The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข.2 แผนการจัดการเรียนรู้_โรงเรียนบ้านคลอง 23

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kornkamol.ssru, 2022-03-12 08:04:52

แผนการจัดการเรียนรู้

ข.2 แผนการจัดการเรียนรู้_โรงเรียนบ้านคลอง 23

แผนการจัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ
(Active Learning)

โรงเรยี นบ้านคลอง 23

กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6

โครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการพัฒนาท้องถ่ินโดยมสี ถาบันอุดมศกึ ษา
เป็นพ่เี ลยี้ งของเครือขา่ ยเพ่ือการพัฒนาอุดมศกึ ษา

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนการจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning)
โรงเรียนบา้ นคลอง 23

หนว่ ยการเรยี นรู้ วนุ้ รักสุขภาพ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 8 ชว่ั โมง

ครั้งท่ี กิจกรรมการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)

1 สำรวจและ ประเมนิ ทักษะก่อนการเรยี นรู้ (Pre-test) 2

ศกึ ษาพชื ท้องถ่นิ พืชมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ของปัจจัยสี่ คือ

เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค

พืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะภายนอกบางอย่าง

ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน ทั้งราก ลำต้น ใบ ดอก

ผล และเมล็ดที่มีหน้าที่แตกต่างกัน และมีการปรับตัว

ไปตามบริบทของท้องถิ่น ดงั น้นั ในการสำรวจพืชแต่ละ

ชนิดในท้องถิ่นจะสามารถนำข้อมูลมาเปรียบเทียบได้

รูปแบบของตาราง โดยใช้อินเทอร์เน็ต และสื่อ

ออนไลน์เพือ่ สบื คน้ ขอ้ มูลท่ีเกีย่ วข้องไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ

2 ออกแบบแมพ่ ิมพ์ว้นุ พชื ในทอ้ งถิ่นมสี ่วนประกอบทัง้ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล 2

จากพืชท้องถ่นิ และเมล็ดที่มีลักษณะ ขนาด รูปร่างแตกต่างกัน

ส่วนประกอบของพืชท้องถิ่นที่มีความแข็งแรง คงทน

สามารถนำมาปรับใช้เป็นแม่พิมพ์วุ้นได้ โดยใช้

อินเทอร์เน็ต และสื่อออนไลน์เพื่อสืบค้นข้อมูลที่

เกี่ยวข้องไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

3 การทำว้นุ วุ้น เป็นขนมที่นิยมกินเป็นอย่างมาก เพราะสามารถ 2

ทำได้ง่าย ในการทำวุ้นสามารถใช้พืชในท้องถิ่นมา

ประยุกต์เป็นส่วนผสมได้ ซึ่งจะต้องคำนึงถึงปริมาณ

ของส่วนผสมที่ได้จากการชั่ง ตวง วัด โดยใช้เครื่องมือ

ที่เหมาะสม เพื่อให้ได้สารอาหารที่สมบูรณ์และมี

สัดส่วนเหมาะสมกับเพศ วัย และความปลอดภัยใน

ชีวิตของผู้บริโภค โดยสามารถนำอินเทอร์เน็ต และ

สื่อออนไลน์มาใช้ เพื่อสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้อย่าง

มคี ณุ ภาพ

ครัง้ ท่ี กจิ กรรมการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลา (ช่ัวโมง)

4 การออกแบบ ประเมินทักษะหลงั การเรียนรู้ (Post-test) 2

บรรจุภัณฑ์ ในการสร้างแพคเกจบรรจุอาหารสามารถใช้วัสดุได้

จากพืชท้องถ่นิ หลากหลายตามวัตถุประสงค์การใช้งาน โดยจะต้อง

คำนึงถึงสมบัติของวัสดุ และคุณค่าของการนำวัสดุมา

ใช้ ในการออกแบบสามารถนำลักษณะของรูป

หลายเหลี่ยม วงกลม และวงรี มาสร้างสรรค์ได้

แพคเกจอย่างหลากหลาย ซึ่งจะต้องเลือกใช้วัสดุ

อุปกรณ์ และเครอื่ งมอื ในการทำงานอย่างเหมาะสมกับ

งาน และประหยัด โดยสามารถนำอินเทอร์เน็ต และ

สื่อออนไลน์มาใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้อย่าง

มีคณุ ภาพ

แผนการจัดการเรียนรู้การจัดการเชิงรกุ (Active Learning)

โรงเรยี นบ้านคลอง 23 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรียนรู้ วนุ้ รักสขุ ภาพ เวลา 8 ชั่วโมง

******************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

วทิ ยาศาสตร์ (S)

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า

และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน

สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้ง

นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ว 1.2 ป 4/1 บรรยายหนา้ ทีข่ องราก ลำตน้ ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มูลที่รวบรวมได้

มาตรฐาน ว.2.1 เข้าใจสมบัติสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร
กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกดิ สารละลายและการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

ว 2.1 ป 3/2 อธิบายการเปลีย่ นแปลงของวัสดุเม่ือทำให้รอ้ นขึ้นหรือทำใหเ้ ย็นลง โดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจักษ์

ว 2.1 ป 4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพดา้ นความแขง็ สภาพยืดหยุ่น การนำความรอ้ น และ
การนำไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง
สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผ่านกระบวนการ
ออกแบบชนิ้ งาน

เทคโนโลยี (T)
มาตรฐาน ว.4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่าง
เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และ
การแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ท่ากันและมจี ริยธรรม
ว 4.2 ป 6/3 ใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการค้นหาขอ้ มลู อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

วศิ วกรรมศาสตร์ (E)
ออกแบบ ตัดสินใจสรา้ ง ทดสอบและประเมนิ ผลสง่ิ ประดิษฐต์ ามสิง่ ทีโ่ จทยก์ ำหนด

คณิตศาสตร์ (M)
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ
นำไปใช้
ค 2.1 ป.3/11 เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร
และมลิ ลลิ ิตร

มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้

ค 2.2 ป.6/1 ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ปี ระกอบดว้ ยทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ัญหา
ค 3.1 ป.4/1 ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นักเรยี นสามารถระบุปัญหาและเงอ่ื นไขจากสถานการณท์ ่ีกำหนดได้
2. นกั เรยี นสามารถอธิบายลักษณะของพชื สมนุ ไพรในท้องถน่ิ ได้
3. นักเรยี นสามารถทดลองและอธิบายการทำวนุ้ รกั สขุ ภาพได้
4. นักเรียนสามารถออกแบบ และวางแผนการทำวุ้นรักสุขภาพภายใต้วัสดุอุปกรณ์ และเวลาที่

กำหนดได้
5. นักเรยี นสามารถทำวุ้นรกั สขุ ภาพใหส้ ำเร็จลุล่วงตามเง่อื นไขทีก่ ำหนดได้

สาระสำคัญ
วทิ ยาศาสตร์ (S)
1. สว่ นประกอบของพชื
พืชประกอบด้วยอวัยวะที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต ได้แก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และ

เมล็ด ซึ่งอวัยวะแต่ละส่วนของพืชนั้นมีหน้าที่และส่วนประกอบแตกต่างกัน แต่ทำงานเกี่ยวข้องและ
สัมพันธ์กันหากขาดอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งไป อาจทำให้พืชนั้นผิดปกติหรือตายได้ และยังมีปัจจัย
บางประการทจ่ี ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

ภาพท่ี 1 สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของพืช

ราก เป็นอวัยวะที่เป็นส่วนประกอบของพืชที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ ไม่มีข้อ ปล้อง ตาและใบ
รากเจริญเติบโตตามแรงดึงดูดของโลกลงสู่ดิน มีขนาดและความยาวแตกต่างกัน รากของพืชมีหลายชนิด
ได้แก่ รากแก้ว เป็นรากที่งอกออกมาจากเมล็ด โคนของรากแก้วจะมีขนาดใหญ่แล้วค่อย ๆ เรียวไปจนถึง
ปลายราก รากแขนง เป็นรากที่แตกออกมาจากรากแก้ว จะเจริญเติบโตขนานไปกับพื้นดิน และสามารถ
แตกแขนงไปได้เรื่อย ๆ รากฝอย เป็นรากที่มีลกั ษณะและขนาดโตสม่ำเสมอกัน จะงอกออกมาเป็นกระจกุ
และรากขนอ่อนหรือขนราก เป็นขนเสน้ เล็ก ๆ จำนวนมากมายที่อยู่รอบ ๆ ปลายราก ทำหนา้ ที่ดูดน้ำและ
แร่ธาตุ หน้าที่ของราก มีดังนี้ ยึดลำต้นให้ติดกับพื้นดิน ดูดน้ำและธาตุอาหารที่ละลายน้ำจากดิน แล้ว
ลำเลียงขึ้นไปยังสว่ นต่างๆ ของพืช โดยผา่ นทางลำตน้ หรอื ก่งิ

ลำต้น เป็นอวัยวะของพืชที่โดยทั่วไปเจริญอยู่เหนือพื้นดินต่อจากราก มีขนาด รูปร่าง
และลักษณะแตกต่างกันไป ลำต้นมที ง้ั ลำต้นอยู่เหนือดิน เช่น มะละกอ มะมว่ ง มะนาว ชมพู่ เป็นต้น และ
ลำต้นอยู่ใต้ดิน เช่น ขิง ข่า ขมิ้น กล้วย หญ้าแพรก พุทธรักษา เป็นต้น ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน
ได้แก่ ขอ้ ปล้อง และตา หนา้ ที่ของลำต้น มีดังนี้ เป็นแกนช่วยพยงุ อวัยวะตา่ งๆ ได้แก่ ก่ิง ใบ ดอก ผล และ
เมล็ด ช่วยให้ใบกางออก รับแสงแดดเพื่อประโยชน์ในการสร้างอาหาร โดยวิธีการสังเคราะห์ด้วยแสง
เป็นทางลำเลียงน้ำและแร่ธาตุที่รากดูดขึ้นมาส่งต่อไปยังใบและส่วนต่างๆ ของพืช และเป็นทางลำเลียง
อาหารทใี่ บสร้างขึน้ สง่ ผ่านลำตน้ ไปยงั รากและส่วนอื่น ๆ

ใบ คือ อวัยวะของพชื ท่เี จริญออกมาจากข้อของลำตน้ และก่ิง ใบสว่ นใหญจ่ ะมสี ารสีเขียว
เรียกวา่ คลอโรฟิลล์ ใบมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไปตามชนดิ ของพืช ใบประกอบด้วย ก้านใบ แผ่นใบ
เส้นกลาง และเสน้ ใบ หน้าทีข่ องใบ มีดังน้ี สร้างอาหาร ใบของพืชจะดูกแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์เพื่อนำไป
สร้างอาหาร เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชว่า การสังเคราะห์ด้วยแสง คายน้ำ พืชคายน้ำทาง
ปากใบ และหายใจ ใบของพืชจะดดู แกส๊ ออกซเิ จนและคายแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

ดอก คือ อวัยวะสืบพันธุ์ของพืช ทำหน้าที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ท่ีเกิดมาจากตาชนิด
ตาดอกที่อยู่ตรงบริเวณปลายยอด ปลายกง่ิ บรเิ วณลำตน้ ตามแต่ชนิดของพชื ดอกประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ
4 ส่วน แต่ละส่วนจะเรียงเป็นชั้นเป็นวงตามลำดับจากนอกสุดเข้าสู่ด้านใน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร
เพศผู้ และเกสรเพศเมยี หน้าที่ของดอก มีดังน้ี ช่วยลอ่ แมลงให้มาผสมเกสร และทำหนา้ ทผี่ สมพนั ธุ์

ผล (fruit) คือรังไข่ที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว (mature ovary) รังไข่ดังกล่าวอาจเจริญ
เปล่ยี นแปลงมาภายหลังการปฏสิ นธิ ซึ่งจะมเี มลด็ อย่ภู ายในหรือเจรญิ มาโดยไมไ่ ด้รบั การปฏิสนธิ

เมล็ด (Seed) ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ เปลือกหุ้มเมล็ด ต้นอ่อน และอาหารสำหรบั
เลยี้ งต้นออ่ น

2. การเปลยี่ นแปลงของสารเมอื่ ถกู ความรอ้ น
การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลย่ี นแปลง ทางกายภาพ เมือ่ เพิ่มความร้อนให้กับ

สสารถึงระดับหนึ่งจะทำให้สสารที่เป็นของแข็งเปลี่ยน สถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว
และเมื่อเพิ่มความร้อนต่อไปจนถึงอีกระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแก๊ส เรียกว่า การกลายเป็นไอ
แต่เมื่อลดความร้อนลงถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น
และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึง ระดับหน่ึงของเหลวจะเปล่ยี นสถานะเปน็ ของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว
สสารบางชนิดสามารถ เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่าน การเป็นของเหลว เรียกว่า
การระเหิด ส่วนแก๊ส บางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลวเรียกว่า
การระเหดิ กลับ

การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงานหรือคาย
พลังงานตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงสถานะของสารที่พบในชีวิตประจำวันได้แก่นำ้ แข็งหลอมเหลวกลายเป็น
น้ำและน้ำได้รับความร้อนกลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อนในทางตรงกันข้าม
เมอ่ื ไอนำ้ เปล่ยี นสถานะกลบั มาเป็นนำ้ และนำ้ แขง็ เปน็ การเปล่ียนแปลงประเภทคายความร้อน

3. วสั ดุ
สิ่งของต่าง ๆ บางอย่างทำจากวัสดุชนิดเดียวกัน บางอย่างทำจากวัสดุต่างชนิดกัน

บางอย่างทำจากวัสดุเพียงชนิดเดียว แต่บางอย่างทำจากวัสดุหลายชนิด สมบัติของวัสดุมีหลายประการ
ดังนี้

1. ความยืดหยุ่น หมายถึง ลักษณะที่วัตถุสามารถกลับคืนสู่รูปทรงเดิมได้หลังจากแรงที่มา
กระทำต่อวัตถุนั้นหยุดกระทำความยืดหยุ่นเป็นสมบัติประการหนึ่งของวัสดุ วัสดุบางชนิดมีสมบัติ
ความยืดหยุ่น แต่วัสดุบางชนิดไม่มีสมบัติความยืดหยุน่ ตัวอย่างเช่น วัสดุที่มีความยดื หยุ่นคอื แถบลูกโปง่
ซึ่งทำจากยาง เพราะเมื่อเราดึงแถบลูกโป่ง แล้วแถบลูกโป่งจะยืดตัวออกไปได้ และเมื่อปล่อยแรงตึง
ปรากฏว่า แถบลูกโป่งกลับสู่สภาพเดิมได้อีก แต่แถบพลาสติกเมื่อเราออกแรงดึงแล้ว สามารถยืดตัว
ออกไปได้ แต่เมื่อเราปล่อยแรงดึง แถบพลาสติกจะไม่กลับคืนสู่สภาพเดิม ส่วนแถบผ้าไม่สามารถ
ยืดตวั ออกได้เมือ่ เราออกแรงดงึ

2. ความแข็ง หมายถึง ความทนทานต่อการตัด และการขูดขีดของวัสดุ วัสดุที่มีความแข็งมาก
จะสามารถทนทานต่อการขีดข่วนได้มาก และเมื่อถูกขีดข่วนจะไม่เกิดรอยบนวัสดุชนิดนั้นซึ่งเราสามารถ
ตรวจสอบสมบตั ิความแข็งของวสั ดุได้ โดยการนำวสั ดมุ าขูดขีดกนั เพอ่ื หาความทนทานตอ่ การขีดข่วนได้

3. ความเหนียว หมายถงึ ลักษณะทด่ี ึงขาดยาก ไม่หกั ไม่ขาด เม่อื ถูกดึง ยดึ ทุบ ตี เพือ่ ให้มรี ูปร่าง
เปลี่ยนไปจากเดมิ ความเหนียวเป็นสมบัติของวัสดุบางชนดิ ซึ่งทำให้วัสดุชนิดนั้นสามารถนำมาเปลี่ยนเป็น
รูปร่างต่าง ๆ ได้ตามความต้องการของผู้นำวัสดุนั้นมาใช้ เช่น ดินน้ำมันและดินเหนียวมีสมบัติ
ด้านความเหนียว แต่ดินทรายไม่มีความเหนียวเนื่องจากดินเหนียวเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในบางท้องถิ่น
คนเราจึงนิยมนำมาปั้นเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ โอ่ง กระถาง ก้อนอิฐ เป็นต้น การนำดินเหนียวมาปั้น
เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เมื่อขึ้นรูปดินเหนียวเป็นผลิตภัณฑ์ตามต้องการแล้วจึงนำมาตกแต่งรายละเอียดอีก
คร้งั หน่งึ จากนนั้ กน็ ำเขา้ เตาเผา เพอื่ ใหผ้ ลติ ภัณฑค์ งรปู นอกจากดินเหนยี วแล้ว วัสดุอกี ชนดิ หน่งึ ท่มี สี มบัติ
ความเหนียว คือ โลหะต่าง ๆ เช่น ทองคำ เงนิ เหล็ก ดีบุก การเปลย่ี นรูปโลหะตอ้ งใชค้ วามร้อน เม่ือโลหะ
ร้อนจึงสามารถนำมาตีแผ่ให้เป็นแผ่นหรือรีดให้เป็นเส้นได้ โดยไม่แตกเป็นผงหรือหักทองคำ และเงิน
เป็นโลหะทน่ี ยิ มนำมาทำเปน็ เครื่องประดับชนิดต่าง ๆ เชน่ สร้อย แหวน กำไล ต่างหู

4. การนำความร้อน หมายถึง การถ่ายเทพลังงานความร้อนจากอนุภาคหนึ่งสู่อนุภาคหนึ่ง และ
ถ่ายทอดกันไปเรื่อย ๆ ภายในเนื้อของวัตถุ วัสดุแต่ละชนิดสามารถนำความร้อนได้แตกต่างกัน วัสดุที่นำ
ความร้อนได้ดี จะถ่ายเทพลังงานความร้อนได้เร็ว และมาก เมื่อวัสดุชนิดนั้นได้รับความร้อนที่บริเวณใด
บรเิ วณหนึ่ง จะถ่ายโอนความรอ้ นไปสบู่ รเิ วณอ่นื ดว้ ย

5. การนำไฟฟ้า หมายถึง สมบัติในการยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่านได้ วัสดุบางชนิดมีสมบัติใน
การนำไฟฟ้า คือ ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี แต่วัสดุบางชนิดไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้
จึงสามารถนำสมบตั ิการนำไฟฟา้ ของวัสดุมาใชใ้ นการผลิตอุปกรณต์ ่าง ๆ ได้

6. ความหนาแน่น หมายถึง ปริมาณสารที่มีอยู่ใน 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นสมบัติ
เกี่ยวกับเนื้อของวัตถุ วัสดุที่มีเนื้อแน่นจะมีความหนาแน่นมากกว่าวัสดุที่มีเนื้อโปร่ง ถ้านักเรียนสังเกต
เนอื้ ของฟองน้ำ จะสังเกตเหน็ รูพรนุ แตถ่ า้ สงั เกตเน้ือของไม้ อิฐ นอต และดนิ เหนียว จะสังเกตเห็นว่าเป็น
เนื้อเดียวกัน ไม่มีรูพรุนแทรกอยู่ ถ้านำฟองน้ำ ไม้ อิฐ นอต และดินเหนียวไปลอยน้ำ วัตถุที่ลอยน้ำได้ คือ
ฟองน้ำ และไม้ส่วนอิฐ นอต และดินเหนียวจะจมน้ำ เพราะฟองน้ำและไม้ มีเนื้อโปร่ง มีความหนาแน่น
น้อย จึงทำให้น้ำหนักน้อย ทำให้สามารถลอยน้ำได้ ส่วนอิฐ นอต และดินเหนียว มีเนื้อแน่น
จงึ มคี วามหนาแนน่ มาก ทำให้มนี ำ้ หนกั มากจงึ จมน้ำ

ชนดิ ของวัสดุ สมบัตขิ องวสั ดุ การใช้ประโยชน์
ยาง มคี วามยืดหยุ่นสูง - นำมาทำของเล่นเด็ก สายยาง ยางรัดของ
ยางรถยนต์
โลหะ เช่น เหล็ก มีความแข็ง ทนทาน - ใชท้ ำวสั ดกุ ่อสร้าง อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ช่าง ๆ
เหลก็ กล้า

ชนดิ ของวสั ดุ สมบัตขิ องวสั ดุ การใช้ประโยชน์
ดินเหนยี ว มคี วามเหนียว - ดินเหนยี วใช้ป้ันภาชนะต่าง ๆ เช่น โอง่
โลหะ เช่น เหล็ก รดี เปน็ เส้น ตีเปน็ แผ่นได้ - โลหะใชท้ ำมีด เส้นลวด มงุ้ ลวด
โลหะ เชน่ อลูมเิ นียม นำความร้อนไดด้ ี - ใชท้ ำภาชนะหุงตม้ เชน่ กระทะ หม้อ ลังถึง
พลาสตกิ ไม่นำความร้อน - ใช้ทำหูหมอ้ หกู ระทะ ดา้ มทพั พี
โลหะ เชน่ ทองแดง นำไฟฟา้ ไดด้ ี - ใชท้ ำอุปกรณ์ไฟฟา้ เช่น สายไฟ
พลาสตกิ ไมน่ ำไฟฟ้า - ใช้ทำส่วนประกอบของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
เพื่อป้องกันไฟฟ้าดดู เชน่ ใชห้ มุ้ สายไฟ
กระดาษ มคี วามแข็ง ที่หุม้ ปลกั๊ ไฟ สวิตซ์ไฟ
แต่มคี วามเหนยี วและ - ผลติ ภัณฑท์ ีท่ ำจากกระดาษ เชน่ ถุงกระดาษ
ความยดื หยุ่นน้อย แผ่นรองแก้ว
ไมน่ ำไฟฟ้า
ไมน่ ำความรอ้ น

การงานอาชพี และเทคโนโลยี (T)
บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีข้อมูลอยู่อย่างมากมาย มีหลายประเภท ในการสืบค้นข้อมูลด้วย
วิธีทั่วไปจะทำได้ช้าระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจึงมีโปรแกรมช่วยค้นหาข้อมูล ซึ่งจะอยู่ในเว็บไซต์ค้นหา
ขอ้ มลู (Search Site) ในเว็บไซต์เหล่านจ้ี ะจดั เก็บข้อมลู ไว้เป็นหมวดหมู่ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. โปรแกรมค้นหา (Search Engine) เป็นการค้นหาข้อมูลอัตโนมัติ เหมาะกับการค้นหาข้อมูล
แบบเฉพาะเจาะจง เชน่ Yahoo, Lycos, Google ฯลฯ
2. สารบบค้นหา (Search Directory) เป็นเว็บไซต์ที่ค้นหาข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่แบบกว้าง ๆ
เช่น Yahoo, Sanook ฯลฯ
การบันทึกข้อมูลจากเว็บเพจ
ในการสืบค้นข้อมูลในระบบอินเตอร์เน็ตมีความจำเป็นที่จะต้องจัดเก็บข้อมูล โดยการบันทึกลง
ฮาร์ดดสิ กห์ รือแผ่นดสิ เกต็ มีวธิ กี ารทาดังตอ่ ไปนี้
1. เข้าโปรแกรม Internet Explorer และเขา้ เว็บไซตท์ ่ตี ้องการ
2. คลกิ เมนู File จะมกี รอบคาสัง่ แสดงออกมา
3. เลอื กคาสงั่ Save as จะมกี รอบโต้ตอบแสดงออกมา
4. เลือก Drive ทตี่ ้องการจะจดั เกบ็ ข้อมลู จากเว็บเพจ ทีช่ ่อง Save in
5. พมิ พช์ อื่ แฟม้ ข้อมูลในช่อง File name
6. กดปุ่ม Save
การสบื คน้ ขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ น็ต

ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอย่างนี้
ไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่าย ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่
เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูล
มีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและ ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และ
อาจหาขอ้ มูลทเ่ี ราตอ้ งการไม่พบ การท่เี ราจะค้นหาขอ้ มูลให้พบอย่างรวดเรว็ จงึ ต้องพง่ึ พา Search Engine
Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่าง ๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบ
หัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้น ๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา
เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้
ทันที

วิธีใช้อนิ เทอร์เนต็ อย่างปลอดภยั
1. เกบ็ รักษาขอ้ มลู ส่วนบุคคล ใหป้ ลอดภยั อยเู่ สมอ
2. เปิดการต้งั ค่าความเปน็ ส่วนตัวของคุณไว้
3. เลอื กเว็บเบราว์เซอร์ทปี่ ลอดภยั
4. ตรวจสอบว่าการเช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ตของคณุ มคี วามปลอดภัย
5. ระวังสิ่งทีค่ ณุ ดาวนโ์ หลด
คณิตศาสตร์ (M)
1. การชงั่ ตวง
การชัง่ คอื การวดั นำ้ หนกั คน สตั ว์ สิ่งของ โดยใชเ้ คร่ืองชง่ั ชนดิ ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ได้แก่
เครื่องชงั่ สปรงิ เครอื่ งชง่ั ขนาดใหญ่ เคร่อื งชัง่ น้ำหนักคน เครื่องช่ังสองแขน และเครื่องช่งั คานเดี่ยว ในการ
ชั่งมหี นว่ ยนำ้ หนกั ในมาตรฐานในระบบเมตรกิ ทนี่ ิยมใชแ้ ละเปรียบเทยี บ ได้แก่
1) หนว่ ยทใี่ ช้ในทางราชการ คือ

1,000 กรัม เป็น 1 กโิ ลกรัม (กก.)
1,000 กิโลกรัม เป็น 1 เมตริกตนั
2) หน่วยที่ใชท้ ัว่ ไปในตลาดการค้า คอื
1 กโิ ลกรัม มี 1,000 กรมั
1 กิโลกรัม มี 10 ขีด (เฮกโตกรัม)
1 ขีด มี 100 กรมั (ก.)
3) หนว่ ยวัดน้ำหนักโลหะทม่ี คี ่า เช่น ทอง นาก เงิน คือ
1 บาท มี 15 กรัม
การตวง คือ การวัดปริมาณหรือความจุของสิ่งของต่าง ๆ โดยใช้เครือ่ งตวงชนิดต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ตอ้ ง
เลือกให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะตวง เครื่องตวง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ เครื่องตวงที่ไม่เป็นมาตรฐาน เป็น
เครื่องตวงที่แต่ละคนกำหนดขึ้นใช้เองตามความต้องการท่ีจะใช้งาน และเครื่องตวงมาตรฐาน เป็นเครื่อง

ตวงซึ่งทางราชการยอมรบั ว่าหน่วยท่ใี ชใ้ นการตวงน้ันมีความจุเท่ากันทุกเครื่อง เช่น ถัง ลิตร ถ้วยตวง ชอ้ น

ตวง โดยวิธีการตวง มีหลายวิธีข้นึ อยู่กับลกั ษณะของสง่ิ ทีจ่ ะตวง ดงั น้ี

1) วธิ ีการตวงของเหลว เชน่ น้ำ นำ้ มัน ให้ใส่ของเหลวเต็มเครอ่ื งตวงพอดี ไม่ล้นหรือไมข่ าด

2) วิธกี ารตวงของละเอียด เชน่ แป้ง นำ้ ตาลทราย ข้าวสาร เกลอื ตวงให้เสมอปากเคร่ืองตวง

3) วิธกี ารตวงของหยาบ เช่น ถ่าน แห้ว กระจบั ให้ใสข่ องที่จะตวงจนพนู ขอบเครอ่ื งตวง เน่อื งจาก

ของหยาบจะกา่ ยกันในเคร่อื งตวงทำใหม้ ีช่องวา่ งภายในจึงต้องตวงให้พนู ชดเชยช่องวา่ ง

หน่วยตวงมาตรฐานที่นิยมใช้กันทั่วไป ในชีวิตประจำวันของคนไทย ได้แก่ มิลลิลิตร ลิตร ถัง

เกวยี น ถ้วยตวง ชอ้ นโตะ๊ และชอ้ นชา โดยมีการเปรียบเทียบหนว่ ยตา่ ง ๆ ไวด้ งั น้ี

1,000 มิลลิลติ ร (มล.) = 1 ลิตร (ล.)

20 ลติ ร = 1 ถัง

100 ถัง = 1 เกวียน

1 ถว้ ยตวง = 8 ออนซ์ หรอื 16 ชอ้ นโต๊ะ

1 ชอ้ นโตะ๊ = 3 ช้อนชา

1 มิลลิลติ ร = 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร (ลบ.ซม.)

2. การสรา้ งรูปสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก
การสรา้ งรปู ส่ีเหล่ยี มจตั รุ ัส
วิธีที่ 1 โดยใชว้ งเวยี น

ภาพท่ี 2 การสรา้ งรูปสีเ่ หล่ยี มจตั รุ ัสโดยใช้วงเวียน
ขน้ั ตอนการสร้าง
กำหนดให้ AB เป็นความยาวของดา้ นส่ีเหลย่ี มจัตรุ ัส
- สร้างเส้นตั้งฉากที่จุด A ได้ FA ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี AB
เขยี นสว่ นโคง้ ตดั กับเสน้ ตงั้ ฉาก FA ที่จุด C
- ที่จุด B และจุด C กางวงเวียนรัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด D ลากเส้น CD
และ BD จะได้สีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส

วิธที ่ี 2 โดยใช้บรรทัดสามเหล่ยี ม

ภาพท่ี 3 การสร้างรปู สเ่ี หลี่ยมจตั ุรสั โดยใช้บรรทดั สามเหลี่ยม
ข้ันตอนการสรา้ ง
กำหนดให้ AB เปน็ ความยาวของด้านสีเ่ หล่ียมจตั ุรสั
- ใช้บรรทดั สามเหล่ียม 45 องศา สร้างเสน้ ตรง AC และ BD ทำมุม 45 องศา
- ใช้บรรทัดสามเหลี่ยมสร้างเส้นตรง AD และ BC ตั้งฉากกับเส้นตรง AB โดยเส้นตรง
AD ตัดกับเส้นเอยี ง BD ท่ีจุด D และเส้นตรง BC ตดั กบั เส้นเอียง AC ท่จี ุด C
- ลากเส้นตรง DC จะไดส้ เี่ หลีย่ มจตั รุ ัสตามต้องการ

3. การอา่ นคา่ ตารางสองทาง
ตารางสองทางเกี่ยวข้องกับการแสดงรายการค่าหรือระดับทั้งหมดสำหรับตัวแปรเชิง

หมวดหมู่สองตัวแปร ค่าทั้งหมดของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งแสดงอยู่ในคอลัมน์แนวตั้ง ค่าของตัวแปรอื่นจะ
แสดงตามแถวแนวนอน หากตัวแปรตัวแรกมีค่า mและตัวแปรที่สองมีค่า n ดังนั้นจะมีรายการ mn
ทั้งหมดในตาราง แต่ละรายการเหล่านี้สอดคล้องกับค่าเฉพาะสำหรับแต่ละตัวแปรทั้งสองตามแต่ละแถว
และตามแต่ละคอลัมน์รายการจะถูกรวม ผลรวมเหล่านี้มีความสำคัญเมื่อพิจารณาการแจกแจงส่วนขอบ
และแบบมเี งื่อนไข

ตวั อยา่ งตารางสองทาง
ตอ้ งการสร้างตารางสองทางเพ่ือพิจารณาวา่ มีความแตกต่างระหว่างเพศชายและหญิงใน
หลกั สูตรใดบ้าง เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายน้ีเราจะนับจำนวนตัวอักษรแต่ละเกรดที่สมาชิกของแต่ละเพศได้รับ
สังเกตว่าตวั แปรหมวดหมู่แรกคือเพศและมคี ่าที่เป็นไปไดส้ องคา่ ในการศึกษาเพศชายและเพศหญงิ ตัวแปร
หมวดหมู่ที่สองคือเกรดตัวอักษรและมีค่าห้าค่าที่กำหนดโดย A, B, C, D และ F ซึ่งหมายความว่าจะมี
ตารางสองทางที่มี 2 x 5 = 10 รายการบวกดว้ ยแถวเพ่ิมเติมและคอลัมน์เพิ่มเติมท่จี ำเป็นในการจัดตาราง
ผลรวมของแถวและคอลัมน์
ตารางสองทางช่วยในการจัดระเบียบข้อมูลของเราเม่ือเรามีตัวแปรเชิงหมวดหมู่สองตัว
แปร ตารางนี้สามารถใช้เพื่อช่วยในการเปรียบเทียบระหว่างสองกลุ่มที่แตกต่างกันในข้อมูลของเรา
ตัวอย่างเชน่ เราสามารถพจิ ารณาประสิทธิภาพสัมพัทธ์ของเพศชายในหลักสตู รสถติ ิเทียบกับประสิทธิภาพ
ของเพศหญิงในหลกั สตู ร

ตารางท่ี 1 ตารางสองทางสำหรบั เกรดและเพศ รวม
ชาย หญงิ 110
140
ก 50 60 150
ข 60 80 90
ค 100 50 50
ง 40 50 540
ฉ 30 20
รวม 280 260

ทักษะในศตวรรษท่ี 21
1. ทักษะด้านการคิดวเิ คราะห์
2. ทกั ษะดา้ นการร่วมมอื

คณุ ธรรมจริยธรรม/คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝเ่ รียนรู้
2. มุง่ ม่ันในการทำงาน

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

บรู ณาการกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

3 ห่วง 1.ความพอประมาณ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมได้อย่างประหยัดคุ้มค่า
2 เง่อื นไข และเหมาะสม
2. ความมเี หตุผล ใช้วัสดุ อุปกรณ์ถูกต้องตามคุณสมบัติและเหมาะสมกับ
การทำกิจกรรมใหป้ ระสบความสำเร็จ
3. การภมู ิค้มุ กนั ตวั ทีด่ ี สามารถนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรม
เพือ่ นำไปสู่การสร้างอาชพี ในชวี ิตจริงได้
1.ความรู้ มีความร้คู วามเข้าใจ และหมน่ั สืบค้นขอ้ มลู ท่เี กย่ี วขอ้ ง
2.คณุ ธรรม มีความใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นที่จะสร้างชิ้นงานให้ประสบ
ความสำเรจ็ ตามแผนที่วางไว้

บูรณาการเชอ่ื มโยงสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี T

S วทิ ยาศาสตร์ (Science) (Technology)

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสง่ิ มชี วี ิต หน่วยพ้นื ฐาน มาตรฐาน ว.4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณใน
ของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
ของสัตว์และมนุษย์ท่ที ำงานสัมพนั ธ์กนั ความสมั พันธ์ของ
โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงาน เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
สมั พนั ธ์กนั รวมทั้งนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
ว 1.2 ป 4/1 บรรยายหนา้ ทขี่ องราก ลำต้น ใบ และดอก การเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มูลที่รวบรวมได้
ประสทิ ธภิ าพ ร้เู ทา่ กันและมจี รยิ ธรรม

ว 4.2 ป 6/3 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่าง

มปี ระสิทธิภาพ

กิจกรรม
สำรวจและศึกษาพืชท้องถ่นิ

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

M คณติ ศาสตร์ (Mathematic) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) E

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ ออกแบบ ตัดสินใจสรา้ ง ทดสอบและประเมินผล
ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ส่งิ ประดิษฐต์ ามส่งิ ทโ่ี จทยก์ ำหนด
ค 3.1 ป.4/1 ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางใน
การหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา

S วทิ ยาศาสตร์ (Science) การงานอาชีพและเทคโนโลยี T

มาตรฐาน ว 2.1 ป 3/2 อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงของวัสดุ (Technology)
เมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ มาตรฐาน ว.4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณใน
ว 2.1 ป 4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความ
แข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและ
ระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
ความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
ผ่านกระบวนการออกแบบช้ินงาน การเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ กนั และมีจริยธรรม

ว 4.2 ป 6/3 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่าง

มีประสิทธภิ าพ

กิจกรรม
ออกแบบแม่พิมพ์วุ้น
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

M คณิตศาสตร์ (Mathematic) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) E

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ิ ออกแบบ ตดั สนิ ใจสรา้ ง ทดสอบและประเมินผล
ของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหวา่ ง สงิ่ ประดิษฐต์ ามสงิ่ ท่ีโจทยก์ ำหนด
รูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้
ค 2.2 ป.4/2 สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความ
ยาวของดา้ น

S วทิ ยาศาสตร์ (Science) การงานอาชีพและเทคโนโลยี T

มาตรฐาน ว.2.1 เข้าใจสมบตั ิสาร องค์ประกอบของสสาร (Technology)
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการ มาตรฐาน ว.4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณใน
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลายและ
การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
ว 2.1 ป 3/2 อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้
ร้อนข้นึ หรอื ทำใหเ้ ยน็ ลง โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน

การเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ กนั และมีจรยิ ธรรม

ว 4.2 ป 6/3 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่าง

มปี ระสทิ ธภิ าพ

กจิ กรรม
การทำวุ้น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

M คณิตศาสตร์ (Mathematic) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) E

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและ ออกแบบ ตัดสนิ ใจสรา้ ง ทดสอบและประเมนิ ผล
คาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี ้องการวัดและนำไปใช้ สง่ิ ประดษิ ฐต์ ามส่ิงทโ่ี จทย์กำหนด
ค 2.1 ป.3/11 เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและ
เปรียบเทยี บปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ิตร

S วทิ ยาศาสตร์ (Science) การงานอาชพี และเทคโนโลยี T

มาตรฐาน ว 2.1 ป 3/2 อธิบายการเปลีย่ นแปลงของวัสดุ (Technology)
เมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ มาตรฐาน ว.4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณใน
ว 2.1 ป 4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความ
แข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า การแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและ
ระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
ความรอ้ น และการนำไฟฟา้ ของวัสดไุ ปใช้ในชวี ิตประจำวัน
ผ่านกระบวนการออกแบบช้นิ งาน การเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่ากันและมจี รยิ ธรรม

ว 4.2 ป 6/3 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่าง

มปี ระสทิ ธภิ าพ

กิจกรรม
ออกแบบบรรจุภณั ฑ์
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

M คณติ ศาสตร์ (Mathematic) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) E

มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบตั ิ ออกแบบ ตดั สินใจสรา้ ง ทดสอบและประเมินผล
ของรูปเรขาคณติ ความสัมพันธ์ระหวา่ ง ส่งิ ประดิษฐต์ ามสง่ิ ท่ีโจทยก์ ำหนด
รปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้
ค 2.2 ป.6/1 ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบด้วยทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ระบุปัญหา
1.1 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ วุ้นรักสุขภาพ จำนวน 10 ข้อ ลงใน

กระดาษคำตอบ จากนนั้ ครผู ูส้ อนรวบรวมคำตอบของนกั เรียน และนำไปวิเคราะห์ผล
1.2 นักเรียนร่วมกันฟังสถานการณ์จากครูผู้สอนผ่านสื่อ VDO ที่ครูจัดทำขึ้นเนื่องใน

สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ดงั น้ี เนอื่ งจากในยุคปัจจบุ ันนกั เรียนไม่นิยม
ทานผักและผลไม้ เพราะมีรสชาติที่ไม่ถูกปาก และมีสีสันที่ไม่น่ารับประทำน จึงทำให้เกิดปัญหาด้าน
สุขภาพ และนักเรียนได้รับสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ครูจึงมีแนวคิดในการหาวธิ ีการทำให้นักเรียนสามารถ
รับประทานผัก และผลไม้ได้ง่าย มีรสชาติอร่อย สีสันสวยงาม จึงได้ให้นักเรียนออกแบบการทำวุ้น
เพื่อสุขภาพ โดยเริ่มจากพืชท้องถิ่นที่นกั เรียนสำมารถทำได้ง่ายใกล้ ๆ ตัวนักเรียน ให้มีสีสันสวยงาม และ
มีรสชาตอิ ร่อย

1.3 นกั เรียนวเิ คราะห์ปัญหาและเง่อื นไขจากสถานการณท์ ่ีกำหนด จนเกิดเป็นความเขา้ ใจว่า
จากสถานการณด์ ังกล่าวปัญหา คอื นกั เรยี นไม่นยิ มทานผกั และผลไม้
จากสถานการณ์ดังกล่าวมีข้อจำกัดอะไรบ้าง คือ นักเรียนออกแบบการทำวุ้นรักสุขภาพ

จากพชื ทอ้ งถ่ิน
1.4 ในสื่อ VDO นักเรียนสังเกตสมนุ ไพรท่ีครูแสดง โดยให้คำชี้แนะถึงสมุนไพร ทัง้ แหล่งที่ปลูก

วิธีที่นักเรียนได้สมุนไพรนี้มา รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ได้รับ โดยให้นักเรียนบันทึกผลลงในชุดกิจกรรม
วุ้นรกั สุขภาพ

2. รวบรวบข้อมูลหรอื แนวคิดท่เี ก่ยี วข้องกบั ปัญหา
2.1 นักเรียนดำเนินการตรวจสอบและเปรียบเทียบลักษณะทั้งภายนอกและภายในของ

สมุนไพรท่ีหาได้จากบริเวณบ้าน หรอื ใกล้เคียง ซ่ึงในกจิ กรรมนเ้ี นน้ การตรวจสอบสมบัติกายภาพทัว่ ไป เช่น
ลักษณะภายนอก กลิ่น สี ถ้าเป็นสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารให้ตรวจสอบรสชาติได้ โดยให้นักเรียนบันทึกผล
ลงในชุดกจิ กรรม ว้นุ รกั สขุ ภาพ จากนั้นใหน้ ักเรยี นสบื คน้ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชนส์ มุนไพร ซ่งึ สามารถสืบค้น
รวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งต่าง ๆ หลากหลาย ทั้งที่เป็นบุคคล หนังสือ อินเทอร์เนต็ รวมทั้งแหล่งเรยี นร้ตู ่าง
ๆ ในทอ้ งถ่ิน เชน่ สวนสมนุ ไพรในโรงเรยี น และเก็บผลการทํากิจกรรมน้ไี ปใชใ้ นกิจกรรมถัดไป

2.2 นักเรียนสังเกตลักษณะของพืชท้องถิ่นที่ดำเนินการสำรวจมาได้ จากนั้นพิจารณาถึง
คุณสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง ความเหนียว การนำไฟฟ้า การนำความร้อนของส่วนประกอบนั้น ๆ
จากนั้นคัดเลือกส่วนประกอบของพืชท้องถิ่น 1 ชนิด มาใช้ในการแม่พิมพ์วุ้น โดยให้นักเรียนบันทึกผลลง
ในชุดกจิ กรรม วุ้นรกั สุขภาพ

2.3 นกั เรยี นศึกษาวิธีการทำวนุ้ รักสุขภาพจากสื่อวดิ โี อท่ีครสู ร้างขึ้น บันทึกผลลงในชุดกิจกรรม
ว้นุ รกั สุขภาพ

3. ออกแบบวิธีการแก้ปญั หา
3.1 นกั เรยี นศึกษาวัสดอุ ุปกรณ์ในการทำกจิ กรรมจากชุดอุปกรณท์ ่ีครูจดั เตรยี มให้
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหา

ใหเ้ สรจ็ ภายในเวลาท่จี ำกดั จากน้นั บันทึกผลการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ลงในชุดกิจกรรม วุ้นรักสุขภาพ
4. วางแผนและดำเนนิ การแก้ปัญหา
4.1 นักเรียนวางแผนแบง่ หน้าทกี่ ารทำงานตามลำดับขน้ั ตอน
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำกิจกรรมตามการออกแบบของนักเรียน โดยมีผู้ปกครองคอย

ใหค้ ำแนะนำ และสงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยบันทกึ ผลลงในชุดกิจกรรม วนุ้ รกั สุขภาพ
5. ทดสอบ ประเมนิ และปรบั ปรุงแกไ้ ขวธิ กี ารแก้ปัญหาหรือชน้ิ งาน
5.1 นกั เรยี นถา่ ยรปู ชิน้ งานมาใหค้ รผู สู้ อนและผู้ปกครองพจิ ารณาองค์ประกอบ และตรวจสอบ

ความถกู ตอ้ งของตามเงอื่ นไขทส่ี ถานการณก์ ำหนด
5.2 นักเรียนนำผลการตรวจสอบของกลุ่มตนเองไปปรับปรุง และนำกลับมาทำการทดสอบ

ใหม่อีกครงั้ จากนน้ั บนั ทึกผลการทำกิจกรรมต่าง ๆ ลงในชุดกิจกรรม วุ้นรักสขุ ภาพ
6. นำเสนอวธิ กี ารแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ญั หาหรอื ช้นิ งาน และประเมนิ ผล
6.1 นักเรียนนำเสนอชิ้นงานทีอ่ อกมาที่ได้ พร้อมอธิบายองค์ความรู้ที่ได้จากเรยี นรู้ และลงมือ

ปฏิบัติตามวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิศวกรรมกับครูผู้สอนทาง
ออนไลน์

6.2 นักเรียนทำแบบทดลอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ วุ้นรักสุขภาพ จำนวน 10 ข้อ
ลงในกระดาษคำตอบ จากนัน้ ครผู ู้สอนเก็บข้อมูลและนำข้อมูลไปวิเคราะหผ์ ล

สอ่ื และแหล่งเรียนรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1. แบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรู้ วนุ้ รักสขุ ภาพ
2. กระดาษคำตอบ
3. ชุดอปุ กรณ์ เร่อื ง วนุ้ รกั สขุ ภาพ
4. ชุดกิจกรรม วุ้นรักสุขภาพ
5. อนิ เทอรเ์ นต็
6. สอื่ วดิ โี ออธบิ ายการทำวุ้นรักสขุ ภาพท่คี รผู ู้สอนจัดทำขน้ึ
แหล่งเรียนรู้
-

ชนิ้ งาน/ภาระงาน
1. แบบทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ ว้นุ รกั สุขภาพ
2. ชุดกจิ กรรม วุ้นรกั สขุ ภาพ

การวดั และประเมินผล

สง่ิ ท่ีวัด วิธกี ารวัดและประเมินผล เคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล เกณฑ์ท่ีใช้ประเมนิ
ดา้ นความรู้ - ตรวจชนิ้ งาน - แบบประเมนิ กิจกรรม ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70
- การสงั เกตพฤติกรรม
(K) - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ทักษะใน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70
ทกั ษะใน ศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 (P) - การสงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 70
คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์
อันพึงประสงค์ (A) - การสังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมินสมรรถนะ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 70
สมรรถนะสำคัญ สำคัญของผู้เรยี น
ของผเู้ รียน

บนั ทึกผลหลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน
1. นักเรยี นจำนวน ............... คน

ผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ......คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ..........
ไมผ่ ่านจุดประสงค์ .......คน คดิ เปน็ ร้อยละ .........
2. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจ (K)
.............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

3. นกั เรียนมคี วามรู้เกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P)
......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................... .............................

4. นกั เรียนมีเจตคติ คา่ นิยม คุณธรรม จริยธรรมอันพงึ ประสงค์ (A)
....................................................................................................................................... ................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
................................................................................................................................................................. .....
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ
…............................................................................................................................... .....................................
.......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................

ลงช่อื ........................................ ผูส้ อน
(.......................................)

วันที่ ..........................................

แบบทดสอบ

หน่วยการเรียนรู้ วนุ้ รกั สขุ ภาพ

-----------------------------------------------------------

คำช้ีแจง : เลอื กคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียง 1 คำตอบเท่าน้ัน

1. โครงสร้างใดท่ีพชื ใชใ้ นการลอ่ แมลง
1. กลบี ดอก
2. กลีบเลีย้ ง
3. ก้านใบ
4. รงั ไข่

2. ขอ้ ใดคือส่วนประกอบทีส่ ำคัญของพืช
1. ลำตน้ ราก ใบ
2. ลำตน้ ราก ใบ ดอก ผล
3. ลำต้น ใบ ผล
4. ผล ดอก ใบ ราก

3. โครงสร้างของพชื ที่ทำหน้าท่ีห่อหุ้มเมล็ด ที่เปลี่ยนมาจากรงั ไข่หรือฐานรองดอกท่ีได้รับการปฏิสนธิแล้ว
คอื ส่วนของพืชในข้อใด

1. ใบ
2. ดอก
3. ผล
4. เมล็ด

4. ขอ้ ใดคือความหมายของคำวา่ สมุนไพร
1. พืช ทใ่ี ชเ้ ปน็ ยาพืช
2. สัตว์ทใ่ี ชเ้ ป็นยา
3. สตั ว์, แรธ่ าตุ ทใ่ี ช้เปน็ ยา
4. พืช, สัตว์, แร่ธาตุ ทใ่ี ช้เปน็ ยา

5. พชื ชนิดใดมีสเี ขียว และมีกลิน่ หอม
1. ใบเตย
2. ขิง ขา่
3. อญั ชัน
4. กระเจ๊ียบ

6. ข้อใดคือความหมายของคำวา่ พชื สมนุ ไพร
1. ยาท่ไี ด้จากแรธ่ าตเุ ท่าน้นั
2. ยาที่ได้จากส่วนของพชื เท่านนั้
3. ยาทีไ่ ดจ้ ากส่วนของพืช และสตั ว์
4. ยาท่ีได้จากสว่ นของพืช สตั วห์ รอื แร่ธาตุ

7. “มดี า้ นท้ังสย่ี าวเทา่ กนั และขนานกันสองค”ู่ เปน็ ลักษณะของรูปสเ่ี หลยี่ มในขอ้ ใด

1. รปู ส่ีเหลย่ี มจัตุรัส รปู สเ่ี หลี่ยมขนมเปียกปนู

2. รปู สี่เหลยี่ มรูปว่าว รูปส่ีเหลยี่ มดา้ นขนาน

3. รูปสี่เหล่ียมคางหมู รปู ส่เี หลย่ี มจัตุรสั

4. รูปสเ่ี หลย่ี มดา้ นขนาน รูปสีเ่ หล่ยี มผนื ผ้า

ใช้ข้อมลู ในตารางขา้ งลา่ งนี้ สำหรบั คำถาม ข้อ 8
การจำหนา่ ยรถยนต์ ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑลระหวา่ งเดอื นมกราคม – พฤษภาคม

เดือน โตโยตา้ มาสดา้ ฮอนด้า มติ ซู อิซชู ุ
147 104
ม.ค. 340 64 221 102 96
61 57
ก.พ. 570 125 315 31 84
24 38
ม.ี ค. 112 16 118

เม.ย. 43 8 96

พ.ค. 165 41 83

8. ในเดอื นมกราคมยอดจำหนา่ ยของโตโยตา้ มจี ำนวนกค่ี นั
1. 340 คนั
2. 64 คัน
3. 221 คัน
4. 104 คัน

9. ลติ รเป็นหน่วยทใ่ี ชบ้ อกส่งิ ใด
1. ปริมาตร
2. ปรมิ าณ
3. พ้ืนท่ี
4. ของเหลว

10. ขอ้ ใดคือการตวง
1. สมชาย หนกั 23 กิโลกรมั
2. สชุ าติ สูง 141 เซนตเิ มตร
3. ถังใบหนึ่งมนี ำ้ อยู่ 3 ลติ ร
4. เชือกยาว 1 เมตร

เฉลยแบบทดสอบ

ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เฉลย 1 2 3 4 1 2 4 1 1 3





แบบประเมินช้ินงานการจัดการเรียนร้กู ารจัดการเชิงรกุ
ของนักเรยี นระดับช้นั ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นคลอง 23

หนว่ ยการเรียนรู้ วุ้นรกั สขุ ภาพ

คำช้แี จง : สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งการจัดการเรียนรู้ แล้วทำเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกบั ระดับคะแนน

ประเดน็ การประเมนิ

ที่ ชื่อ – นามสกลุ ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 รวม

210210210

เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน 4 – 6 ดมี าก
2 – 3 ปานกลาง
1 – 0 ควรปรบั ปรุง

วธิ กี ารตรวจใหค้ ะแนน

การตรวจให้คะแนนของแบบแบบประเมินชิ้นงานกิจกรรมการจัดการเรียนรู้การจัดการเชิงรุก
ผู้ตรวจตอ้ งยดึ ประเดน็ การประเมิน และหลักการให้คะแนน ดังน้ี

ประเด็นประเมนิ 2 คะแนนประเมิน 0
1. การออกแบบ ไมม่ ีการรา่ งภาพ
มีการร่างภาพสองมิติ 1
โดยการรา่ งภาพสองมติ ิ มีรายละเอียด และ ผ ล ง า น ไ ม ่ ต ร ง กั บ
การสื่อความหมายได้ มีการร่างภาพสองมิติ แบบรา่ ง
2. ผลงานตรงตามแบบรา่ ง ชดั เจน แต่มีรายละเอียด และ ผลงาน
ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายได้ มีความแปลกใหม่
3. ผลงานมคี วามแปลกใหม่ ถกู ต้องตามที่แบบรา่ ง ไมช่ ดั เจน
และสรา้ งสรรค์ ผลงานมีความคิดใหม่ ผลงานมีความถูกต้อง
หรือต่อยอดจากสิ่งเดิม ตามแบบท่ีร่างบางส่วน
โดยไม่คล้ายกับกลุ่ม ผลงานมีความคิดใหม่
อ่นื ๆ หรือต่อยอดจากสิ่งเดิม
โดยคลา้ ยกับกลุ่มอน่ื ๆ
บางส่วน

แบบประเมินใบกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้การจัดการเชิงรุก
ของนักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษา โรงเรยี นบา้ นคลอง 23

หน่วยการเรยี นรู้ วุ้นรักสขุ ภาพ

คำช้แี จง : สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้ แล้วทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องท่ี
ตรงกบั ระดับคะแนน

ประเดน็ การประเมนิ

ที่ ช่ือ – นามสกุล ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 รวม

210210210

เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน 4 – 6 ดีมาก
2 – 3 ปานกลาง
1 – 0 ควรปรบั ปรุง

วิธกี ารตรวจให้คะแนน

การตรวจให้คะแนนของแบบแบบประเมินชิ้นงานกิจกรรมการจัดการเรียนรู้การจัดการเชิงรุก
ผ้ตู รวจตอ้ งยดึ หลักการใหค้ ะแนน ดังน้ี

ประเด็นประเมิน คะแนนประเมนิ 0
21

1. ความครบถว้ นของเน้อื หา มีเนื้อหาสาระครบถ้วน มีเนื้อหาสาระขาดหาย เนื้อหาสาระไม่ตรง

แ ล ะ ช ั ด เ จ น ต า ม ใ น บ า ง ป ร ะ เ ด ็ น ท่ี ต า ม ป ร ะ เ ด ็ น ที่

ประเด็นท่กี ำหนด กำหนด กำหนด

2. ความถูกตอ้ งของเนอื้ หา มีเนื้อหาสาระถูกต้อง มีเนื้อหาสาระถูกต้อง มีเนื้อหาสาระไม่

ตามประเด็นที่กำหนด ตามประเด็นที่กำหนด ถูกตอ้ งตามประเด็น

ท้งั หมด บางส่วน ทก่ี ำหนด

3. การบันทึกข้อมลู บันทึก สรุปผลการ บันทึก สรุปผลการ ไม่มีการบนั ทึก และ

ปฏิบัติกิจกรรมได้ ปฏิบัติกิจกรรมได้ สรุปผลการปฏิบัติ

อย่างชัดเจน ถูกต้อง อย่างชัดเจน ถูกต้อง ก ิ จ ก ร ร ม ต า ม ที่

ครบถ้ว น และเป็น ครบถ้ว น และเป็น กำหนด

ขัน้ ตอนทง้ั หมด ขั้นตอนบางส่วน

แบบประเมนิ ทักษะในศตวรรษท่ี 21 การจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ ของนักเรียนระดับชนั้ ประถมศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นคลอง 23 หนว่ ยการเรียนรู้ วนุ้ รักสุขภาพ

คำชี้แจง แบบประเมินแบ่งออกเป็น 4 ทักษะ คือ ทักษะด้านการสื่อสาร (Communication)
ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
และทกั ษะดา้ นการรว่ มมอื (Collaboration) มรี ายละเอียดหัวขอ้ ในการประเมนิ ดังน้ี

1. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร (Communication)
1.1 ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
1.2 ผู้เรียนสามารถพูดถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ

ตนเองจากสารท่อี า่ น ฟงั หรอื ดไู ด้
1.3 ผู้เรียนสามารถเขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ

ตนเองจากสารที่อา่ น ฟังหรอื ดไู ด้
1.4 ผเู้ รยี นสามารถตดั สนิ ใจเลือกรบั หรือไม่รบั ขอ้ มูลขา่ วสารได้อย่างมีเหตผุ ล
1.5 ผู้เรียนสามารถเลือกใช้สื่อ/เครื่องมือที่หลากหลายในการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยน

ความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองได้
2. ทกั ษะด้านการคดิ วิเคราะห์ (Critical Thinking)
2.1 ผู้เรียนรจู้ ักการแยกขอ้ มลู และเกบ็ ข้อมูลได้
2.2 ผเู้ รียนสามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุและวิธีแก้ไขปัญหาได้
2.3 ผเู้ รยี นสามารถแยกแยะประเด็นปญั หาในแงม่ ุมต่าง ๆ ได้
2.4 ผ้เู รียนสามารถแยกแยะผลดแี ละผลเสยี ของขอ้ มูลได้
2.5 ผเู้ รียนสามารถนำข้อมลู ท่ีไดร้ บั ไปใช้ประโยชน์ได้
3. ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
3.1 ผู้เรียนชอบคดิ ริเร่มิ ทำสิง่ ใหม่ ๆ ท่ยี ังไม่เคยเหน็ ใครทำมาก่อน
3.2 ผู้เรียนชอบคดิ ต่อยอดขยายกวา้ งออกไปเรื่อย ๆ จากส่ิงท่ีมีอยู่
3.3 ผู้เรยี นชอบคดิ ในมุมทแี่ ตกต่างจากคนอนื่ เพื่อคน้ หาคำตอบ
3.4 ผูเ้ รียนสามารถสร้างสรรค์ ออกแบบชนิ้ งานใหม่ ๆ จากสงิ่ ทต่ี นเองสนใจ
3.5 ผู้เรยี นชอบแสวงหาแนวทางหลากหลายในการแก้ปัญหาใหม่ ๆ ทไ่ี ม่เคยประสบมากอ่ น
4. ทักษะด้านการรว่ มมือ (Collaboration)
4.1 ผู้เรียนสามารถตดิ ต่อส่ือสารและสรา้ งความสัมพนั ธ์กับสมาชิกภายในกลุม่ ได้
4.2 ผู้เรียนมคี วามรับผิดชอบในหนา้ ที่ในฐานะท่เี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของกลมุ่
4.3 ผเู้ รยี นสามารถสรา้ งช้ินงานโดยคำนึงถึงความตอ้ งการของสมาชิกภายในกลุ่มได้
4.4 ผเู้ รียนสามารถปรบั เปลี่ยนชน้ิ งานตามคำแนะนำและความต้องการของสมาชิกภายในกลุ่ม
4.5 ผเู้ รยี นสามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

แบบประเมนิ ทักษะทกั ษะด้านการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)
การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรยี นบา้ นคลอง 23

หน่วยการเรียนรู้ วนุ้ รกั สุขภาพ

คำชแี้ จง : สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งการจดั การเรยี นรู้ แล้วทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่
ตรงกบั ระดับคะแนน

วิธกี ารตรวจให้คะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินทักษะทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)

ผตู้ รวจต้องยดึ หลกั การใหค้ ะแนน ดงั น้ี
2 หมายถงึ ปฏบิ ัติบ่อยคร้ัง 1 หมายถึง ปฏบิ ตั ิบางครัง้ 0 หมายถึง ไมเ่ คยปฏบิ ัติ

ท่ี ช่ือ – นามสกลุ 2. ทกั ษะดา้ นการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) รวม ผลการ
ข้อ 2.1 ขอ้ 2.2 ข้อ 2.3 ขอ้ 2.4 ขอ้ 2.5 ประเมิน
210210210210210

เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 7 – 10 ดีมาก
4 – 6 ปานกลาง
0 – 3 ควรปรบั ปรุง

แบบประเมนิ ทกั ษะดา้ นการรว่ มมือ

การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ของนกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษา โรงเรียนบ้านคลอง 23

หน่วยการเรยี นรู้ วนุ้ รกั สขุ ภาพ

คำชแี้ จง : สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้ แลว้ ทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

วิธีการตรวจใหค้ ะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินทักษะด้านการร่วมมือ ผู้ตรวจต้องยึดหลักการให้คะแนน

ดังน้ี
2 หมายถงึ ปฏิบัติบ่อยครง้ั 1 หมายถึง ปฏิบตั บิ างคร้งั 0 หมายถึง ไมเ่ คยปฏิบัติ

ท่ี ชื่อ – นามสกลุ ขอ้ 4.1 4. ทักษะดา้ นการร่วมมอื (Collaboration) ขอ้ 4.5 รวม ผลการ
210 ขอ้ 4.2 ข้อ 4.3 ข้อ 4.4 210 ประเมนิ

210210210

เกณฑ์การประเมินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 7 – 10 ดมี าก
4 – 6 ปานกลาง
0 – 3 ควรปรับปรุง

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคก์ จิ กรรมการจดั การเรียนรกู้ ารจัดการเชงิ รกุ
ของนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษา โรงเรยี นบ้านคลอง 23

หนว่ ยการเรยี นรู้ วุ้นรกั สุขภาพ

คำช้แี จง แบบประเมนิ แบง่ ออกเป็น 8 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มีรายละเอียดหัวข้อในการประเมิน ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
1.1 แสดงความเคารพต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยส์ ม่ำเสมอ ดว้ ยความเหมาะสม
1.2 ไม่ทำลายสัญลกั ษณข์ องชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
1.3 ประพฤตติ นเปน็ คนดขี องโรงเรยี น ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ

2. ซื่อสัตยส์ จุ รติ
2.1 ไม่ลกั ขโมย คดโกง เอาสิ่งของและทรัพยส์ นิ ของผอู้ ืน่ และของส่วนรวม
2.2 ไมพ่ ดู จาโกหก หลอกลวงผ้อู ่นื
2.3 ไมเ่ ปน็ นกั เลง อนั ธพาล กอ่ กวนผอู้ ืน่

3. มีวนิ ยั
3.1 จัดเกบ็ ส่ิงของเครื่องใชส้ ่วนตนและสว่ นรวม เปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยเสมอ
3.2 แตง่ กายสะอาดเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย และเหมาะสมแกก่ าลเทศะ
3.3 เคารพเชอ่ื ฟงั พ่อแม่ ครูอาจารย์ และผใู้ หญ่

4. ใฝ่เรียนรู้
4.1 ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ศึกษาคน้ คว้า หรอื อา่ นหนังสือทุกวัน
4.2 เอาใจใส่ทำการบ้าน ทบทวนบทเรียน และทำงานทค่ี รูมอบหมายจนสำเร็จ
4.3 สามารถสบื คน้ แสวงหาความรู้จากระบบอินเตอรเ์ น็ตได้เหมาะสมตามวัย

5. อย่อู ยา่ งพอเพียง
5.1 เปน็ คนมเี หตมุ ีผล ไม่ใช้อารมณ์ตัดสนิ ปัญหา
5.2 เป็นคนมคี วามพอประมาณแกต่ นเองในการใช้จ่าย ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย ประหยัด อดออม
5.3 วางแผนได้เหมาะสมตามวัย

6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
6.1 รบั ผิดชอบหนา้ ที่ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายอย่างสุดความสามารถ
6.2 ทำงานด้วยความพากเพยี รและอดทน
6.3 พยายามแก้ไขปญั หาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ

7. รักความเปน็ ไทย
7.1 ชื่นชมและเขา้ รว่ มกิจกรรมวฒั นธรรม ประเพณที อ้ งถ่ิน และประเพณไี ทยสมำ่ เสมอ
7.2 อนรุ ักษ์ สบื สานต่อ วัฒนธรรมประเพณตี ามความสนใจได้เหมาะสมตามวยั
7.3 สามารถแสดงออกหรอื เขา้ ใจในวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถน่ิ และประเพณีไทย

8. มีจิตสาธารณะ
8.1 เสียสละเพือ่ ประโยชนส์ ่วนรวม
8.2 ไม่ทำลายสง่ิ ของ เคร่ืองใช้ทเ่ี ปน็ ของส่วนรวม
8.3 ช่วยเหลอื ผู้อื่นเมอ่ื มโี อกาส

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงคด์ า้ นใฝ่เรยี นรู้

การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านคลอง 23

หนว่ ยการเรยี นรู้ วุ้นรกั สขุ ภาพ

คำช้แี จง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างการจัดการเรียนรู้ แลว้ ทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่
ตรงกบั ระดับคะแนน

วธิ กี ารตรวจให้คะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ ผู้ตรวจต้องยึด

หลักการใหค้ ะแนน ดังนี้
2 หมายถึง ปฏบิ ัตบิ ่อยคร้ัง 1 หมายถงึ ปฏิบตั ิบางครง้ั 0 หมายถึง ไมเ่ คยปฏิบตั ิ

4. ใฝเ่ รียนรู้

ท่ี ชอ่ื – นามสกุล ขอ้ 4.1 ขอ้ 4.2 ข้อ 4.3 รวม ผลการประเมิน

210210210

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ดีมาก
ปานกลาง
ช่วงคะแนน 4 – 6 ควรปรับปรงุ
2– 3
0– 1

แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด์ า้ นมุ่งม่ันในการทำงาน

การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกของนกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา โรงเรียนบา้ นคลอง 23

หน่วยการเรียนรู้ วุน้ รักสุขภาพ

คำชีแ้ จง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งการจัดการเรียนรู้ แล้วทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่
ตรงกับระดับคะแนน

วิธีการตรวจให้คะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน

ผูต้ รวจต้องยดึ หลกั การใหค้ ะแนน ดังน้ี
2 หมายถึง ปฏบิ ัตบิ ่อยคร้งั 1 หมายถงึ ปฏิบัตบิ างครง้ั 0 หมายถงึ ไม่เคยปฏิบัติ

6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

ท่ี ชือ่ – นามสกลุ ขอ้ 6.1 ข้อ 6.2 ข้อ 6.3 รวม ผลการประเมนิ

210210210

เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพ ดมี าก
ปานกลาง
ช่วงคะแนน 4 – 6 ควรปรบั ปรงุ
2– 3
0– 1

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นกิจกรรมการจดั การเรยี นรูก้ ารจดั การเชงิ รุก
ของนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษา โรงเรียนบ้านคลอง 23

หน่วยการเรียนรู้ วนุ้ รักสุขภาพ

คำช้แี จง แบบประเมินแบ่งออกเปน็ 8 สมรรถนะสำคัญ มีรายละเอียดหัวข้อในการประเมิน ดังน้ี
1. ความสามารถในการส่อื สาร
1.1 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา

อย่างเหมาะสม
1.2 ใช้วธิ กี ารส่อื สารที่เหมาะสม
1.3 วเิ คราะห์แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล

2. ความสามารถในการคดิ
2.1 มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์
2.2 มคี วามสามารถในการคิดอย่างมรี ะบบ
2.3 ตัดสินใจแกป้ ญั หาเกีย่ วกบั ตนเองได้

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3.1 สามารถแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชญิ ได้
3.2 แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความร้มู าใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
3.3 สามารถตดั สินใจได้เหมาะสมตามวยั

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
4.1 เรียนรดู้ ้วยตนเองไดเ้ หมาะสมตามวยั
4.2 สามารถทำงานกลุ่มรว่ มกับผู้อืน่ ได้
4.3 นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกและใชเ้ ทคโนโลยีไดเ้ หมาะสมตามวยั
5.2 มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 ใชเ้ ทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ดา้ นความสามารถในการแก้ปญั หา

การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ของนกั เรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านคลอง 23

หน่วยการเรียนรู้ ว้นุ รักสขุ ภาพ

คำชแ้ี จง : สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งการจดั การเรยี นรู้ แล้วทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่
ตรงกบั ระดับคะแนน

วิธีการตรวจให้คะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา

ผ้ตู รวจต้องยดึ หลกั การให้คะแนน ดงั น้ี
2 หมายถึง ปฏิบัตบิ ่อยคร้ัง 1 หมายถงึ ปฏิบัติบางครัง้ 0 หมายถึง ไมเ่ คยปฏบิ ัติ

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา

ท่ี ช่ือ – นามสกลุ ข้อ 3.1 ขอ้ 3.2 ขอ้ 3.3 รวม ผลการประเมิน

210210210

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ดมี าก
ปานกลาง
ชว่ งคะแนน 4 – 6 ควรปรับปรุง
2– 3
0– 1

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ด้านความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุกของนกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นคลอง 23

หน่วยการเรยี นรู้ วนุ้ รักสขุ ภาพ

คำช้ีแจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างการจดั การเรียนรู้ แลว้ ทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

วธิ ีการตรวจใหค้ ะแนน
การตรวจให้คะแนนของแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้

ทกั ษะชีวิต ผ้ตู รวจต้องยดึ หลักการให้คะแนน ดงั นี้
2 หมายถงึ ปฏบิ ัติบ่อยครง้ั 1 หมายถงึ ปฏิบตั ิบางครง้ั 0 หมายถงึ ไม่เคยปฏิบตั ิ

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

ท่ี ช่ือ – นามสกลุ ขอ้ 4.1 ข้อ 4.2 ข้อ 4.3 รวม ผลการประเมนิ

210210210

เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพ ดีมาก
ปานกลาง
ชว่ งคะแนน 4 – 6 ควรปรับปรงุ
2– 3
0– 1


Click to View FlipBook Version