The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชุดที่ 1_merged

ชุดที่ 1_merged

รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 31242 ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ นางสาวพิมพ์พรรณ ยศเมา ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา


1 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ 10 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ เล่มที่ 2 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน เล่มที่ 3 เรื่อง การแลกเปลี่ยนแก๊สและการควบคุมการหายใจ เล่มที่ 4 เรื่อง การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ เล่มที่ 5 เรื่อง การขับถ่ายของคน เล่มที่ 6 เรื่อง การล าเลียงสารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ เล่มที่ 7 เรื่อง หัวใจและการหมุนเวียนเลือดของคน เล่มที่ 8 เรื่อง หลอดเลือดและความดันในหลอดเลือด เล่มที่ 9 เรื่อง เลือด หมู่เลือด และการให้เลือด เล่มที่10 เรื่อง ระบบน้ าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน 2. กิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ เป็นเล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและของสัตว์ใช้ประกอบการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 30242 ส าหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 1 แผนการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 3. ส่วนประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ ประกอบด้วย 1. ค าชี้แจง 2. แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ 3. บทบาทของนักเรียน 4. สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 6. แบบทดสอบก่อนเรียน 7. บัตรค าสั่ง 8. บัตรกิจกรรม 9. บัตรบันทึกหลังกิจกรรม 10. บัตรค าถามหลังกิจกรรม 11. บัตรเนื้อหา 12. ใบงานที่1 - 3 13. แบบทดสอบหลังเรียน 14. เอกสารอ้างอิง 4. ผู้ใช้กิจกรรมการเรียนรู้นี้ควรศึกษาค าแนะน าในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ ค ำชี้แจงในกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้


2 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1. อ่านค าชี้แจง/บทบาทของนักเรียนในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้โดยปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ท าแบบทดสอบก่อนเรียน 2.2 ท าบัตรกิจกรรม 2.3 ศึกษาบัตรเนื้อหา 2.4 ท าใบงานที่1-3 2.5 ท าแบบทดสอบหลังเรียน 3. ตรวจสอบค าตอบแบบทดสอบก่อนเรียน, บัตรกิจกรรม ใบงานที่ 1 – 3, แบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยที่ครูแจกให้ 4. ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้เล่มที่ 2 ต่อไป แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ผ่ำนเกณฑ์ ผลกำรประเมิน ผ่ำนเกณฑ์


3 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการรักษาดุลยภาพในร่างกาย วิชาชีววิทยา ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและ ของสัตว์ ให้นักเรียนอ่านและปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและ ของสัตว์ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 2. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6–7 คน 3. ศึกษาค าชี้แจง และบทบาทของนักเรียน ให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ 4. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน จ านวน 20 ข้อ โดยใช้เวลา 15 นาที เพื่อประเมินความรู้เดิม 5. ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้วยความตั้งใจและลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นที่ 2 การส ารวจค้นหา (Exploration) ขั้นที่ 3 การอธิบายและ ลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นที่4ขยายความรู้(Elaboration) และขั้นที่ 5 ประเมินผล (Evaluation) 6. ท าแบบทดสอบหลังเรียนจ านวน 20 ข้อ เพื่อประเมินความรู้ของนักเรียนหลังจากจัดกิจกรรม การเรียนรู้เสร็จสิ้น 7. เกณฑ์ผ่านการประเมินในแบบทดสอบก่อนเรียน บัตรกิจกรรม ใบงานที่ 1 – 3 และ แบบทดสอบหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 70 หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมินในบัตรกิจกรรม ใบงานที่ 1 – 3 และแบบทดสอบหลังเรียน ให้นักเรียนศึกษาในเนื้อหาและท าใหม่อีกครั้ง แล้วท าการประเมินผล ใหม่ ถ้าท าคะแนนได้มากขึ้น แสดงว่านักเรียนมีความเข้าใจมากขึ้น เมื่อเข้ำใจแล้ว เริ่มเรียนกันเลยนะคะ บทบำทของนักเรียน


4 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของ ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ท างานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ น าความรู้ไปใช้ในการด ารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์บางชนิด สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และผลกำรเรียนรู้


5 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เมื่อนักเรียนศึกษากิจกรรมการเรียนรู้เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์แล้วนักเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้ (Knowledge : K) อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและของสัตว์บางชนิด 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P) สืบค้นข้อมูล และทดลองเกี่ยวกับโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและของสัตว์บางชนิด 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude : A) ใฝ่เรียนรู้ จุดประสงค์กำรเรียนรู้


6 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ค าชี้แจง 1. แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ มีจ านวน 20 ข้อ ใช้เวลาในการสอบ 15 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวแล้วท าเครื่องหมาย ลงในกระดาษค าตอบ 1. แมลงที่บินได้ก็มีถุงลม (Air Sac) จ านวนมากมายที่ติดกับช่อง Spiracle และนกก็มีถุงลม (Air Sac) หลายถุงที่ติดกับปอดของมันเช่นกัน โครงสร้างประเภทนี้ไม่พบในสัตว์บกชนิดอื่น ถุงลม (Air Sac) ของสัตว์ทั้ง 2 ชนิดนี้ น่าจะท าหน้าที่ใด ก. ท าให้ตัวเบาขึ้น บินได้ดีขึ้น ข. ท าหน้าที่คล้ายกระบังลม ช่วยบังคับให้สูดลมหายใจเข้า-ออกได้ ค. เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ให้แก๊สแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอยเพิ่มมากและเร็วขึ้น ง. ท าหน้าที่เก็บส ารองอากาศ แล้วส่งอากาศผ่านท่อลมหรือปอดอย่างรวดเร็วในขณะบิน 2. สัตว์ชนิดใดต่อไปนี้ ที่สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเซลล์ในร่างกายกับอากาศที่น าเข้าไป โดยไม่ต้องอาศัยระบบหมุนเวียนเลือดในการล าเลียงแก๊สเลย ก. ปลา, ปู ข. ตั๊กแตน, ยุง ค. ไส้เดือนดิน, หอย ง. หมึกกล้วย, หอยทาก 3. ลักษณะของโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของร่างกาย ควรจะมีลักษณะอย่างไร ก. มีน้ ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา ข. มีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยง ค. มีความบาง และความชื้นอยู่เสมอ ง. เป็นแผ่นบางๆ และซ้อนกันจ านวนมาก แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


7 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4. ถ้าเปรียบเทียบระหว่างของสัตว์น้ ากับสัตว์บก การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ชนิดใดได้เปรียบกว่า เพราะอะไร ก. สัตว์บกได้เปรียบกว่า เพราะปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ ามีน้อยมาก ข. สัตว์บกได้เปรียบกว่า เพราะพื้นที่ผิวของอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สไม่มีความชื้นมาก ค. สัตว์น้ าได้เปรียบกว่า เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ ามักมีน้อยกว่าบนบก ง. สัตว์น้ าได้เปรียบกว่า เพราะพื้นที่ผิวของอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สมีความชื้นตลอดเวลา 5. การแลกเปลี่ยนแก๊สของพลานาเรีย แตกต่างจากไส้เดือนดินอย่างไร ก. ใช้ผิวล าตัวที่เปียกชื้นเหมือนกัน แต่พื้นที่ผิวของพลานาเรียน้อยกว่าไส้เดือนดิน ข. พลานาเรียแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีกว่าไส้เดือนดิน เพราะอยู่ในน้ าแก๊สออกซิเจนมีมากกว่า ค. ไส้เดือนดินอาศัยอยู่บนบก พลานาเรียอาศัยอยู่ในน้ า วิธีการแลกเปลี่ยนแก๊สจึงแตกต่างกัน ง. พลานาเรียแก๊สออกซิเจนจะแพร่ผ่านเข้าไปทีละเซลล์ แต่ไส้เดือนดินมีน้ าเลือดในหลอดเลือด ฝอยรับแก๊สออกซิเจนแพร่เข้าไป 6. ระบบ หรืออวัยวะที่ใช้ในการการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์แบบใดต่อไปนี้ที่สามารถน าแก๊ส ออกซิเจนไปให้เซลล์ต่างๆ ได้โดยตรง ก. ปอดของนก ข. เหงือกของปลา ค. ระบบท่อลมของแมลง ง. ผิวหนังของไส้เดือนดิน 7. ท าไมนกที่บินได้ จึงต้องมีถุงลม (Air Sac) แทรกเข้าไปในช่องว่างของล าตัว ก. เป็นถุงเก็บพักอาหารเอาไว้ ก่อนน าไปย่อย ข. เพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากขึ้น ค. ท าให้กระดูกพรุน ตัวจะเบาสะดวกในการบินได้ดีขึ้น ง. ส ารองอากาศเอาไว้ให้นกใช้ขณะบิน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีขึ้น 8. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในน้ าจืดเช่นอะมีบา พารามีเซียม แลกเปลี่ยนแก๊สโดยวิธีใด ก. สิ่งมีชีวิตเหล่านี้หายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซิเจน ข. แพร่แก๊สออกซิเจนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ ค. แพร่แก๊สออกซิเจนผ่านผิวหนังของล าตัวเข้าไปในเซลล์ ง. แพร่แก๊สออกซิเจนผ่านผนังเซลล์ (Cell Wall) เข้าไปในเซลล์ 9. แมลงควรมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงให้ร่างกายมีขนาดใหญ่โตมากๆได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ก. น่าจะได้ เพราะแมลงมีจ านวนและชนิดมากมายกว่าสัตว์ชนิดอื่นๆ ข. น่าจะได้ เพราะแมลงมีการปรับตัวได้ดีทั้งรูปร่าง และการด ารงชีวิต ค. น่าจะไม่ได้ เพราะแมลงจะแลกเปลี่ยนแก๊สไม่ทัน เนื่องจากใช้ระบบท่อลมเหมือนเดิม ง. น่าจะไม่ได้ เพราะร่างกายขนาดใหญ่โตมากจะต้องกินอาหารมากขึ้นอาหารอาจจะไม่เพียงพอ


8 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 10. ข้อใดระบุความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของสัตว์กับโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ไม่ถูกต้อง ก. ปลา – เหงือก ข. ผีเสื้อ – ระบบท่อลม ค. ไส้เดือนดิน – ผิวหนัง ง. แมงมุม – ระบบท่อลม 11. ถ้านกที่บินได้ มีปอดเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม จะเกิดปัญหาอย่างไรกับการบินของนกนั้น ก. ไม่สามารถบินได้ เพราะไม่มีถุงลม (air sac) ข. ไม่สามารถบินได้ เพราะ ไมมีถุงลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส ค. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถุงลมส าหรับรองรับอากาศ ง. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถุงลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส 12. ระบบการแลกเปลี่ยนก๊าซของสัตว์ในน้ า เช่น ปลา กุ้ง มีการปรับตัวอย่างไร ก. ไม่มีข้อถูก ข. มีการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านผนังล าตัวมี ค. เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ง. โครงสร้างช่วยท าให้น้ าไหลหมุนเวียนผ่านอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ 13. ระบบหายใจมีการท างานที่ส าคัญกับระบบอวัยวะในข้อใดมากที่สุด ก. ระบบขับถ่าย ข. ระบบภูมิคุ้มกัน ค. ระบบย่อยอาหาร ง. ระบบหมุนเวียนเลือด 14. อวัยวะใดที่ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สขณะหายใจได้โดยตรง ก. จมูกของแมว ข. ผิวหนังของกบ ค. เหงือกของปลาหมอ ง. ถุงลมเล็กๆ ในปอดของนก 15. สัตว์ต่อไปนี้ ข้อใดที่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด ก. ม้าน้ า ข. หอยทาก ค. ลูกอ๊อดกบ ง. ปลาปากกลม


9 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 16. การล าเลียงสารโดยกระบวนการแพร่ เกิดขึ้นในสัตว์พวกใดต่อไปนี้ ก. สัตว์ชั้นต่ า ข. สัตว์ทุกชนิด ค. สัตว์มีกระดูกสันหลัง ง. สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ า 17. สิ่งมีชีวิตชนิดใดใช้เยื่อหุ้มเซลล์เป็นโครงสร้างท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ซึ่งคล้ายกับการ แลกเปลี่ยนแก๊สของเซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม ก. แมลง ข. อะมีบา ค. พลานาเรีย ง. ไส้เดือนดิน 18. อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ า ส่วนใหญ่คืออะไร ก. Gills ข. Lungs ค. Trachea ง. Book lungs 19. Respiratory tree เป็นอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ชนิดใด ก. ปลิงทะเล ข. ปลิงน้ าจืด ค. แม่เพรียง ง. ดาวทะเล 20. กลไกที่หลอดเลือดฝอยในซี่เหงือกจะรับออกซิเจนได้ โดยอาศัยวิธีใด ก. ขณะที่ปลาว่ายน้ าอย่างรวดเร็ว จะอ้าปากกินน้ า ข. มีหลอดเลือดฝอยในซี่เหงือกสัมผัสกับน้ ามากที่สุด เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ค. แผ่นแก้ม Operculum เคลื่อนไหวตลอดเวลา เป็นจังหวะพอดีกับการอ้าปากหุบปากของปลา ง. ให้น้ าไหลออกจากช่องปาก ผ่าน Operculum ออกไป เป็นการท าให้น้ าไหลชะเหงือกไปอย่าง สม่ าเสมอ


10 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กระดาษค าตอบแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้....................................คะแนน เกณฑ์การผ่าน ต้องได้ 14 คะแนนขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน


11 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ใน การแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 1. เลือกประธานกลุ่ม เพื่อเป็นผู้น าในการด าเนินกิจกรรม 2. ประธานรับและอ่านค าสั่ง แล้วมอบหมายให้สมาชิกปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ในระยะเวลาที่ก าหนด 3. สมาชิกกลุ่มรับ และแจกบัตรกิจกรรม บัตรเนื้อหา บัตรบันทึกกิจกรรมและบัตรค าถาม หลังกิจกรรม 4. นักเรียนร่วมกันศึกษาบัตรกิจกรรมให้เข้าใจ 5. ให้ตัวแทนกลุ่มมารับอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ในการปฏิบัติกิจกรรม 6. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันวางแผนการทดลอง สืบค้นข้อมูล และท าการทดลองตามบัตรกิจกรรม และบันทึกผลการทดลองลงในบัตรบันทึกกิจกรรม 7. ตอบค าถามหลังกิจกรรม 8. สมาชิกแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน 9. ตรวจสอบการตอบค าถามจากเฉลยบัตรกิจกรรม โดยเปลี่ยนกันตรวจสอบค าตอบ 10. นักเรียนตัวแทนกลุ่มรับใบงานที่ 1 - 3 และแจกให้สมาชิกในกลุ่ม 11. สมาชิกในกลุ่มศึกษาบัตรเนื้อหา และร่วมกันตอบค าถามในใบงานที่ 1 - 3 12. ประธานกลุ่มรวบรวมใบงานที่ 1- 3 ของสมาชิกในกลุ่มและน าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับกลุ่มอื่นๆ 13. ตรวจสอบการตอบค าถามจากเฉลยใบงานที่ครูแจกให้โดยเปลี่ยนกันตรวจสอบค าตอบ ภายในกลุ่ม 14. ประธานกลุ่มรวบรวมใบงานส่งครู สมาชิกในกลุ่มร่วมกันเก็บเอกสารกิจกรรมการเรียนรู้ และน าอุปกรณ์การทดลองไปท าความสะอาดและเก็บให้เรียบร้อย บัตรค ำสั่ง


12 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การศึกษาลักษณะ และโครงสร้างของเหงือกปลานิล เพื่อศึกษารูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเหงือกปลานิล 1. ปลานิลที่ตายแล้ว 2. เครื่องมือผ่าตัด และถาดผ่าตัด 3. แว่นขยาย 4. ถุงมือยาง 5. กล้องจุลทรรศน์ 1. ให้นักเรียนสวมถุงมือยาง น าปลานิลไปล้างให้สะอาด ใช้ปากคีบดึง แผ่นแก้ม (Operculum) ขึ้นแล้วใช้กรรไกรตัดแผ่นแก้มออก เพื่อดูลักษณะและโครงสร้างของ เหงือกปลา 2. สังเกตรูปร่างลักษณะ จ านวนของซี่เหงือกปลานิล โดยใช้แว่นขยาย 3. ใช้มีดผ่าตัด หรือใบมีดโกน เฉือนซี่เหงือกปลาตามขวางเป็นชิ้นเล็กๆ และบางๆ แล้วน าไป ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ 4. วาดรูปโครงสร้าง พร้อมทั้งชี้ส่วนประกอบของเหงือกปลานิล 5. สมาชิกในกลุ่มน าผลการทดลองไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่นๆ บัตรกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ วิธีกำรทดลอง จุดประสงค์ของกิจกรรม


13 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การศึกษาลักษณะ และโครงสร้างของเหงือกปลานิล กลุ่มที่...................................................วัน/เดือน/ปี ที่ท าการทดลอง..................................... รายชื่อสมาชิก 1. …………………………………………………….……………………...……….................. 2. …………………………………………………….……………………...……….................. 3. …………………………………………………….……………………...……….................. 4. …………………………………………………….……………………...……….................. 5. …………………………………………………….……………………...……….................. 6. …………………………………………………….……………………...……….................. 7. …………………………………………………….……………………...……….................. 1. ก าหนดปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ก าหนดสมมติฐาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บันทึกผลการทดลอง บัตรบันทึกกิจกรรม


14 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4. วิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การน าไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………


15 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การศึกษาลักษณะ และโครงสร้างของเหงือกปลานิล ค าสั่ง ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล แล้วตอบค าถามต่อไปนี้ 1. ลักษณะของซี่เหงือกปลานิลเป็นอย่างไร และมีสีอะไร ท าไมถึงเป็นเช่นนั้น ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เมื่อเฉือนซี่เหงือกปลาตามขวางเป็นชิ้นเล็กๆ และบางๆ แล้วน าไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากข้อ 2. นักเรียนคิดว่าโครงสร้างที่นักเรียนเห็นมีความเหมาะสมอย่างไรในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของปลานิล ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บัตรค ำถำมหลังกิจกรรม


16 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ภาพที่ 1 การแลกเปลี่ยนแก๊สของพารามีเซียม ที่มา : https://depositphotos.com/72781933/stock-illustration-parameciumof-the-phylum-ciliophora.html แก๊สออกซิเจน (O2) แพร่เข้าสู่เซลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แพร่ออกสู่น้ า สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา อาศัยอยู่ในน้ าจืด เซลล์จะสัมผัสกับน้ า โดยตรง จึงมีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมโดยใช้วิธีการแพร่เข้า–ออกผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2556, น. 2) เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ บัตรเนื้อหำ


17 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สัตว์หลายเซลล์ สัตว์ที่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ผิวหนังหรือผิวล ำตัว ฟองน้ ำ เป็นสัตว์กลุ่มแรกที่ยังไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง อาศัยอยู่ในน้้าการแลกเปลี่ยนแก๊สจะใช้ วิธีการแพร่เข้า–ออกผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรงเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ภาพที่ 2 การแลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้ า ที่มา : http://citadel.sjfc.edu/students/ram01023/e-port/porifera.html ขวาก ช่องทางน้ าออก เซลล์โคเอโนไซต์ ช่องว่างภายในล าตัว ช่องทางน้ าเข้า เซลล์อะมีโบไซต์ แก๊สออกซิเจน (O2) แพร่เข้าสู่เซลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แพร่ออกสู่น้ า


18 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ไฮดรา เป็นสัตว์ที่มีขนาดเล็ก มีผิวล าตัวบาง ผิวล าตัวด้านนอกติดต่อกับน้ าโดยตรง ส่วนผิว ล าตัวด้านในมีช่องกลางล าตัว คือช่องแกสโตรวาสคูลาร์ ซึ่งมีน้ าไหลออกทางช่องปากอยู่เสมอ ท าให้ เกิดการไหลเวียนและการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ด้วย จึงท าให้เซลล์ด้านนอก และด้านในของไฮดราได้รับ แก๊สออกซิเจน และถ่ายเทแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้อย่างเพียงพอ (ประสงค์ หล าสะอาด และ จิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 202) ภาพที่ 3 การแลกเปลี่ยนแก๊สของไฮดรา ที่มา : http://sites.unice.fr/site/vaugelas/LSV1_Cours_Zoologie/ Cours_ST_1/Cnidaires/Planche_cnidaires.htm เทนทาเคิล เซลล์ประสาท แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน (O2) (CO2) แพร่ออกสู่น้ า แพร่เข้าสู่เซลล์ ปาก


19 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พลานาเรีย และหนอนตัวแบน ก็ยังไม่มีระบบหายใจโดยเฉพาะ พลานาเรียมีเซลล์หลายชั้น แต่ไม่หนามากนัก พลานาเรียใช้วิธีการแพร่ของแก๊สเข้าและออกทางผิวล าตัวเช่นเดียวกับไฮดรา พลานาเรียมีรูปร่างแบนบาง ท าให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสกับน้ ามากยิ่งขึ้น การแลกเปลี่ยนแก๊สจึงเกิดได้มาก และเป็นที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย นอกจากนี้พลานาเรียเป็นสัตว์ที่มีกิจกรรมต่างๆ ไม่มากนัก จึงใช้แก๊สออกซิเจนในการสร้างพลังงานไม่มากด้วย (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 203) แก๊สออกซิเจน (O2) แพร่เข้าสู่เซลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แพร่ออกสู่น้ า ภาพที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สของพลานาเรีย ที่มา : https://www.dreamstime.com/illustration-what-made-ink-pencilpaper-then-was-digitalized-planaria-flatworm-illustration-drawing-engravingink-image135185007


20 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ไส้เดือนดิน เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก ล าตัวกลมและขนาดร่างกายใหญ่กว่าพลานาเรียมาก ยังไม่มีโครงสร้างที่ท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยเฉพาะ แต่จะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยเซลล์ที่อยู่ บริเวณผิวหนังของล าตัว ซึ่งมีลักษณะเปียกชื้น ท าให้ แก๊สออกซิเจนละลายและแพร่ผ่านผิวหนังเข้าไป ได้ดี และไส้เดือนดินยังมีระบบหมุนเวียนเลือด ซึ่งมีฮีโมโกลบิล เป็นที่ท าหน้าที่ล าเลียงแก๊สออกซิเจน ส่งไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วล าตัวได้อย่างรวดเร็ว และทั่วถึง (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, 2556, น. 3) หากเปรียบเทียบกับ ไส้เดือนดิน ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมทางผิวหนัง ซึ่งเปียกชื้นเช่นเดียวกับพลานาเรียแล้ว แต่การแพร่ของแก๊สในพลานาเรียนั้น แก๊สจะผ่านไปทีละเซลล์ ส่วนในไส้เดือนดินมีระบบหมุนเวียนเลือด ช่วยในการแพร่ของแก๊ส เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการ ของร่างกายไส้เดือนดินที่มีขนาดใหญ่กว่าแต่พื้นที่ผิวกลับน้อยกว่าพลานาเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แพร่ออกสู่อากาศ ภาพที่ 5 การแลกเปลี่ยนแก๊สของไส้เดือนดิน ที่มา : https://www.dw.com/en/earthworm-numbers-dwindle-threatening-soilhealth/a-37325923 แก๊สออกซิเจน (O2) แพร่เข้าสู่เซลล์ ผิวหนังบางและเปียกชื้นตลอดเวลา


21 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่อลม (Trachea) แมลง เช่น จิ้งหรีด ตั๊กแตน หรือแมลงสาบ ใช้ระบบท่อลม (tracheal system)โดยที่ระบบ ท่อลมประกอบด้วยรูเปิด เรียกว่า ช่องหายใจ หรือ สไปเรเคิล (Spiracle) ที่บริเวณส่วนอกและส่วนท้อง ท่อลม (trachea) และท่อลมฝอย (tracheole) ของแมลงแทรกกระจายเข้าสู่ทุกส่วนของล าตัวแมลง ท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ในขณะหายใจล าตัวของแมลงจะมีการเคลื่อนไหวและขยับอยู่เสมอท าให้ อากาศถูกปั๊มให้ไหลเข้าและออกทางช่องหายใจ และเข้าสู่ถุงลม (Air sac) ซึ่งอยู่ภายในช่องท้องเป็น จ านวนมากและถุงลมช่วยส ารองอากาศไว้ใช้ขณะบิน เมื่ออากาศผ่านเข้าสู่ถุงลมแล้ว จึงผ่านไปตาม ท่อลม และท่อลมฝอยซึ่งมีผนังบาง ที่ปลายของท่อลมฝอยเล็กๆ จะมีของเหลวบรรจุอยู่ช่วยให้แก๊ส ออกซิเจนละลายได้ และแลกเปลี่ยนแก๊สได้เป็นอย่างดี ดังนั้นระบบล าเลียงเลือดของแมลงจึงไม่ค่อยมี ความส าคัญต่อการหายใจมากนัก เพราะเนื้อเยื่อได้รับแก๊สออกซิเจนจากท่อลมฝอยได้โดยตรง (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 208) ท่อลม ถุงลม ช่องหายใจ ภาพที่ 6 ท่อลมของแมลง ที่มา : http://aibara.tripod.com/respiration.html ท่อลม


22 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปอดแผง (Book Lung) ช่องหายใจ ระบบท่อลม แมงมุม หายใจด้วยบุคลัง หรือปอดแผง (Book lung ) ซึ่งประกอบด้วย ห้องเล็กๆ ที่ติดต่อกับอากาศภายนอกได้ภายในห้องเล็กๆ นี้จะมีเยื่อซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ แบบเล่มหนังสือ ก๊าซออกซิเจนจะแพร่เข้าสู่ของเหลวภายในบุคลัง และ ถูกล้าเลียงไปยังส่วนต่างๆ ทั่วตัวแมงมุม ในขณะเดียวกันก็ล้าเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จากเนื้อเยื่อมาก้าจัดออกที่บุคลังด้วย (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 207) ภาพที่ 7 ระบบท่อลม (Trachea) ของผึ้ง ที่มา : https://dict.drkrok.com/trachea/trachea-insect/ ปอดแผง ล าไส้ หัวใจ ภาพที่ 8 ปอดแผง (Book lung) ของแมงมุม ที่มา : https://wolfspider-kingdom.weebly.com/reproductive-system.html


23 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรสปิเรทอรี ทรี (Respiratory Tree) ปลิงทะเล (sea cucumber) มีอวัยวะพิเศษที่ใช้ในการหายใจ 1 คู่ เรียกว่า เรสปิเรทอรี ทรี (respiratory tree) มีลักษณะเป็นท่อยาวๆ ที่แตกแขนงมากมายคล้ายกิ่งไม้ ท่อนี้ต่ออยู่กับโคเอกา (Cloaca) ทางด้านท้ายของล าตัว เมื่อกล้ามเนื้อโคเอกาคลายตัวพร้อมด้วยกล้ามเนื้อหูรูดบริเวณ ทวารหนัก ท าให้น้ าถูกดูดเข้าไปในโคเอกา และเมื่อกล้ามเนื้อของโคเอกาหดตัวจะท าให้น้ าไหลผ่าน เข้าสู่เรสปิเรทอรี ทรี แล้วน้ าถูกปล่อยออกนอกร่างกายทางช่องโคเอกาและทวารหนักตามล าดับ การเคลื่อนเข้าและออกของน้ าสลับกัน จะท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สขึ้นที่เรสปิเรทอรี ทรี (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 206) ช่องตะแกรงน้ าเข้า ช่องโคเอกา ภาพที่ 9 เรสปิเรทอรี ทรี (respiratory tree) ของปลิงทะเล ที่มา : https://slideplayer.in.th/slide/3189404 เรสปิเรทอรี ทรี


24 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เหงือก (Gill) ในสัตว์น้ าหลายชนิด เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ล้วนมีเหงือกเป็นอวัยวะ ท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส กับน้ า โดยมีพื้นที่สัมผัสกับน้ ามากมาย เนื่องจากในน้ ามีปริมาณแก๊สออกซิเจนละลายน้อยกว่าบนบก และในเหงือกของสัตว์ชั้นสูงจะมีหลอดเลือดฝอยมาเลี้ยงเหงือก อาจมีผิวบางๆ หรือมีเซลล์เพียง แถวเดียวกั้นระหว่างเลือดกับน้ าหรือมีผนังหลอดเลือดบางๆ เพื่อสะดวกในการรับออกซิเจนจากน้ า และ คายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด ปลา เหงือกปลาจะมีแผ่นแก้ม (Operculum) ปิด โดยเฉพาะบริเวณของแผ่นแก้มด้านที่ติดกับ ล าตัวนั้นเปิดปิดได้ เมื่อปลาอ้าปากให้น้ าผ่านปากเข้าไป ปลายนี้จะปิด และเมื่อปลาต้องการให้น้ าไหล ผ่านเหงือกไปปลายแผ่นแก้มด้านนี้จะเปิด เส้นเหงือก หลอดเลือดฝอย ภาพที่ 10 เหงือกปลา ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2556 : 6) เหงือก หลอดเลือด หลอดเลือดฝอย เส้นเหงือก


25 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากภาพที่ 10 จะเห็นซี่เหงือกที่มีหลอดเลือดฝอยแทรกอยู่ในแขนงของซี่เหงือกการที่เหงือก ปลาแตกแขนงเป็นเส้นเล็กๆ จ านวนมาก เป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวที่จะได้สัมผัสกับออกซิเจนในน้ า โดยมี เยื่อบางๆ ของเหงือกอยู่ใกล้ชิดกับหลอดเลือดมากท าให้ออกซิเจนแพร่จากน้ าเข้าหลอดเลือดได้ง่ายขึ้น ปลาจะอ้าปากฮุบน้ า และหุบปากไล่น้ าผ่านไปทางช่องเหงือก ดังนั้นจะเห็นแผ่นแก้มหรือกระดูก ปิดเหงือกปลาเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาเป็นจังหวะพอเหมาะพอดีกับการอ้าปากและหุบปากของปลา ถึงแม้ในน้ ามีปริมาณออกซิเจนละลายอยู่เพียง 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตรก็ตาม ปลาก็ยังสามารถ รับออกซิเจนจากน้ าด้วยกระบวนการดังกล่าวนี้ อย่างเพียงพอกับความต้องการตลอดเวลา (สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2556, น. 5) ปอด (Lung) ปอด(Lung) เป็นอวัยวะที่ท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ชั้นสูง เช่น ปลามีปอด (Lung fish), หอยทาก,สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ าที่โตแล้ว (ยกเว้นซาลามานเดอร์) และในสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ กบ ในขณะที่กบเป็นตัวอ่อน เรียกว่า ลูกอ๊อดอาศัยอยู่ในน้ าหายใจด้วยเหงือกซึ่งอยู่นอกตัว แต่เมื่อกบเจริญเติบโตเป็นกบจะหายใจด้วยปอด (Lung) และผิวหนัง ทางเดินหายใจของกบ ประกอบด้วยรูจมูก (external nare) 1 คู่ โพรงจมูก (nasal cavity) รูจมูกภายใน (internai nare) 1 คู่ โพรงปาก (mouth cavity) คอหอย (pharynx) ช่องลมหรือกลอททิส (glottis) กล่องหลอดลม (laryngotrancheal chamber) ซึ่งภายมีเส้นเสียง (vocal cord) บรรจุอยู่ และปอด 1 คู่ ปอดของ กบห้อยอยู่ภายในช่องล าตัว ผนังด้านในของปอดกบจะย่น ท าให้เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ได้มากขึ้น ที่ปอดกบมีเส้นเลือดฝอยมาเลี้ยงจ านวนมาก เพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนและล าเลียงแก๊ส กบไม่มีหลอดลมเพราะไม่มีคอ ไม่มีกะบังลม ไม่มีซี่โครงและกล้ามเนื่อยึดกระดูกซี่โครง จึงมีการหายใจ แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมทั่วไป (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 208) รูจมูก ปอด ภาพที่ 11 อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สของกบ ที่มา : https://www.tutorvista.com/content/biology/biologyii/respiration/frog-gaseous-exchange.php


26 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สัตว์เลื้อยคลาน มีผิวหนังหนาและอาจมีเกล็ดหรือกระดองปกคลุมอยู่ด้วย สัตว์เลื้อยคลาน จึงแลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอดเท่านั้น นก การหายใจของนกต่างไปจากสัตว์อื่น ๆ เพราะนกเคลื่อนที่ด้วนการบิน จึงต้องใช้พลังงาน มาก เพื่อลอยตัวอยู่ในอากาศ ดังนั้นนกจึงมีวิวัฒนาการจนท าให้กระดูกเบา โดยมีโพรงอยู่ในกระดูก และตามโพรงเหล่านั้นมีถุงลม (Air sacs) แทรกเข้าไปโครงสร้างเช่นนี้จึงช่วยในการบินและแลกเปลี่ยน แก๊สด้วยถุงลมเหล่านี้ท าหน้าที่เก็บส ารองอากาศไว้ให้นกใช้แลกเปลี่ยนแก๊สโดยถุงลมจ านวน 8–9 ถุงนี้มี ทางติดต่อกับปอด เมื่อนกหายใจผ่านหลอดลมคอเข้าไปอากาศจะแยกออกไปตามหลอดลมเข้าสู่ปอด บางส่วนผ่านเลยเข้าไปยังถุงลม นกแลกเปลี่ยนแก๊สกับอากาศในปอดก่อน เมื่อหายใจออกอากาศในปอด จะออกไปและอากาศจากถุงลมที่ต่อจากปอดจะเข้าไปแทนที่ นกจึงสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้อีกครั้ง ดังนั้นนกสูดลมหายใจเข้าออกแต่ละครั้ง ปอดสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้ 2 ครั้ง ซึ่งมากกว่าสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยน้ านมเท่าตัว (ประสงค์ หล าสะอาด และจิตเกษม หล าสะอาด, 2550, น. 210) ถุงลมส่วนหน้า ถุงลมส่วนหลัง ท่อลม ปอด ภาพที่ 12 โครงสร้างที่ใช้แลกเปลี่ยนแก๊สของนก ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2556 : 7) แขนงหลอดลมในปอด หายใจเข้า หายใจออก อากาศ อากาศ ถุงลมส่วนหลัง ถุงลมส่วนหน้า ท่อลม หมายถึง การขยายและการหดของถุงลมขณะที่มีการหายใจเข้าและหายใจออก หมายถึง การหมุนเวียนของอากาศ


27 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปอดเป็นอวัยวะที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สกับบรรยากาศ อยู่ภายในล าตัว อากาศจากภายนอก ผ่านทางรูจมูกเข้าหลอดลม ซึ่งมีขนาดเล็กลงทุกที พร้อมกับมีการแตกแขนงเป็นหลอดลมฝอย ในสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้ านมส่วนสุดท้ายของปอด คือถุงลมหรือ อัลวีโอลัส (Alveolus) ซึ่งเป็นถุงลมขนาดเล็ก จ านวนมาก ลักษณะของถุงลมมีเยื่อบางๆ เป็นผนังและมีหลอดเลือดฝอยหุ้มถึงเหล่านี้อยู่ทั่วๆ ไป เพราะ ยิ่งมีพื้นที่ผิวส าหรับแลกเปลี่ยนแก๊สกับระบบหมุนเวียนเลือดมากเท่าใด การแลกเปลี่ยนแก๊สยิ่งมาก การแลกเปลี่ยนแก๊สใช้หลักการแพร่ และมีหลักเช่นเดียวกับอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์อื่นๆ คือ ต้องมีผนังบางและมีความชื้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม ใช้ปอดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ปอด ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม เช่น หมู ปอดจะแทรกอยู่ในทรวงอก มี 2 ข้าง โดยจะมีทางเดินอากาศ เริ่มจากจมูก, ปาก เคลื่อนที่ไปยัง โพรงจมูก, ช่องปาก ลงสู่คอหอย ผ่านหลอดลม ซึ่งหลอดลมจะมีกระดูกอ่อนรูปเกือกม้าอยู่ภายใน เพื่อป้องกันการตีบตัวของทางเดินอากาศ จากนั้นหลอดลมจะแตกแขนงเป็นหลอดลมฝอยขนาดเล็กลง เรื่อยๆ และปลายสุดจะมีถุงลม (Alveolus) จ านวนมาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส บริเวณ ถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยง เพื่อน าเลือดมาแลกเปลี่ยนแก๊ส ท าให้ปอดมีสีชมพูอมแดง


28 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สรุปความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการแก๊สออกซิเจน เพื่อน าไปเป็นปัจจัยในการสลายโมเลกุลของสารอาหาร เพื่อสร้างพลังงานในการด าเนินชีวิต และจะมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นของเสียเกิดขึ้น ดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึงจ าเป็นต้องมีการหายใจ เพื่อน าแก๊สออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการ เมแทบอลิซึม และปล่อย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะมีโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สแตกต่างกัน ดังนี้ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม แลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ สัตว์ขนาดเล็ก เช่น ฟองน้ า ไฮดรา พลานาเรีย แลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ผ่านผิวหนัง ไส้เดือนดิน แลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ผ่านผิวหนัง และมีระบบหมุนเวียนเลือดช่วยในการ ล าเลียงแก๊สไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย แมลง แลกเปลี่ยนแก๊สโดยระบบท่อลม ซึ่งจะมีท่อลมฝอยแทรกไปตามเนื้อเยื่อ สามารถ แลกเปลี่ยนแก๊สได้โดยตรงกับเนื้อเยื่อ ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลงจึงไม่จ าเป็นต้องล าเลียงแก๊ส และ แมลงที่บินได้บางชนิดมีถุงลม (Air Sac) ท าหน้าที่ส ารองอากาศไว้ขณะบิน แมงมุม แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอดแผง ปลา และสัตว์น้ าส่วนใหญ่ แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก ซึ่งมีลักษณะเป็นซี่จ านวนมาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส เนื่องจากในน้ ามีปริมาณแก๊สออกซิเจนละลายอยู่น้อยกว่าบนบก กบ ขณะเป็นตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ า แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก เมื่อเจริญเติบโตขึ้นจะ แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด และผิวหนัง สัตว์เลื้อยคลาน แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด นก แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด และนกบางชนิดมีถุงลม (Air Sac) ท าหน้าที่ส ารองอากาศ ไว้ขณะบิน ท าให้มีการแลกเปลี่ยนแก๊สประสิทธิภาพมาก เนื่องจากหายใจเข้า – ออก 1 ครั้ง สามารถ แลกเปลี่ยนแก๊สได้ถึง 2 ครั้ง ปอด พบในหอยทาก , ทาก , สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบนบกส่วนใหญ่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม เช่น หมู ปอดจะแทรกอยู่ในทรวงอก มี 2 ข้าง ปอดแต่ละข้าง จะมีถุงลม (Alveolus) จ านวนมาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ลักษณะของโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส จะมีลักษณะ บาง เปียกชื้นอยู่เสมอ และมีพื้นที่จ านวนมาก (จิรัสย์ เจนพาณิชย์, 2553, น. 89)


29 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ แผนผังความคิด หรือ Mind Map สรุปโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและของสัตว์(5 คะแนน) ใบงานที่ 1


30 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ตอบค าถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (5 คะแนน) 1. ลักษณะที่ส าคัญ ของโครงสร้างที่ใช้ในการการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ชนิดต่างๆ ควรจะเป็นอย่างไร ตอบ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ าส่วนใหญ่ พร้อมอธิบายว่าโครงสร้างชนิดนั้น เหมาะสมต่อการท าหน้าที่อย่างไร ตอบ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธิบายสาเหตุที่การแลกเปลี่ยนแก๊สของแมลง ไม่จ าเป็นต้องล าเลียงในระบบหมุนเวียนเลือด ตอบ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. นกมีถุงลม (Air Sac) แทรกเข้าไปในช่องว่างของล าตัวนก เพื่อท าหน้าที่อย่างไร ตอบ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จงอธิบาย เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการแลกเปลี่ยนแก๊สของพลานาเรีย กับไส้เดือนดิน ตอบ………………………….……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………. ใบงานที่ 2


31 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ โยงเส้นจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างคอลัมน์A และคอลัมน์B ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) คอลัมน์A 1. อะมีบา, พารามีเซียม 2. ไฮดรา, พลานาเรีย 3. ผึ้ง, ยุง 4. แมงมุม 5. ไส้เดือนดิน 6. กบ 7. ปลากระเบน 8. นกเหยี่ยว 9. แมว, วัว 10. หลอดลม ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ.... ง่ายนิดเดียว คอลัมน์ B แลกเปลี่ยนแก๊สโดยระบบท่อลม แลกเปลี่ยนแก๊สโดยกำรแพร่ผ่ำนผิวหนัง และ ยังมีระบบหมุนเวียนเลือดช่วยล ำเลียงแก๊ส แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ซี่เหงือกที่มีจ ำนวนมำก มีถุงลม (Air Sac) ช่วยส ำรองอำกำศไว้ แลกเปลี่ยนแก๊สขณะบิน แลกเปลี่ยนแก๊สโดยกำรแพร่ผ่ำนผิวหนัง แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด แลกเปลี่ยนแก๊สโดยกำรแพร่ผ่ำนเยื่อหุ้มเซลล์ ขณะเป็นตัวอ่อนแลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก เมื่อเป็นตัวเต็มวัย ใช้ปอดและผิวหนัง ทำงผ่ำนของอำกำศเข้ำไปยังปอด มีกระดูก อ่อนเพื่อป้องกันกำรตีบตัว แลกเปลี่ยนแก๊สโดยปอดแผง ใบงานที่ 3


32 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ค าชี้แจง 1. แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ มีจ านวน 20 ข้อ ใช้เวลาในการสอบ 15 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวแล้วท าเครื่องหมาย ลงในกระดาษค าตอบ 1. นกมีถุงลม (Air Sac) แทรกเข้าไปในช่องว่างของล าตัว เพื่อท าหน้าที่ใด ก. ส ารองอากาศเอาไว้ให้นกใช้ขณะบิน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีขึ้น ข. ท าให้กระดูกพรุน ตัวจะเบาสะดวกในการบินได้ดีขึ้น ค. เพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากขึ้น ง. เป็นถุงเก็บพักอาหารเอาไว้ ก่อนน าไปย่อย 2. การแลกเปลี่ยนแก๊สของพลานาเรีย แตกต่างจากไส้เดือนดินอย่างไร ก. พลานาเรียแก๊สออกซิเจนจะแพร่ผ่านเข้าไปทีละเซลล์ แต่ไส้เดือนดินมีหลอดเลือดฝอย รับแก๊สออกซิเจนแพร่เข้าไป ข. ไส้เดือนดินอาศัยอยู่บนบก พลานาเรียอาศัยอยู่ในน้ า วิธีการแลกเปลี่ยนแก๊ส จึงแตกต่างกัน ค. พลานาเรียแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีกว่าไส้เดือนดิน เพราะอยู่ในน้ าแก๊สออกซิเจนมีมากกว่า ง. ใช้ผิวล าตัวที่เปียกชื้นเหมือนกัน แต่พื้นที่ผิวของพลานาเรียน้อยกว่าไส้เดือนดิน 3. ระบบ หรืออวัยวะที่ใช้ในการการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์แบบใด ที่สามารถน าแก๊สออกซิเจน ไปให้เซลล์ต่างๆ ได้โดยตรง ก. ระบบท่อลม ข. ผิวหนัง ค. เหงือก ง. ปอด แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


33 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4. แมลงควรมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงให้ร่างกายมีขนาดใหญ่โตมากๆ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ก. น่าจะไม่ได้ เพราะร่างกายขนาดใหญ่โตมากจะต้องกินอาหารมากขึ้นอาหารอาจจะ ไม่เพียงพอ ข. น่าจะไม่ได้ เพราะแมลงจะแลกเปลี่ยนแก๊สไม่ทัน เนื่องจากใช้ระบบท่อลมเหมือนเดิม ค. น่าจะได้ เพราะแมลงมีการปรับตัวได้ดีทั้งรูปร่าง และการด ารงชีวิต ง. น่าจะได้ เพราะแมลงมีจ านวนและชนิดมากมายกว่าสัตว์ชนิดอื่นๆ 5. ข้อใดระบุความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของสัตว์กับโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ไม่ถูกต้อง ก. แมงมุม – ระบบท่อลม ข. ผีเสื้อ – ระบบท่อลม ค. ไส้เดือนดิน – ผิวหนัง ง. ปลา – เหงือก 6. นกมีถุงลม (Air Sac) หลายถุงที่ติดกับปอดของมัน, แมลงที่บินได้ก็มีถุงลม (Air Sac) จ านวน มากมายที่ติดกับช่อง Spiracle โครงสร้างประเภทนี้ไม่พบในสัตว์บกชนิดอื่น ถุงลม (Air Sac) ของ สัตว์ทั้ง 2 ชนิดนี้ น่าจะท าหน้าที่ใด ก. ส ารองอากาศส่งอากาศผ่านท่อลมหรือปอดอย่างรวดเร็วในขณะบิน ข. ให้แก๊สแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอยเพิ่มมากและเร็วขึ้น ค. คล้ายกระบังลม ช่วยบังคับให้สูดลมหายใจได้ ง. ท าให้ตัวเบาขึ้น บินได้ดีขึ้น 7. สัตว์ชนิดใดต่อไปนี้ ที่มีระบบแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเซลล์ในร่างกายท าหน้าที่ได้ โดยไม่ต้องอาศัย ระบบหมุนเวียนเลือดในการล าเลียงแก๊สเลย ก. ไส้เดือนดิน ข. หมึกกล้วย ค. ตั๊กแตน ง. ปลา 8. เปรียบเทียบระหว่างของสัตว์น้ ากับสัตว์บก การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ชนิดใดได้เปรียบกว่า เพราะอะไร ก. สัตว์น้ าได้เปรียบกว่า เพราะพื้นที่ผิวของอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สมีความชื้นตลอดเวลา ข. สัตว์น้ าได้เปรียบกว่า เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ ามักมีน้อยกว่าบนบก ค. สัตว์บกได้เปรียบกว่า เพราะพื้นที่ผิวของอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สไม่มีความชื้นมาก ง. สัตว์บกได้เปรียบกว่า เพราะปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ ามีน้อยมาก


34 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 9. ลักษณะของโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของร่างกาย ควรจะมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นแผ่นบางๆ และซ้อนกันจ านวนมาก ข. มีความบาง และความชื้นอยู่เสมอ ค. มีน้ ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา ง. มีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยง 10. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว พวกโพรทิสต์ เช่น อะมีบา, พารามีเซียม แลกเปลี่ยนแก๊สโดยวิธีใด ก. แพร่ผ่านผนังเซลล์ (Cell Wall) ข. แพร่ผ่านผิวหนังของล าตัว ค. หายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ง. แพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 11. สิ่งมีชีวิตชนิดใดใช้เยื่อหุ้มเซลล์เป็นโครงสร้างท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ซึ่งคล้ายกับการ แลกเปลี่ยนแก๊สของเซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม ก. พลานาเรีย ข. ไส้เดือนดิน ค. แมลง ง. อะมีบา 12. อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ า ส่วนใหญ่คืออะไร ก. Book lungs ข. Trachea ค. Lungs ง. Gills 13. Respiratory tree เป็นอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ชนิดใด ก. แม่เพรียง ข. ดาวทะเล ค. ปลิงทะเล ง. ปลิงน้ าจืด 14. ถ้านกที่บินได้ มีปอดเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม จะเกิดปัญหาอย่างไรกับการบินของนกนั้น ก. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถุงลมส าหรับรองรับอากาศ ข. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถุงลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส ค. ไม่สามารถบินได้ เพราะ ไมมีถุงลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส ง. ไม่สามารถบินได้ เพราะไม่มีถุงลม (air sac)


35 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 15. ระบบการแลกเปลี่ยนก๊าซของสัตว์ในน้ า เช่น ปลา กุ้ง มีการปรับตัวอย่างไร ก. มีโครงสร้างช่วยท าให้น้ าไหลหมุนเวียนผ่านอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ข. เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ค. มีการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านผนังล าตัว ง. ไม่มีข้อถูก 16. ระบบหายใจท างานสัมพันธ์กับระบบอวัยวะในข้อใดมากที่สุด ก. ระบบหมุนเวียนเลือด ข. ระบบย่อยอาหาร ค. ระบบภูมิคุ้มกัน ง. ระบบขับถ่าย 17. กลไกที่ซี่เหงือกของสัตว์น้ าจะรับออกซิเจนได้ คือข้อใด ก. ให้น้ าไหลออกจากช่องปาก ผ่าน Operculum ออกไป เป็นการท าให้น้ าไหลชะเหงือกไปอย่าง สม่ าเสมอ ข. แผ่นแก้ม Operculum เคลื่อนไหวตลอดเวลา เป็นจังหวะพอดีกับการอ้าปากหุบปากของปลา ค. มีหลอดเลือดฝอยในซี่เหงือกสัมผัสกับน้ ามากที่สุด เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ง. ขณะที่ปลาว่ายน้ าอย่างรวดเร็ว จะอ้าปากกินน้ า 18. อวัยวะใดที่ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สขณะหายใจได้โดยตรง ก. ถุงลมเล็กๆ ในปอดของนก ข. เหงือกของปลาหมอ ค. ผิวหนังของกบ ง. จมูกของแมว 19. สัตว์ต่อไปนี้ ข้อใดที่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้ปอด ก. ปลาปากกลม ข. ลูกอ๊อดกบ ค. หอยทาก ง. ม้าน้ า 20. การล าเลียงสารโดยกระบวนการแพร่ เกิดขึ้นในสัตว์พวกใดต่อไปนี้ ก. สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ า ข. สัตว์มีกระดูกสันหลัง ค. สัตว์ทุกชนิด ง. สัตว์ชั้นต่ า


36 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้....................................คะแนน เกณฑ์การผ่าน ต้องได้ 14 คะแนนขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน


37 เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ชุดกิจกรรมการจัดการการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เอกสารอ้างอิง จิรัสย์ เจนพาณิชย์. (2552).BIOLOGY for high school students. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: หจก.สามลดา. ประสงค์ หล าสะอาด, และจิตเกษม หล าสะอาด. (2550). คู่มือสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 – 2. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนา จ ากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ. (2556). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.


Click to View FlipBook Version