60 องค์ นอกจากนี้ พระเจดีย์จามเทวี ยังเป็นต้นแบบของ พระเจดีย์เหลี่ยม ที่จังหวัดเชียงใหม่ อีกด้วยค่ะ สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 40
วัดพระยืน วัดอริญญิการาม หรือที่เรียกทั่วไปว่า วัดพระยืน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกจาก แม่น้ำ กวงอำ เภอเมืองลำ พูน จากที่ค้บพบหลักฐานตามศิลาจารึกและบันทึก ประวัติศาสตร์ จึงสันนิษฐานได้ว่าวัดนี้มีอายุมากกว่า 600 ปีเลยทีเดียว ชื่อของ วัด พระยืน มาจากการที่มีพระยืนประดิษฐานเด่นสง่าอยู่ในวัด โดยที่มาของวัดนี้มาจาก ตำ นานที่เล่าว่า เมื่อปี พ.ศ. 1912 พญากือนา ทรงอาราธนานิมนต์ พระสุมนเถระ จากเมืองสุโขทัย เพื่อมาเชียงใหม่ ซึ่งระหว่างนั้นก็ได้เข้าพักที่ วัดพระยืน ในเมืองหริ ภุญชัย ในยามนั้นก็ได้มีพระยืนประดิษฐานอยู่ก่อนแล้ว 1 องค์ หลังจากนั้นพระสุมณะ เถระกับพญากือนาก็ได้สร้างพระยืนขึ้นอีก 3 องค์ประดิษฐานไว้ภายในวัดแห่งนี้ค่ะ ผ่านไปหลายร้อยปีก็ได้มีการบูรณะ วัดพระยืน ขึ้นมาใหม่ในปี พ.ศ. 2472 ทำ ให้ศิลปะ เก่าแก่ภายในวัดยังเป็นที่ประจักษ์ให้คนรุ่นหลังได้มาชมและกราบไหว้จนถึงทุกวันนี้ สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 41
วัดมหาวัน วัดมหาวัน หรือ วัดมหาวันวนาราม เป็นวัดเก่าแก่ที่มีอายุยาวนานถึง 1,300 ปี ซึ่งเคยเป็นพระอารามหลวงของพระนางจามเทวี แห่งนครหริภุญชัยค่ะ ที่นี่เป็นที่ ประดิษฐานของ เจดีย์วัดมหาวัน ซึ่งบรรจุ พระรอดลำ พูน หนึ่งใน 5 พระเครื่องชุด เบญจภาคีที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด เชื่อกันว่า พระรอด องค์นี้มีความสักดิ์สิทธิ์เป็นอย่าง มาก สามารถขจัดปัดเป่าสิ่งไม่ดี และคุ้มครองผู้ที่ไปกราบไหว้บูชาให้แคล้วคลาด ปลอดภัยจากอันตรายและความวิบัติต่างๆ มีเสน่ห์เมตตามหานิยม รวมถึงให้โชคให้ ลาภอีกด้วย ในอดีตเป็นที่ปลุกขวัญกำ ลังใจให้แก่ประชาชน และเหล่าทหารที่ต้องสู้รบ ในยามศึก และยังคงเป็นที่เคารพศรัทธาของผู้คนในปัจจุบันเช่นเดียวกันค่ะ สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 42
วัดพระพุทธบาทตากผ้า วัดพระพุทธบาทตากผ้า ตั้งอยู่ระหว่างดอยม่อนช้างและดอยเครือ เป็นวัดที่มี ความสำ คัญต่อจังหวัดลำ พูนเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีความเชื่อว่ามี รอย พระพุทธบาท ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และรอยตากผ้าจีวร ของ พระองค์ที่ผาหิน ซึ่งเป็นบริเวณของ วัดพระพุทธบาทตากผ้า ในปัจจุบัน นอกจากนี้ที่ นี่ยังเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาพระปริยัติธรรมและการปฏิบัติธรรมอีกด้วย จึง ทำ ให้มีพุทธศาสนิกชนจากทั่วทุกสารทิศเข้ามาทำ บุญ ปฏิบัติธรรม และสักการะสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่เมืองลำ พูนมาเป็นเวลาช้านาน สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 43
วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม เป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดใน อำ เภอลี้ จังหวัดลำ พูน ด้านหน้ามี อนุสาวรีย์พระครูบาชัยวงศา ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธาในหมู่บ้านของชาวปาเกอะญอ และชาวลำ พูน เมื่อเข้าไปในวัดก็จะมีสิ่งก่อสร้างที่สำ คัญมากมาย รวมถึง รอย พระพุทธบาทห้วยต้ม และ พระมหาธาตุเจดีย์ศรีเวียงชัย เจดีย์สีทองอร่ามที่รายล้อม ไปด้วยเจดีย์องค์เล็กๆ ทั้งหมด 16 องค์ โดยรูปทรงของเจดีย์องค์นี้ก็ได้จำ ลองมา จาก เจดีย์ชเวดากอง ที่ประเทศพม่าเพื่อน้อมกล้าวถวายเป็นพระราชกุศลให้แก่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เนื่องในโอกาสที่ พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีค่ะ สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลำ พูน 44