สทิ ธิมนุษยชน
(Human Right)
จัดทาโดย นักเรียนชนั้ ม.4/8
กลุ่มท่ี 4
คณะผู้จดั ทา 1
1. นางสาว จริ ัสยา ดไี ทย เลขท่1ี 5 ม.4/8
2. นางสาว จุฬาภรณ์ บุญมที องอยู่ เลขท่1ี 6ม.4/8
3. นาย ณัฐวุฒิ เชอื้ เพชร เลขท่2ี 1ม.4/8
4. นาย ดนุภทั ร ศรีเปรม เลขท่ี22 ม.4/8
5. นาย ทกั ษ์ดนัย พรหมอ่อน เลขท่ี 24ม.4/8
6. นาย นฤพงษ์ ต้องถอื ดี เลขท่ี27ม.4/8
7. นางสาว นันทนัช กับรัมย์ เลขท่ี28 ม.4/8
8. นาย พรี ณฐั ไชยศรีษะ เลขท่3ี 3 ม.4/8
9. วรัทยา เพ่มิ ปลิก เลขท่มี 34 ม.4/8
10. วารีรัตน์ ธงภกั ด์ิ เลขท่3ี 5 ม.4/8
11. ศิริพร แซ่เตียว เลขท่3ี 9 ม.4/8
คานา
จุดประสงค์ของการจดั ทา
จดั ทาขนึ้ เพ่อื ศึกษาเพ่ิมเต็มจากรายวิชาสังคม เพ่อื ใช้ในการศกึ ษาในทุกๆ
ระดบั ชัน้
ครัง้ ท่พี มิ พ์ พิมพ์ครัง้ ท่ี๑
ปี ท่พี ิมพ์ พ.ศ. ๒๕๖๕
สถานท่พี ิมพ์ บ้าน
2
สารบญั 1
2
คณะผ้จู ัดทา 3
คานา 4
สารบัญ 5-6
ความเป็ นมา 7
ความหมายและความสาคัญของสทิ ธิมนุษย์ชน 8
หลกั สทิ ธิมนุษย์ชนขนั้ พืน้ ฐาน 9
แนวคดิ และสาระสาคญั ของสทิ ธิมนุษย์ชน 10
องค์กรด้านสทิ ธิมนุษย์ชน 11
บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแู ห่งราชอาณาจักรไทย 12
ปัญหาการละเมิดสทิ ธิมนุษย์ชน 13-14
วฒั นธรรมท่สี ตรีมีสถานภาพด้อยกว่าบุรุษ 15
‘‘สทิ ธิ’’ต้องมาคู่ ‘‘ หน้าท่’ี ’
บรรณานุกรม
ความเป็ นมา
ภายหลงั สงครามท่2ี สนิ้ สุดลง ผ้นู าประเทศต่างๆได้ตระหนักว่า การคุ้มครอง
สิทธิมนุษย์ชนอย่างมปี ระสิทธิภาพเป็ นส่ิงสาคญั ท่จี ะก่อให้เกิดสนั ตภิ าพแลความ
เจริญก้าวหน้าขนึ้ หน้าในโลกดงั นัน้ จงึ ได้ร่วมมือกนั จดั ตงั้ องค์การสหประชาชาติ
ขนึ้ เพ่อื เป็ นองค์การโลกท่คี ุ้มครองมนุษย์ชาตใิ ห้ได้รับความเป็ นธรรมอย่างเสมอ
ภาคเท่าเทียมกนั สมชั ชาสหประชาชาตไิ ด้มีมตริ ับปฏิญญาสากลว่าด้วยสทิ ธิมนุษย์
(The Universal Declaration of Human Rights)
เม่อื วนั ท่1ี 0 ธันวาคม พ.ศ.2491 และมมี ตปิ ระกาศให้ วนั ท่1ี 0 ธันวาคมของ
ทุกปี เป็ นวนั สทิ ธิมนุษย์ชน (Human Rights Day)
ในส่วนของประเทศไทยนัน้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยท่ีใช้กนั มาใน
อดีต ได้กล่าวถวึ สทิ ธิมนุษย์ชนไว้เป็ นบางส่วน จนกระทัง้ ได้มีการประกาศใช้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศง2540 ซ่ึงเป็ นฉบบั ปัจจุบนั ได้เน้นเร่ือง
สทิ ธิมนุษย์ชนไว้ค่อนข่งจะสมบูรณ์ เช่น มาตราท่ี 4ศักด์ศิ รีของความเป็ นมนุษย์
ชน สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง
4
ความหมายและความสาคญั ของสทิ ธมิ นุษย์ชน
1. ความหมายของสทิ ธิมนุษย์
• สทิ ธิมนุษยชน คอื สทิ ธิและเสรีภาพขนั้ พนื้ ฐานท่ีเป็ นของพวกเราทุกคน ไม่
ว่าเราจะเป็ นใคร หรืออย่ทู ่ไี หนบนโลกใบนี้ ไม่ว่าคุณจะมคี วามเช่ืออะไร หรือ
ใช้ชวี ติ แบบไหนก็ตาม สทิ ธิมนุษยชนไม่สามารถถกู พรากไปได้ แต่บางครัง้
สทิ ธิมนุษยชนอาจถกู จากดั เช่น ถ้าคุณทาผิดกฎหมาย หรือกระทาการท่อี าจ
เป็ นอนั ตรายต่อความม่นั คงของชาติ ทัง้ นี้ สทิ ธิมนุษยชนนัน้ ตงั้ อย่บู นพนื้ ฐาน
ของคุณค่าความเป็ นมนุษย์ เช่น ความมศี ักด์ิศรี ความยุตธิ รรม ความเท่า
เทียม ความเคารพ และความเป็ นอสิ ระ นอกจากนีส้ ทิ ธิมนุษยชนนัน้ ไม่ได้
เป็ นเพียงแค่แนวคดิ ท่เี ป็ นนามธรรมเท่านัน้ เพราะสทิ ธิมนุษยชนคอื แนวคดิ ท่ี
ได้รับการนิยาม และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
5
2.ความสาคัญของสทิ ธิมนุษย์ชน
2.1 สทิ ธิมนุษย์ชนมคี วามสาคัญในฐานะท่เี ป็ นอารายะธรรมโลก(World
Civilization)ของมนุษย์
2.2 สิทธิมนุษย์ชนยงั มคี วามสาคัญในแง่ของการเป็ นหลกั ประกันของความป็
นมนุษย์สทิ ธิและเสรีภาพ และสภาวะโลกปัจจุบนั
2.3 สิทธิมนุษย์ชนยงั ได้ถกู นาไปใช้ในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ ระหวางประเทศ
6
หลักสทิ ธมิ นุษย์ชนขนั้ พืน้ ฐาน
•สิทธิ คือ อานาจ ความถกู ต้อง ความชอบธรรม อนั เป็ นประโยชน์ของบุคคลฃ
•สิทธพิ นื้ ฐานเป็ นสิทธิของบุคคลในฐานะท่เี ป็ นมนุษย์ (สทิ ธิมนุษย์ชน) และเป็ น
สิทธขิ องบคุ คล(สทิ ธิพลเมือง) ในฐานะท่เี ป็ นพลเมืองของประเทศตามการรับรอง
โดยกฎหมายของประเทศนัน้ ๆ
•สทิ ธิของมนุษย์ชนขนั้ พนื้ ฐาน คือส่งิ ท่ีจาเป็ นขนั้ พนื้ ฐานต่อการอย่รู อดและ
พัฒนาตวั เอง ได้แก่ :การมปี ัจจัย 4 ใช้ชวี ิตอย่างเสรีและม่นั คงปลอดภยั มีส่วน
ร่วมทางการเมอื งมีเสรีภาพในการพูดคุยแสดงความคดิ เหน็ ไม่ถกู ทรมานหรือทาร
ร้ายร่างกายไม่ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ หรือดมู ่นิ เหยยี ดยาม ได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมาย
7
แนวคดิ และสาระสาคญั ของสิทธิมนุษย์ชน
• 1.แนวคิวและสาระสาคญั เร่ืองสทิ ธิมนุษย์ชน(Human Rights) : สบื ทอด
แนวคดิ มาจาก
•สทิ ธิมนุษย์ชน(Human Rights) : สทิ ธิ เสรีภาพ ท่จี าเป็ นขนั้ พนื้ ฐานท่ที กุ คน
พงึ ได้รับอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรมในฐานะท่เี กิดมาเป็ นมนุษย์
•สทิ ธิธรรมชาติ (Natural Rights) : สทิ ธิท่ตี ดิ ตวั มาแต่กาเนิด คอื มีสทิ ธิใน
ชวี ติ ประจาวนั สทิ ธิในทรัพย์สนิ ไม่สามารถยกเลกิ หรือสญู หายไปได้โดยวธิ ีใด ๆ ก็
ตาม
• 2. สาระสาคญั ของสทิ ธิมนุษย์ชน : ปฏิญญาสากลว่าด้วยสทิ ธิมนุษย์แห่ง
สหประชาชาติ (10 ธันวาคม พ.ศ.2491 /ค.ศ.1948) กล่าวถงึ สิทธิมนุษย์ชนซ่ึง
มีสาระสาคัญด้วยกนั 4 ด้าน คือ
หลกั การสาคญั ของสิทธิมนุษย์ชน (ข้อ1-2)
สทิ ธิทางการเมอื งและสทิ ธิความเป็ นพลเมอื ง(ข้อ3-21)
สทิ ธดิ ้านสงั คม เศรษฐกิจและวฒั นธรรม(ข้อ22-27) 8
องค์กรด้านสทิ ธมิ นุษย์ชน
1. องค์กรสทิ ธิมนุษย์ชนระหว่างประเทศ
1.1 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ : มบี ทบาทในการกาหนด
หลกั การ และส่งเสริมสทิ ธิมนุษย์ชนในประเทศต่างๆ
1.2 กองทนุ สงเคราะห์ เดก็ แห่งสหประชาชาต(ิ UNICEF) : ดแู ลช่วยเหลอื เดก็
ท่วั โลก รณรงค์เพ่ืองส่งสทิ ธิเดก็ ในด้านการคุ้มครอง ด้านการศกึ ษา ด้าน
สุขภาพ
2. องค์กรสทิ ธิมนุษย์ชนในประเทศไทย
2.1 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษย์ชนแห่งชาติ
2.2 มูลนิธเิ พ่อื พฒั นาเดก็
2.3 มลู นิธิสงเคราะห์เดก็ ยากจน ซ.ี ซ.ี เอฟ.(CCF Foundation)
2.4 มูลนิธปิ วณี าหงงสกลุ เพ่ือเด็กและสตรี
บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญแู ห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550เก่ียวกับสิทธิมนุษย์ชน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยให้การคุ้มครองสทิ ธิ เสรีภาพ และหลักสิทธิ
มนุษย์ชน ไว้ดงั นี้
1. ศกั ด์ศิ รีความเป็ นมนุษย์ ความเสมอภาคของบุคคล สทิ ธิและเสรภาพในชีวิต
และร่ างกาย
2. จัดตงั้ คณะกรรมการสทิ ธิมนุษย์ชนแห่งชาติ (เป็ นองค์กรอิสระตาม
รัฐธรรมนูญ)
10
ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษย์ชน
ถ้าสงั คมสร้างวัฒนธรรมท่เี คารพสทิ ธพิ นื้ ฐานของมนุษย์ชน จะไม่มีปัญหาการ
ละเมดิ สทิ ธิมนุษย์ชน ในทางตรงกนั ข้ามถ้าสงั คมสร้างวฒั นธรรมท่ไี ม่เคารพสทิ ธิ
พืน้ ฐานของมนุษย์ จะมีปัญหาการละเมิดสทิ ธิมนุษย์ชนเกดิ ขนึ้
ปัณหาการละเมิดสทิ ธิสตรี ปัญหาการใช้แรงงานเดก็
วัฒนธรรมท่สี ตรีมีสถานภาพด้อยกว่าบรุ ุษ
•สตรีท่มี สี ถานภาพสมบูรณ์เม่อื สมรสแล้ว
•สตรีจะมีสถานภาพท่ีสงู ขึน้ ถ้ามบี ุตรโดยเฉพาะบุตรชาย
•เม่อื สามีถงึ แก่กรรมฐานะทางสังคมของสตรีกจ็ ะลดลง
•การเข้ าร่ วมกิจกรรมนอกบ้ านจะต้ องกระทาผ่ านสามี
•การสืบตระกลู ฏ้มกั จะถอื เอาบุตรชายเป็ นหลกั
•สตรีท่ไี ม่มบี ทบาทนอกบ้านพอๆกบั ท่ชึ ายไม่มีบทบาทในบ้าน
12
‘‘สทิ ธิ’’ต้องมาคู่ ‘‘ หน้าท’่ี ’
•เม่อื เราตระหนักและหวงแหนซ่งึ สทิ ธิ ท่เี ราควรจะได้รับแล้ว ส่งิ ท่สี าคญั ไม่น้อย
ไปกว่ากนั คอื การตระหนัก ถงึ หน้าท่ี ท่ีเราควรจะปัฏบิ ตั ิต่อผ้อู ่นื
•หากคนในสังคมคดิ ถงึ ใจเขาใจเรา เอาไว้ สังคมของเรากจ็ ะน่าอย่ขู นี้ อกี มาก
สิทธิพนื้ ฐานของเกษตรกร
• สทิ ธิในปัจจยั การผลิต : ท่ดี นิ แหล่งนา้ เมลด็ พนั ธ์ุ
• สทิ ธิในการกาหนดราคาผลผลติ
• สิทธิในการรับรู้ข่าวสาร
• สิทธิในการมีส่วนร่วม(การตดั สนิ ใจ)
สทิ ธิพืน้ ฐานของเดก็
•สิทธิในการมีชีวติ
•สทิ ธิในการปกป้ องคุ้มครอง
•สทิ ธิในการพัฒนา
•สิทธิมีส่ วนร่ วม
สทิ ธิพืน้ ฐานของสตรี
•สิทธิในพนื้ ท่สี าธารณะ
oการเมือง การปกครอง
oการประกอบอาชีพนอกบ้าน
•สิทธิในการทาหน้าท่ตี ามธรรมชาต(ิ การเป็ นแม่)
•สทิ ธิในการตดั สินใจ การมีอานาจต่อรอง 14
ศึกษามาจาก บรรณนานยุกรรม
http://www.ohchrg/EN/HRBodies/UPR/Pages/UPRMain.aspx
http://www.mfa.go.th/humanrights
http://www.siamintelligence.com/universal-periodic-review/
กระทรวงการต่างประเทศ คณะมนตรีสทิ ธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ สยาม อินเทลลิ
เจนช์ ยูนิต
15