คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน
1. งานสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาข้นั พื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบ
2. งานสง่ เสริมสขุ ภาพอนามัย
3. งานสง่ เสรมิ กิจกรรมประชาธปิ ไตยและวนิ ัยนักเรยี น
4. งานส่งเสรมิ พัฒนาสร้างความเข้มแข็ง องค์กรสภานักเรียนเด็กและเยาวชน
ในสถานศึกษา
5. งานป้องกันแก้ไขปญั หาโรคเอดส์และเพศศึกษา
6. งานวิเทศสมั พันธ์
7. งานโครงการแลกเปลีย่ นนกั เรยี นทนุ ระหว่างประเทศ
8. ปฏิบัติงานอ่ืนหรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานอ่ืนที่เกีย่ วขอ้ ง
นางชฎาพร ปราโมทย์
นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการพิเศษ
กลมุ่ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
คานา
คมู่ ือปฏบิ ัติงานฉบับน้ี จดั ทาขึ้นเพือ่ ใชป้ ระกอบการปฏิบตั ิงานท่ีกาหนดไวใ้ นมาตรฐาน
กาหนดตาแหน่งและมาตรฐานงาน โดยใช้แนวทางของคู่มือการปฏิบัติงานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก โดยเติมเต็มในส่วน
รายละเอียดของขั้นตอนการปฏิบัติงาน แบบฟอร์มที่ใช้และเอกสารที่เก่ียวข้อง คู่มือฉบับน้ีมีคาอธิบาย
การปฏิบัติงาน มีเน้ือหาสาระที่สมบูรณ์ และมีรายละเอียด ครอบคลุมเน้ือหาในแต่ละเรื่อง ในแต่ละงาน
โดยจัดทาลักษณะออนไลน์ในเว็บไซต์ของกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 สามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงเมื่อมีการเปล่ียนแปลงการปฏิบัติงานรวบรวม
กฎหมาย พระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักการปฏิบัติในหน้าท่ีความรับผิดชอบ ทันสมัยตรง
กับสมัยปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นแนวปฏิบัติให้กับเจ้าหน้าท่ีในการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและเป็นระบบมากข้ึน
ในการเสริมสร้างประสทิ ธภิ าพการปฏิบัติงาน
ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาส่งผลให้ภาระงานมีความครอบคลุม
ถกู ตอ้ งและชดั เจนมากย่งิ ข้ึนขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้
(นางชฎาพร ปราโมทย์)
นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ
ธันวาคม 2563
สารบัญ หนา้
คานา 1
งานกลุ่มส่งเสริมการจัดการศกึ ษา 1
1
วัตถปุ ระสงค์ 2
ขอบข่ายของคู่มือ 2
ขนั้ ตอนการจดั ทา 3
ประโยชนข์ องคู่มอื 4
คาจากัดความ
4
ขอบขา่ ย/ภารกจิ การปฏิบตั งิ าน
แนวทางรายละเอยี ดการปฏบิ ัติงาน 4
7
1. งานส่งเสริมการจัดการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานในรปู แบบการศึกษานอกระบบ 14
2. งานสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั 19
3. งานสง่ เสรมิ กจิ กรรมประชาธิปไตยและวนิ ัยนักเรียน
4. งานสง่ เสริมพัฒนาสรา้ งความเข้มแข็ง องคก์ รสภานกั เรยี นเด็ก 20
23
และเยาวชนในสถานศึกษา 25
5. งานป้องกนั แก้ไขปัญหาโรคเอดสแ์ ละเพศศึกษา 27
6. งานวเิ ทศสมั พันธ์ 27
7. งานโครงการแลกเปลย่ี นนักเรียนทนุ ระหว่างประเทศ
8. ปฏิบัตงิ านอน่ื หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานอ่ืนทีเ่ กีย่ วข้อง
การเสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพการปฏิบัตงิ าน
งานกลุ่มสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4
คู่มอื การปฏิบตั ิงานฉบบั น้ีได้จัดทาขนึ้ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ท่ี
ผ้รู บั ผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามอานาจหนา้ ท่ที ่ไี ด้กาหนด และปฏิบตั ิงานได้อย่างมี
คณุ ภาพ มาตรฐาน ครอบคลมุ และเกดิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากยิง่ ขน้ึ
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้กลุม่ ส่งเสริมการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
เชียงใหม่ เขต 4 มีค่มู ือการปฏบิ ัติงานท่ีชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร ทันสมัย เข้าถงึ ไดง้ ่าย แสดงถงึ
รายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
2. เพ่อื เป็นหลักฐานแสดงวิธีการทางานทส่ี ามารถถา่ ยทอดใหก้ ับผู้เขา้ มาปฏิบตั งิ านใหม่
3. เพ่ือพฒั นาการทางานของบุคลากรใหเ้ ป็นมืออาชีพ
4. เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงานให้เกดิ คุณภาพ ผู้เกี่ยวขอ้ งมีความพึงพอใจ
ขอบเขตของคู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน
ค่มู ือการปฏิบตั ิงานเลม่ น้ีได้กาหนดขอบเขตงานการปฏิบตั งิ าน ดังน้ี
1. งานสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐานในรปู แบบการศึกษานอกระบบ
2. งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัย
3. งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตยและวนิ ัยนักเรียน
4. งานส่งเสริมพฒั นาสร้างความเข็มแขง็ องคก์ รสภานักเรียนเดก็ และเยาวชนในสถานศึกษา
5. งานป้องกันแก้ไขปญั หาโรคเอดส์และเพศศึกษา
6. งานวิเทศสัมพนั ธ์
7. งานโครงการแลกเปลย่ี นนักเรียนทนุ ระหว่างประเทศ
9. การเสรมิ สร้างประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน
10. สนบั สนุนการปฏิบตั ิงานอ่ืนทีเ่ ก่ยี วข้อง
ข้ันตอนการจดั ทา
1. ศึกษารายละเอยี ดและวเิ คราะหง์ านจากเอกสารคมู่ ือการปฏิบตั ิงานกลุ่มส่งเสริมการจัด
การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
2. สังเกตการปฏบิ ัตงิ านจริง
3. จัดทา Work Flow อย่างง่าย
4. จัดทารายละเอียดในแตล่ ะขน้ั ตอน
5. มกี ารทดสอบโดยให้ผู้ปฏิบัตงิ านอ่าน และผ้ทู ไ่ี มไ่ ด้ปฏบิ ัติงานอา่ น
6. ตรวจสอบกับนิตกิ ร ว่ามปี ระเด็นใดขัดตอ่ กฎหมาย หรอื กฎระเบยี บของทางหนว่ ยงาน
หรือไม่ หากมใี หแ้ ก้ไขปรับปรุง
7. ขออนมุ ตั ิจากหวั หนา้ หนว่ ยงาน
8. ดาเนินการแจกจ่ายหรอื เผยแพร่
9. ชแ้ี จงทาความเข้าใจกบั เจา้ หนา้ ที่
10. รวบรวมขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรบั ปรงุ คู่มือใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ
-2-
ประโยชนข์ องคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน
1. ช่วยลดการตอบคาถาม
2. ช่วยลดเวลาในการสอนงาน ในสานกั งานหรือหน่วยงานมกั จะมขี า้ ราช การยา้ ยเข้าย้าย
ออกเสนอ และจะต้องมีการสอนงานใหม่เกดิ ขึ้น เพื่อให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานของสานักงาน ดังนน้ั คมู่ อื การ
ปฏบิ ัตงิ านจะช่วยประหยัดเวลาในการสอนงานได้มาก
3. ช่วยเสริมสร้างความมนั่ ใจในการทางาน ปัญหาในลกั ษณะทวี่ า่ ผ้ปู ฏิบตั ิ งานไม่แนใ่ จใน
ข้ันตอนการทางาน หรือไม่มั่นใจว่าทาๆไปแล้วถูกระเบียบหรือเปล่า การมีคู่มือช่วยลดปัญหาเหล่านี้และทาให้
สามารถทางานดว้ ยความม่นั ใจยิง่ ขึ้น
4. ช่วยใหเ้ กิดความสม่าเสมอในการทางาน หลายครง้ั ทไี่ ม่สามารถชว้ี ัดวา่ ใครทางานมี
ประสทิ ธภิ าพมากกว่าใคร สามารถใชค้ ู่มือเป็นบรรทดั ฐานในการเปรยี บเทียบ และปรบั ให้การทางานมรี ปู แบบ
และมาตรฐานเดยี วกันได้
5. ช่วยลดความขัดแยง้ ที่อาจเกดิ ข้ึนในการทางาน
6. ทาให้การปฏิบตั งิ านเป็นแบบมืออาชีพ เม่อื มบี คุ คลภายนอกมาเยี่ยมชม ดูงาน หรือมีผมู้ า
ตรวจประเมิน การมีคู่มือการปฏบิ ัติงานจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงความเปน็ แบบมืออาชีพในการปฏิบัตงิ าน และชว่ ยให้
สามารถอธบิ ายกระบวน งานได้อยา่ งรวดเร็วและมปี ระสทิ ธิภาพ
7. ช่วยในการปรับปรงุ งานและออกแบบกระบวนงานใหม่ การลดข้ันตอน และระยะเวลาอาจ
เป็นสิ่งที่ต้องปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง การมีคู่มือจะช่วยเป็นฐานทาให้สามารถปรับปรุงงาน หรือออกแบบ
ระบบงานใหมไ่ ดง้ า่ ยขนึ้
คาจากัดความ
คู่มอื การปฏิบตั ิงาน หมายถงึ เอกสารที่เจ้าหน้าท่ีกลุม่ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาจัดทาขึ้นมาเพื่อ
เป็นแนวทางใหบ้ คุ ลากรในกลุ่มใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานทส่ี ามารถปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพการการปฏิบัตงิ าน
ในปัจจบุ ัน ประกอบด้วย หวั ข้อเนื้อหา วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตการปฏบิ ัตงิ าน คาจากัดความ/พื้นฐานความรู้
ขั้นตอน/รายละเอยี ดการปฏิบตั ิงาน Flow Chart แบบฟอร์ม เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง
Flow Chart หมายถึง การใช้สญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ ในการเขยี นแผนผงั การทางาน เพ่ือให้เห็นถึง
ลักษณะ และความสมั พันธ์ก่อนหลังของแต่ละขัน้ ตอนในกระบวนการทางาน สัญลกั ษณ์ ของ Flow Chart
จดุ เรม่ิ ต้นและสิ้นสดุ ของกระบวนการ
กิจกรรมและการปฏบิ ตั งิ าน
การตัดสนิ ใจ เชน่ การตรวจสอบ การอนุมัติ
แสดงถึงทศิ ทาง หรอื การเคล่อื นไหวของงาน
จุดเช่ือมต่อระหวา่ งขัน้ ตอน
-3-
ขอบข่าย/ภารกิจการปฏบิ ัติงาน
1. งานสง่ เสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบ
ขอบข่ายงาน ภารกิจ
การศกึ ษานอกระบบ
1) การสง่ เสรมิ การจดั การศึกษานอกระบบใหเ้ ช่อื มโยงกับการจดั
การศึกษาในระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2) การสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาทางเลือก
2. งานสง่ เสริมสุขภาพอนามยั
ขอบข่ายงาน ภารกจิ
งานสุขภาพอนามัย การสง่ เสริมสุขภาพอนามยั
3. งานสง่ เสริมกิจกรรมประชาธิปไตยและวินัยนกั เรยี น
ขอบข่ายงาน ภารกิจ
งานประชาธิปไตยและวนิ ยั นกั เรยี น การสง่ เสรมิ กจิ กรรมประชาธิปไตยและวนิ ัยนักเรียน
4. งานส่งเสริมพัฒนาสรา้ งความเขม้ แข็งองค์กรสภานักเรียนเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา
ขอบข่ายงาน ภารกจิ
งานสรา้ งความเข้มแข็งองค์กรสภานกั เรยี น การส่งเสรมิ พฒั นาและสรา้ งความเข้มแขง็ องคก์ รสภานักเรียน
เดก็ เยาวชนในสถานศึกษา เดก็ เยาวชนในสถานศึกษา
5. งานปอ้ งกนั แก้ไขปัญหาโรคเอดสแ์ ละเพศศกึ ษา
ขอบข่ายงาน ภารกจิ
งานป้องกันแก้ไขปญั หาโรคเอดสแ์ ละ - ป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมทางเพศ ปญั หาโรคติดต่อ
เพศศึกษา ทางเพศสมั พันธ์และปัญหาเอดส์ในกล่มุ นักเรียนและนักศกึ ษา
- ประสานและเขา้ รว่ มกจิ กรรมกับหนว่ ยงานสาธารณสขุ
เพ่ือใหค้ วามรู้ จัดหาสอื่ อุปกรณ์ เพอ่ื จัดกจิ กรรมการเรียนการ
สอนเพศศกึ ษา
- ติดตามผลเป็นระยะอย่างต่อเนอ่ื งเพ่ือรว่ มกันแก้ปัญหา
6. งานวเิ ทศสัมพันธ์
ขอบข่ายงาน ภารกิจ
งานวิเทศสัมพันธ์ การประสานและสง่ เสริมการวเิ ทศสัมพันธ์
-4-
7. งานโครงการแลกเปล่ียนนักเรยี นทนุ ระหว่างประเทศ
ขอบขา่ ยงาน ภารกิจ
โครงการแลกเปล่ียนนกั เรียนทุนระหว่างประเทศ
งานแลกเปลยี่ นนกั เรยี นทนุ ระหวา่ ง
ประเทศ
8. การเสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
9. ปฏบิ ัตงิ านอืน่ หรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานอนื่ ทเ่ี ก่ยี วข้อง
แนวทางรายละเอยี ดการปฏิบัตงิ าน
คมู่ ือปฏบิ ตั ิงานเล่มนี้จะประกอบด้วยแนวทางรายละเอยี ดขั้นตอนและภารกจิ ประกอบด้วย 8 งาน
ดังน้ี
1. งานส่งเสรมิ การจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบ
2. งานส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัย
3. งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตยและวนิ ัยนักเรยี น
4. งานส่งเสริมพฒั นาสร้างความเขม้ แข็ง องคก์ รสภานกั เรยี นเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา
5. งานปอ้ งกันแก้ไขปัญหาโรคเอดส์และเพศศึกษา
6. งานวเิ ทศสมั พันธ์
7. งานโครงการแลกเปล่ียนนกั เรียนทนุ ระหว่างประเทศ
8. ปฏิบตั งิ านอื่นหรือสนบั สนนุ การปฏิบัติงานอนื่ ทเี่ กีย่ วข้อง
ทง้ั นเี้ พอื่ ใชเ้ ปน็ เพยี งแนวทางในการปฏิบัตงิ านให้มีในกรอบการปฏบิ ัตงิ านและมาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่
กาหนดไว้ในมาตรฐาน กาหนดตาแหน่งและมาตรฐานงาน ทั้งนี้สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเม่ือมีการ
เปล่ียนแปลงการปฏิบัติงาน กฎหมาย พระราชบัญญัติ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักการปฏิบัติในหน้าที่ความ
รบั ผิดชอบ ให้ทนั สมัยกบั ปัจจุบัน ซึ่งจะเปน็ แนวปฏิบตั ิใหก้ บั เจา้ หน้าทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งรวดเรว็ และเป็น
ระบบมากข้นึ
1. งานส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบ
1.1 วตั ถปุ ระสงค์
1) เพอื่ ให้ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับการเตรยี มความพร้อมในระดบั การศึกษาปฐมวัย
และไดร้ ับการศึกษาภาคบังคับอยา่ งทว่ั ถึงและมคี ุณภาพ มีโอกาสได้รับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
2) เพอื่ กาหนดหลักเกณฑว์ ิธกี ารและแนวทางท่ีจะเชื่อมโยงระหวา่ งการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
3) เพื่อใหผูท่มี ีหนาที่ในการจัดการศึกษาทุกฝายมีความเขาใจที่ถูกตองและจัดการศึกษา
อยางมีคณุ ภาพ
4) เพือ่ สงเสริมการจัดการศกึ ษามีการประสานงานอยางเปนระบบ
-5-
1.2 ขอบเขตการปฏบิ ัตงิ าน
1) วางแผนและกาหนดแนวทางในการสนับสนนุ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบให้
เชอ่ื มโยงกับการจัดการศึกษาในระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2) ประสานงานกบั หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องเพื่อสนับสนุนให้ผเู้ รยี นไดร้ บั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
อย่างท่วั ถึง
3) การอนญุ าตใหส้ านักงานการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จัดการศึกษาใหก้ บั
เด็กท่มี ีความจาเป็นไม่สามารถเรยี นในระบบได้
1.3 คาจากดั ความ
การศกึ ษานอกระบบ หมายถึง การศึกษาที่มคี วามยืดหยุน่ ในการกาหนดจุดมงุ่ หมาย
รูปแบบ วิธกี ารจดั การศึกษา ระยะเวลาการศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผลซงึ่ เปน็ เงอ่ื นไขสาคัญของการจดั
การศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความต้องการของ
แต่ละบคุ คลและแตล่ ะกลุ่ม
1.4 ขัน้ ตอน/รายละเอียดการปฏบิ ัติงาน
ขัน้ ตอน/รายละเอยี ดการปฏิบตั งิ าน ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ
เมษายน นางชฎาพร ปราโมทย์
1. ศกึ ษาวเิ คราะห์แนวทางการจดั การศกึ ษานอกระบบ ตลอดปี นางชฎาพร ปราโมทย์
2.มีขอบขายภารกิจความรับผิดชอบการจัดการศกึ ษานอกระบบของ พฤษภาคม นางชฎาพร ปราโมทย์
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา สถานศกึ ษาและหนวยงานทเี่ ก่ียวของ
ตลอดปี นางชฎาพร ปราโมทย์
3. วางแผนและกาหนดแนวทางในการสนบั สนุนสง่ เสรมิ การจดั การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื ให้ผ้เู รียนได้เรียนรตู้ ลอดชวี ติ ตลอดปี นางชฎาพร ปราโมทย์
4. สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจการจัดการศกึ ษานอกระบบและแนวทาง ตลอดปี นางชฎาพร ปราโมทย์
ดาเนนิ การ
มนี าคม นางชฎาพร ปราโมทย์
5. ประสานงานกับหน่วยงานหรือผเู้ กี่ยวข้องเพื่อสนับสนนุ ให้ผ้เู รียนไดร้ ับ
การศึกษาขัน้ พื้นฐานอย่างทวั่ ถึง
6. อนญุ าตใหส้ านักงานการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั จดั การศึกษาใหก้ ับเดก็ ทม่ี ีความจาเปน็ ไมส่ ามารถเรียนในระบบได้
7. สรุปรายงานผลการดาเนินงาน
1.5 Flow Chart -6-
ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ นวทางการจดั การศกึ ษานอก
ระบบ
วางแผนและกาหนดแนวทาง
สรา้ งความรคู้ วามเขา้ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ
แนวทางดาเนนิ การ
ประสานงานกบั หน่วยงานหรอื ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน
1.6 แบบฟอร์มทีใ่ ช้
-
การดาเนินงานการรับนักเรียนนอกระบบ
ข้นั ตอน
๑. ยื่นคารอ้ งขอหนังสอื รับรอง
๒. แนบเอกสาร หลักฐานดังน้ี
๒.๑ ใบรบั รองแพทย์(กรณนี ักเรยี นเจ็บ
๒.๒ เอกสารทางการศกึ ษา (ระเบยี นแสดงผลการเรยี น)
๒.๓ ใบสูตบิ ัตร
๒.๔ สาเนาทะเบยี นบ้าน
๒.๕ บตั รประจาตวั ประชาชน
๓. ตรวจสอบความถกู ต้อง และเหตุผลที่ไม่สามารถเรยี นในระบบได้
๔. เสนอผู้บงั คบั บญั ชา
5.แจง้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ
1.7 ระเบียบ/เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
1) พระราชบญั ญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551
http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=89184
2) กฎกระทรวงวา่ ด้วยการแบ่งระดบั และการเทยี บระดบั การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั
3) หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2544
4) พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5) หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2551
-7-
6) ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เร่อื งการกระจายอานาจการบริหาร
การจัดการศึกษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานไปยงั คณะกรรมการสานกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. 2561
7) ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยหลกั ฐานในการรบั นกั เรียน นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นใน
สถานศกึ ษา พ.ศ. 2548
2. งานส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัย
2.1วัตถุประสงค์
1) เพื่อส่งเสรมิ การสร้างสุขภาพการดารงสุขภาพการป้องกันโรค สมรรถภาพและ
การป้องกันโรคทง้ั โรคติดตอ่ และโรคไม่ติดต่อ
2) เพือ่ เรยี นรูเ้ กี่ยวกับหลักการและวธิ ีการเลอื กบริโภคอาหารผลิตภัณฑแ์ ละบริการสขุ ภาพ
3) เพื่อสง่ เสริมสนับสนุนด้านโภชนาการ อาหารกลางวัน และสุขภาพนกั เรียนในโรงเรยี น
4) เพอื่ สง่ เสริมภาวะโภชนาการท่ีดี ลดภาวะทุพโภชนาการนกั เรยี นไม่ใหเ้ กดิ ทพุ โภชนาการ
เตย้ี ผอม อ้วน เกินกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
5) กระต้นุ การใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาจดั อาหารกลางวนั นักเรยี นใหม้ ี
สารอาหารครบ 5 หมูถ่ ูกตอ้ งตามหลักโภชนาการ
2.2 ขอบเขตการปฏบิ ตั ิงาน
1)การสรา้ งความเข้าใจให้สถานศึกษาบุคลากรเหน็ ความสาคญั เกีย่ วกบั งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ
อนามยั ของนักเรียน
2)การประสานกับหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องในการดาเนนิ โครงการดา้ นการส่งเสริม
สขุ ภาพ
3) ประชากรวยั เรยี นให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทง้ั ด้านร่างกายและจติ ใจ
4) ส่งเสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมใหถ้ กู สุขลกั ษณะและเฝา้ ระวงั ตดิ ตามดแู ลภาวะ
โภชนาการและสุขาภบิ าลรวมถงึ การสนับสนุนป้องกนั โรคระบาดโรคตดิ ต่อทรี่ ้ายแรงและการจัดหาอุปกรณแ์ ก่
ผพู้ กิ ารและผูด้ ้อยโอกาส
5) สถานศึกษาจัดกิจกรรมเพอ่ื สุขภาพผเู้ รียนได้อยา่ งทั่วถงึ
6) ผู้ปกครอง ชุมชน และสังคมไดร้ บั การดแู ลดา้ นสุขภาพอนามัย
2.3 คาจากดั ความ/พ้นื ฐานความรู้
สขุ ภาพ หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเจริญเติบโตของร่างกายด้วย
การปฏบิ ัติดูแลอยา่ งถูกสขุ ลกั ษณะ
อนามยั หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคอย่างถูกต้องสุขลักษณะ
2.4 ขั้นตอน/รายละเอียดการปฏบิ ัตงิ าน
1) การสรา้ งความเขา้ ใจใหส้ ถานศกึ ษาบุคลากรเหน็ ความสาคัญเกย่ี วกบั งานสง่ เสริมสุขภาพ
อนามัยของนักเรยี น
2) รบั ฟงั หรอื เขา้ รว่ มประชุมเพื่อรับนโยบายและแนวปฏิบัติการสง่ เสรมิ สุขภาพอนามัย จาก
กระทรวง และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง
3) การถ่ายทอดองค์ความร้สู ่สู ถานศกึ ษาโดยผา่ นกระบวนการกิจกรรมส่งเสรมิ สุขภาพ
4) สนบั สนนุ ให้มีการตรวจสุขภาพประจาปี
-8-
5) การจดั กิจกรรมประกวดส่งเสริมสขุ ภาพดเี ด่น
6) ประสาน กากบั ติดตาม ดูแลสขุ ภาพอนามยั ของนักเรียนอย่างต่อเน่ือง
7) ส่งเสรมิ ประสานรว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการดาเนนิ โครงการส่งเสริมสขุ ภาพ เชน่
โครงการอาหารกลางวัน โครงการอาหารเสริม (นม) โครงการอาหารปลอดภยั (อ.ย.น้อย) โครงการเดก็ ไทยทา
ได้ โครงการเรียนรู้ควู่ จิ ยั เด็กไทยฟันดี โครงการฟันสวยยิ้มใส โครงการมอื สะอาดปราศจากโรค โครงการ
ควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดตอ่ โครงการสว้ มสขุ สันต์ เป็นต้น
- จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารของสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
- สรา้ งองค์ความรใู้ ห้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครูทรี่ บั ผิดชอบ และดาเนินการ
ขบั เคลื่อนตามโครงการที่กาหนด
- จัดประกวด/แข่งขัน/เฝา้ ระวังตามกาหนดระยะเวลาของกิจกรรมในทุกระดับ
- จดั หาพืน้ ที่ เวทีใหน้ ักเรียนได้แสดงผลงานหรือกิจกรรมท่ีได้ดาเนินโครงการต่อ
สาธารณชนโดยทวั่ ไป
- ประสาน กากบั ติดตามการดาเนนิ งานของโรงเรยี น
- สรุปผลรายงาน
8) ส่งเสริมให้สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ และเฝา้ ระวังติดตาม
ดแู ลภาวะโภชนาการและสุขาภบิ าลรวมถงึ การสนับสนุนป้องกนั โรคระบาด โรคติดต่อท่รี ้ายแรง และการจัดหา
อุปกรณ์แก่ผู้พิการและผู้ดอ้ ยโอกาส
- ประกาศ ประชาสัมพันธ์ ช้ีแจงนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั การส่งเสริมสุขภาพ
- การเฝา้ ระวัง สารวจ เพอื่ ชว่ ยเหลือนักเรียนตามสภาพปญั หาทีพ่ บ
- การชว่ ยเหลือดา้ นการป้องกัน ดา้ นจดั หาวสั ดุอุปกรณ์ในการเสรมิ สร้างร่างกายใหด้ ี
ขนึ้
- จัดกิจกรรมการรณรงคป์ ้องกัน เชน่ การจัดนิทรรศการ การเผยแพร่เอกสารการ
ประกวดกจิ กรรมต่าง ๆ
- การตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนินงาน
- สรปุ รายงานผล
9) ประเมิน ติดตามผลการปฏิบัตกิ ารอยา่ งต่อเนื่อง
- ศึกษาสภาพปัญหาด้านสง่ เสริมสุขภาพอนามัย
- จัดทาเคร่อื งมือให้สอดคล้องกับขอบเขตที่จะประเมินและตดิ ตาม
- ดาเนนิ การเก็บขอ้ มูล
- วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อมูล
10 สรุปผลรายงาน เผยแพรผ่ ลการติดตาม
-9-
ขัน้ ตอน/รายละเอียดการปฏิบตั งิ าน ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ
1. ศึกษา ทาความเขา้ ใจการสง่ เสรมิ สขุ ภาพในสถานศกึ ษา ตลอดปี เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
2. สรา้ งความเข้าใจใหส้ ถานศกึ ษา บุคลากรเห็นความสาคญั เกย่ี วกบั ตลอดปี เจ้าหนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
งานสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั ของนักเรียน
3.ส่งเสรมิ การดาเนินงานของสถานศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ตลอดปี เจา้ หน้าทก่ี ลมุ่ สง่ เสริมฯ
นกั เรียน เชน่ โรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ โครงการเดก็ ไทยแกม้ ใส
โครงการนกั เรยี นไทยสุขภาพดี โครงการสง่ เสรมิ โภชนาการ อาหาร มถิ นุ ายน เจ้าหน้าท่ีกลมุ่ ส่งเสริมฯ
กลางวนั และสุขภาพ นักเรียนอยา่ งครบวงจร ตลอดปี เจา้ หนา้ ทีก่ ลมุ่ ส่งเสริมฯ
4. ถ่ายทอดองคค์ วามร้สู สู่ ถานศึกษา ตลอดปี นางชฎาพร ปราโมทย์
5. สง่ เสริมสนบั สนุนการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ สุขภาพในสถานศกึ ษา
6. ประสานกากับตดิ ตามสถานศกึ ษาในการดูแลสุขภาพอนามยั ของ ตลอดปี เจา้ หน้าท่กี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
นกั เรยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง
7. ดาเนนิ การในการสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ มให้ถกู กันยายน นางชฎาพร ปราโมทย์
สุขลักษณะและเฝ้าระวังติดตามดแู ลภาวะโภชนาการและสขุ าภบิ าล
อาหาร
8. สรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน
2.5 Flow Chart
ศกึ ษา ทาความเขา้ ใจการสง่ เสรมิ สขุ ภาพใน
สถานศกึ ษา/ประชมุ สร้างความเข้าใจ
ถ่ายทอดองคค์ วามรสู้ สู่ ถานศกึ ษา
สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพในสถานศกึ ษา
ตรวจสขุ ภาพนกั เรยี น
ประสานกากบั ตดิ ตามสถานศกึ ษาในการดแู ลสขุ ภาพอนามยั
ของนกั เรยี นอย่างต่อเน่อื ง
สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน
-10-
งานสง่ เสรมิ ประสานรว่ มกับหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องในการดาเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ประชุมสรา้ งความเข้าใจตรวจสขุ ภาพสรุปรายงานผลการดาเนินงานจดั กจิ กรรม
ประกวดสุขภาพ ประสาน กากับ ติดตามสร้างองค์ความรู้
ขั้นตอน/รายละเอยี ดการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ
1. ส่งเสริมสนบั สนนุ และประสานงานโครงการสง่ เสริมสุขภาพ ตลอดปี เจา้ หน้าท่ีกลมุ่ ส่งเสริมฯ
2. สร้างความรู้ความเขา้ ใจใหก้ ับผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาครูทีร่ ับผดิ ชอบ มิถนุ ายน เจ้าหนา้ ทกี่ ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
และดาเนินการขับเคลอื่ นโครงการ สถานศึกษา
3. ส่งเสริมการประกวด/แข่งขนั ตามกาหนดระยะเวลาของกจิ กรรมใน ตลอดปี เจา้ หน้าที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
ทกุ ระดับ/หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง /สถานศึกษา/เจา้ หนา้ ท่อี ื่น
4. กากับติดตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษาทีร่ ว่ มโครงการ ภาคเรยี นละ 1 เจ้าหน้าทก่ี ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
คร้ัง
5. สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน เจา้ หน้าท่กี ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
เมษายน
2.6 Flow Chart
สง่ เสรมิ สนบั สนุนและประสานงานโครงการ
สง่ เสรมิ สขุ ภาพ
สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ
สง่ เสรมิ การประกวด/แขง่ ขนั
กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษาทร่ี ่วมโครงการ
สรุปรายงานผลการดาเนินงาน
-11-
สง่ เสริมให้สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมให้ถกู สุขลักษณะและเฝา้ ระวงั ติดตามดูแลภาวะ
โภชนาการและสขุ าภิบาลรวมถงึ การสนับสนนุ ป้องกันโรคระบาดโรคตดิ ตอ่ ที่ร้ายแรงและการจัดหาร
อุปกรณ์แก่ผู้พกิ ารและผู้ด้อยโอกาส
ขน้ั ตอน/รายละเอยี ดการปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ
1. ศกึ ษา ทาความเข้าใจการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตลอดปี เจ้าหน้าทก่ี ลมุ่ สง่ เสริมฯ
2. สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในการจดั สภาพแวดล้อมท่ถี ูกสขุ ลักษณะ มิถนุ ายน เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
ใหก้ ับสถานศึกษา
3. สนบั สนนุ ส่งเสริมการดูแลภาวะโภชนาการและสุขาภบิ าลของ ตลอดปี เจา้ หนา้ ทีก่ ลมุ่ ส่งเสริมฯ
สถานศึกษา /สถานศึกษา
4. ร่วมกบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั โรคระบาดโรคตดิ ต่อท่ีรา้ ยแรง ตลอดปี เจ้าหน้าที่กลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
/สถานศกึ ษา
5. ร่วมกบั สถานศกึ ษาในการจดั กจิ กรรมการรณรงคเ์ พอื่ สรา้ งความรู้ ตลอดปี เจ้าหนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
ความเขา้ ใจ/ป้องกนั /สถานศกึ ษา
6. กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานของสถานศึกษา ภาคเรยี นละ 1 เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
คร้ัง
7. สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
เมษายน
2.7 Flow Chart
ศกึ ษา ทาความเขา้ ใจการจดั สภาพแวดลอ้ ม
ในสถานศกึ ษา
สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการจดั สภาพแวดลอ้ มทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะใหก้ บั สถานศกึ ษา
สนบั สนุน สง่ เสรมิ การดแู ลภาวะโภชนาการและสขุ าภบิ าลของ
สถานศกึ ษา
รว่ มกบั สถานศกึ ษาในการป้องกนั โรคระบาดโรคตดิ ต่อท่ี
รา้ ยแรง/เฝา้ ระวงั /สารวจ
จดั กจิ กรรมการรณรงคเ์ พอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ/ป้องกนั ท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาพ/ให้ความชว่ ยเหลอื
กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน
-12-
การดาเนินงานขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณเงนิ ดอกผลเพื่อโครงการสง่ เสริมผลผลิต
โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศึกษา
ความเปน็ มา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
กองทนุ เพื่อโครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา ตระหนกั ถึงภาวะโภชนาการของนักเรียน จงึ ได้
พิจารณา จัดสรรดอกผลกองทนุ เพ่ือโครงการอาหารกลางวนั สาหรบั ดาเนินการโครงการสง่ เสริมผลผลิตเพ่ือ
โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรยี นประถมศึกษา เพ่ือใหน้ ักเรียนไดร้ บั ประทานอาหารทีดี มคี ณุ ภาพ ตามหลัก
โภชนาการ
ข้ันตอน
๑. สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ประชาสัมพันธ์ใหโ้ รงเรียนในสังกัดทราบพร้อมแบบเสนอขอรบั
การสนบั สนุนงบประมาณ และหลกั เกณฑ์การดาเนนิ งาน
๒. โรงเรยี นเสนอขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณ พร้อมจัดสง่ เอกสารหลักฐานประกอบ
๓. สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาแต่งตั้งคณะกรรมการเพ่อื พจิ ารณากลน่ั กรองโครงการตาม
หลักเกณฑ์และเรยี งลาดับความสาคัญ
๔. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา จัดทาบัญชีสรุปขอรับการสนับสนุนงบประมาณโครงการเงินทนุ
หมุนเวยี นส่งเสริมผลผลิตเพ่อื โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศกึ ษา เสนอสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน แต่งต้ังคณะกรรมการวิเคราะห์ข้อมูล รายงานผล
ต่อคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวันในโรงเรยี นประถมศึกษา
๖. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน แจ้งผลการพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
๗. สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาแจง้ สถานศึกษาดาเนินงาน / กิจกรรมตามโครงการท่ีไดร้ ับจัดสรร
๘. สถานศกึ ษารายงานผลการดาเนนิ งาน / กจิ กรรม ส่งสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาทราบ
ครัง้ ที่ ๑ ภายในวนั ที่ ๑๕ กนั ยายน และ คร้ังท่ี ๒ ภายในวันที่ ๑๕ มนี าคม ของทุกปี
๙. สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา รายงานผลการดาเนนิ งาน / กิจกรรม ใหส้ านักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
เอกสาร / หลกั ฐาน
๑. หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารพิจารณาโครงการ
๒. แบบเสนอคาขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณ
๓. แบบประเมินสภาพการดาเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั ของโรงเรียน
๔. แบบ อกว. สสผ.๓
๕. แบบรายงานผลการดาเนนิ งาน
ระยะเวลาการดาเนนิ การ
พฤษภาคม – มีนาคม ของปีถัดไป
-13-
การดาเนินงานขอรับการสนบั สนุนงบประมาณเงินดอกผลเพื่อโครงการพฒั นาระบบสุขาภบิ าล
อาหารทดี่ ใี นโรงเรยี นประถมศึกษา
ความเป็นมา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ในฐานะฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการบริหาร
กองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา ตระหนักถึงความสาคัญท่ีนักเรียนระดับ
ประถมศึกษาทุกคนมีอาหารกลางวันท่ีมีคุณค่าและมีการบริหารจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารท่ีดี มีคุณภาพ
สะอาด ปลอดภัยและมีบรรยากาศท่ดี ี
ข้นั ตอน
๑. สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประชาสมั พันธใ์ ห้โรงเรยี นในสงั กดั ทราบพร้อมแบบเสนอขอรับ
การสนับสนนุ งบประมาณ และหลกั เกณฑ์การดาเนินงาน
๒. โรงเรียนเสนอขอรบั การสนับสนุนงบประมาณ พร้อมจัดส่งเอกสารหลักฐานประกอบ
๓. สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาแต่งตั้งคณะกรรมการเพือ่ พิจารณาโครงการตามหลักเกณฑแ์ ละ
เรียงลาดับตามความเหมาะสม
๔. สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา จัดทาบญั ชีสรปุ ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณโครงการพฒั นา
ระบบสุขาภบิ าลอาหารทด่ี ีในโรงเรียนประถมศึกษา เสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
๕. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน แต่งตัง้ คณะกรรมการวิเคราะหข์ ้อมลู รายงานผล
ตอ่ คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรยี นประถมศึกษา
๖. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน แจ้งผลการพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
๗. สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาแจง้ สถานศึกษาดาเนนิ งาน / กจิ กรรมตามโครงการที่ไดร้ ับจดั สรร
๘. สถานศกึ ษารายงานผลการดาเนนิ งาน / กิจกรรม สง่ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาทราบ
คร้ังท่ี ๑ ภายในวันท่ี ๑๕ กนั ยายน และ ครัง้ ที่ ๒ ภายในวันที่ ๑๕ มนี าคม ของทุกปี
๙. สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา รายงานผลการดาเนินงาน / กิจกรรม ให้สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
เอกสาร / หลักฐาน
๑. หลักเกณฑ์และวิธีการพจิ ารณาโครงการ
๒. แบบเสนอคาขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณ
๓. แบบประเมนิ สภาพการดาเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั ของโรงเรยี น
๔. แบบ อกว. สสผ.๓
๕. แบบรายงานผลการดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินการ
พฤษภาคม – มีนาคม ของปีถัดไป
2.8 แบบฟอร์มทีใ่ ช้
1) บันทกึ หนงั สอื ราชการ
2) หนังสอื ราชการประเภทภายนอก
3) แบบการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
4) แบบประเมินติดตามผลการดาเนนิ โครงการต่าง ๆระเบียนสะสมนักเรยี นรายบุคคล (ป.พ.8)
-14-
2.9 เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง
1) พระราชบญั ญัตสิ ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
http://www5.sakoncity.go.th/index.php?option=com_wrapper&view=wrapper&Itemid=83
2) คมู่ ือการดาเนินการโครงการส่งเสรมิ สุขภาพ
http://hps.anamai.moph.go.th/process.pdf
3) คมู่ ือการประเมินโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ
http://hp.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=381
4) คูม่ อื สรา้ งความเข้มแข็งโรงเรียนต้นแบบนักเรยี นไทยสขุ ภาพ
http://sportact.obec.go.th/document/KSC/KSC03.pdf
5) สานักงานกจิ กรรมพัฒนานกั เรียน http://sportact.obec.go.th/
6) พระราชบัญญัติกองทนุ อาหารกลางวัน พ .ศ. ๒๕๓๕
7) ระเบยี บแนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับอาหารเสรมิ (นม)
8) คมู่ อื การดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมสขุ ภาพ พ .ศ. ๒๕๔๘ กรมอนามยั
กระทรวงสาธารณสขุ
9) คู่มือการจัดการเรยี นสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา พ .ศ. ๒๕๔๕ กรมวชิ าการ
10) คู่มือการดาเนนิ งานกองทนุ เพื่อโครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียน กองทนุ โครงการ
เพอ่ื อาหารกลางวันในโรงเรยี นประถมศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั พฒั นากจิ กรรมนกั เรยี น
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
11) ค่มู อื การจดั การอาหารกลางวันนกั เรยี น ตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและ
อาหารปลอดภัย สาหรับโรงเรียนประถมศกึ ษา สานกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
12) คู่มอื การจาแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดืม่ ตามมาตรฐานโภชนาการ สาหรบั เดก็
อายุ 3 – 15 ปี (ฉบับปรบั ปรุง)
13) แมค่ รัวอนามัยหวั ใจรักเด็ก เคล็ด (ไม่ลบั ) กับการบรกิ ารอาหารในโรงเรยี น เพื่อเด็กไทย
มโี ภชนาการสมวัย
3. งานสง่ เสรมิ กิจกรรมประชาธปิ ไตยและวินัยนกั เรยี น
3.1วตั ถุประสงค์
1) เพอื่ สง่ เสรมิ กจิ กรรมประชาธิปไตยและวินัยนักเรียนในสถานศกึ ษา
2) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนใหน้ ักเรียนรับทราบหนา้ ทขี่ องตนเอง
3) เพอ่ื พฒั นาความคดิ ของนักเรียนให้เป็นประชาธปิ ไตย
4) เพ่ือสง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีกิจกรรมท่ีช่วยเหลอื ผ้อู ื่น และสงั คม
3.2 ขอบเขตการปฏิบัตงิ าน
1) ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาจดั กิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรยี นรวมทง้ั ให้เปน็ แหลง่
เรียนร้เู กยี่ วกบั กระบวนการประชาธิปไตย
2) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาจดั ทาระเบยี บการประพฤตปิ ฏบิ ัติของนักเรียนใหเ้ หมาะสม
3) สง่ เสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษาในการจดั ทาโครงการ/กจิ กรรมเด็กและเยาวชนท่ีส่งเสริม
ดา้ นวนิ ัยของนักเรยี น
-15-
4) สนับสนุนให้สถานศึกษากาหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขพฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสม
ของนักเรยี น
5) ประสานการติดตาม นเิ ทศและประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมและการประชาสมั พนั ธ์
3.3 คาจากดั ความ/พื้นฐานความรู้
ประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองประเทศระบอบหนึ่งซง่ึ ปกครองโดย
ประชาชนผ่านกระบวนการเลือกตงั้ ผแู้ ทนราษฎร
วนิ ัย หมาย ถึงระเบียบสาหรับควบคมุ คนในสงั คมแต่ละแห่งเป็นขอ้ ตกลงในสังคมนั้นท่ี
จะใหท้ าหรือไมใ่ ห้ทาในบางสิ่งบางอยา่ ง
3.4 ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษา วางแผนการจัดกิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน ใหเ้ ป็นแหลง่
เรียนรูเ้ ก่ียวกับประชาธปิ ไตยของนักเรียน
ขัน้ ตอน/รายละเอียดการปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ
1. ศกึ ษาแนวทางการจัดกิจกรรมประชาธปิ ไตยในสถานศกึ ษา มกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ เจา้ หนา้ ทีก่ ลมุ่ ส่งเสริมฯ
2. สรา้ งความเข้าใจกับสถานศึกษาในแนวทางการจดั กจิ กรรม เมษายน -พฤษภาคม เจ้าหนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
3. กาหนดเป็นนโยบายใหส้ ถานศกึ ษาปฏิบตั ิ เจา้ หนา้ ท่กี ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
4. รว่ มกบั สถานศึกษาจดั โครงการเสรมิ ในระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา พฤษภาคม เจา้ หนา้ ทก่ี ลมุ่ สง่ เสริมฯ
มถิ ุนายน -กนั ยายน สถานศกึ ษา
5. ประสานกบั หน่วยงานอนื่ ๆในการส่งเสริมกจิ กรรมประชาธิปไตย เจา้ หนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
ในสถานศกึ ษา ตลอดปี
6. กากับติดตามการจดั กจิ กรรมของสถานศึกษา เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
ภาคเรยี นละ 1 คร้ัง สถานศึกษา
7. สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน เจ้าหน้าที่กลมุ่ ส่งเสริมฯ
ภายใน 2 สัปดาห์หลงั
กิจกรรมสิน้ สดุ
3.5 Flow Chart -16-
ศกึ ษาแนวทางการจดั กจิ กรรมประชาธปิ ไตยใน
สถานศกึ ษา
สรา้ งความเขา้ ใจ
กาหนดนโยบายใหส้ ถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิ
จดั โครงการเสรมิ ในระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
ประสานกบั หน่วยงานอ่นื ๆ
กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมของสถานศกึ ษา
สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งาน
สง่ เสรมิ สนับสนุนสถานศึกษาจดั ทาระเบียบการประพฤติปฏิบัติของนักเรียนให้เหมาะสม
ขนั้ ตอน/รายละเอียดการปฏิบตั ิงาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. ศึกษารายละเอียดระเบยี บด้านการประพฤตปิ ฏิบัตขิ องนักเรยี น มกราคม- เจ้าหนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
กมุ ภาพันธ์
2. ทาความเขา้ ใจกับสถานศกึ ษาในการดาเนินงานเกยี่ วกับระเบียบการ พฤษภาคม- เจา้ หน้าท่ีกลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น มถิ นุ ายน
3. กาหนดเป็นนโยบายให้สถานศกึ ษาดาเนนิ การเพ่อื ให้นักเรยี นมีระเบียบ พฤษภาคม- เจ้าหน้าที่กลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
วินัยและมคี วามประพฤติปฏบิ ตั ทิ ี่เหมาะสม มิถุนายน
4. รว่ มกับสถานศึกษาในการกาหนดแนวทางการจัดทาระเบยี บการ พฤษภาคม- เจา้ หน้าทีก่ ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
ประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องนกั เรียน มิถุนายน
5. ประสานกับหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพื่อร่วมกันพัฒนาระเบยี บวนิ ยั ของ ตลอดปี เจ้าหนา้ ท่ีกลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
นกั เรยี น
6.กากบั ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ภาคเรยี นละ1คร้งั เจา้ หนา้ ทก่ี ลมุ่ สง่ เสรมิ
ฯ/คณะกากับติดตาม
7. สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน กตลุ าคม/เมษายน เจ้าหน้าที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
3.6 Flow Chart -17-
ศกึ ษาวเิ คราะหร์ ะเบยี บปฏบิ ตั /ิ แนวทางระเบยี บ
การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น
ทาความเขา้ ใจกบั สถานศกึ ษาในการดาเนินงานเกย่ี วกบั ระเบยี บการ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น
กาหนดเป็นนโยบายใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การ
รว่ มกบั สถานศกึ ษาในการกาหนดแนวทางการจดั ทาระเบยี บ
การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น
ประสานกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพ่อื ร่วมกนั พฒั นาระเบยี บวนิ ยั ของ
นกั เรยี น
กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน
สนับสนนุ สถานศกึ ษาในการจดั ทาโครงการ/กจิ กรรมเดก็ และเยาวชนท่สี ่งเสรมิ
ด้านวินัยนกั เรยี น
ข้นั ตอน/รายละเอยี ดการปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ
1. ศกึ ษาวเิ คราะห์การสง่ เสรมิ วินัยนกั เรยี น เมษายน เจ้าหน้าทีก่ ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
2. ทาความใจกับสถานศกึ ษาในการจัดโครงการ/กจิ กรรมส่งเสริมวนิ ัย มิถนุ ายน เจ้าหนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
นักเรียน
3. รว่ มกบั สถานศกึ ษาจัดโครงการ/กจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ วนิ ัยนกั เรยี น มิถุนายน-มีนาคม เจ้าหนา้ ทกี่ ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
ปีถัดไป
4. ประสานงานกบั หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งในการส่งเสรมิ วนิ ัยนกั เรียน
4. กากบั ติดตามประเมนิ ผลการสง่ เสรมิ วนิ ัยนกั เรียนในสถานศึกษา ตลอดปี
5.สรุปและการรายงานผลการดาเนนิ งาน ภาคเรยี นละ1ครงั้ เจ้าหนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
/คณะนิเทศ
มนี าคม เจ้าหน้าท่กี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
3.7 Flow Chart -18-
ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารสง่ เสรมิ วนิ ยั นกั เรยี น
ทาความใจกบั สถานศกึ ษาในการจดั โครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ วนิ ยั
นกั เรยี น
รว่ มกบั สถานศกึ ษาจดั โครงการ/กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ วนิ ยั
นกั เรยี น
ประสานงานกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการสง่ เสรมิ วนิ ยั นกั เรยี นใน
สถานศกึ ษา
สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน
3.8 แบบฟอร์มท่ีใช้
-
3.9 เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง
1) คู่มอื การจัดการเรียนรปู้ ระชาธิปไตยสาหรับครผู สู้ อน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-
6http://www.ect.go.th/main/media/p2.pdf
2) การส่งเสรมิ วิถีประชาธิปไตยผา่ นกิจกรรมค่าย
http://social.obec.go.th/library/document/asean/141254book04/กรมสง่ เสริมวิถี
ประชาธิปไตยผ่านกจิ กรรมค่าย.pdf
3) กฎกระทรวงศกึ ษาธิการ กาหนดความประพฤตขิ องนักเรยี นนักศึกษา พ.ศ. 2548
http://www.kpp.ac.th/images/tee1.pdf
4) ความรู้เกยี่ วกับวนิ ยั
https://mewinine.wordpress.com/ประเภทของ-วินยั /
http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/epg0952kk_ch2.pdf
http://e-book.ram.edu/e-book/e/EA635/EA635-6.pdf
5) พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
6) พ.ร.บ. ส่งเสรมิ และประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2521
7) คู่มอื พนกั งานเจา้ หนา้ ที่สง่ เสริมความประพฤตินักเรยี น นักศึกษา
8) คูม่ อื การจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.
2551
-19-
4. งานสง่ เสริมพัฒนาสรา้ งความเข้มแข็งองคก์ รสภานักเรยี นเดก็ และเยาวชนในสถานศึกษา
4.1 วัตถุประสงค์
1) เพอ่ื สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดตัง้ องค์กรสภานกั เรยี นในสถานศึกษา
2) เพอื่ สง่ เสรมิ พัฒนาการมสี ่วนรว่ มของนกั เรยี นทง้ั ในและนอกสถานศึกษา
3) เพอ่ื สง่ เสริมการทางานเป็นทมี ของเด็กนักเรียน
4.2 ขอบเขตปฏิบตั ิงาน
1) ส่งเสริมและพัฒนาความเขม้ แข็งในองค์กรสภานกั เรยี นเด็กและเยาวชนในสถานศกึ ษา
2) สง่ เสรมิ สนับสนนุ โครงการ/กจิ กรรมสภาเดก็ และเยาวชนในสถานศกึ ษาหรือกจิ กรรม
สมชั ชานกั เรยี นในทกุ ระดับท้ังภายใน/ภายนอกสถานศึกษา
4.3 คาจากัดความ/พ้นื ฐานความรู้
สภานกั เรยี น หมายถึง สภาผูแ้ ทนนักเรยี นท่ีไดร้ ับการคัดเลือกเขา้ มาทาหน้าทช่ี ่วยเหลือ
สถานศกึ ษาทางด้านการปกครองกิจกรรมของโรงเรยี นและกจิ กรรมของนักเรยี น
สภาเดก็ และเยาวชน หมายถึง สภาเดก็ และเยาวชนท่ีไดร้ บั การคัดเลือกจากเด็กและ
เยาวชนให้ทาหน้าท่ีรว่ มกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมสิทธิเด็กการป้องกันแก้ไขปัญหา
ตลอดจนการพัฒนาเดก็ และเยาวชนตาม พ.ร.บ.สง่ เสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550
4.4 ขัน้ ตอน/รายละเอียดการปฏิบัตงิ าน
ข้นั ตอน/รายละเอียดการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. ศึกษารายละเอยี ดการดาเนินงานองค์กรสภานกั เรยี นเดก็ และเยาวชน ตลอดปี เจา้ หน้าทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
ในสถานศึกษา
2. กาหนดนโยบายใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ งานการจดั ต้งั องค์กรสภานกั เรยี น พฤษภาคม เจา้ หน้าทกี่ ลมุ่ สง่ เสริมฯ
/สถานศึกษา
3. ทาความเข้าใจกบั สถานศกึ ษาในการดาเนนิ การ พฤษภาคม เจา้ หน้าทีก่ ลมุ่ สง่ เสริมฯ
4. รว่ มกบั สถานศึกษาในการจดั โครงการ/กิจกรรมเสริมในระดบั เขตพนื้ ที่ มิถุนายน-ธันวาคม เจ้าหน้าทกี่ ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
การศึกษา /สถานศึกษา
5. ประสานกบั หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งเพ่อื รว่ มกนั สง่ เสรมิ และพัฒนา ตลอดปี เจ้าหน้าที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
6.กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน ภาคเรยี นละ1ครั้ง เจ้าหนา้ ทีก่ ลมุ่ สง่ เสรมิ
ฯ/คณะนเิ ทศ
7.สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน มกราคม เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
4.5 Flow Chart -20-
ศกึ ษารายละเอยี ดการดาเนินงานองคก์ ร
สภานกั เรยี น
กาหนดนโยบายใหส้ ถานศกึ ษาดาเนินงานการจดั ตงั้ องคก์ รสภา
นกั เรยี น
ทาความเขา้ ใจกบั สถานศกึ ษาในการ
ดาเนนิ การ
ร่วมกบั สถานศกึ ษาในการจดั โครงการ/กจิ กรรมเสรมิ
ประสานกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื รว่ มกนั สง่ เสรมิ และ
พฒั นา
กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน
4.6 แบบฟอร์มทใ่ี ช้
-
4.7 เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง
1) คูม่ อื การประเมนิ ตน้ แบบสภานักเรยี น
http://www.ssps4.go.th/ssps4/attachments/1696_ค่มู ือ%20รร%20ตน้ แบบสภานกั เรียน.pdf
2) แนวทางการพัฒนากจิ กรรมสภานักเรียน
http://sportact.obec.go.th/stucouncil/detailstucoun.pdf
5. งานปอ้ งกนั แก้ไขปัญหาโรคเอดสแ์ ละเพศศกึ ษา
5.1 วตั ถุประสงค์
1) เพอ่ื เสรมิ สร้างความรูค้ วามเข้าใจและส่งเสรมิ การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมทาง
เพศโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ในกลุ่มนักเรียนและนักศึกษา
2) เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนนักศกึ ษาและหน่วยงานอน่ื ๆท่ี
เก่ียวข้องในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาพฤตกิ รรมทางเพศปัญหาโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธแ์ ละเอดส์
ในกล่มุ นกั เรยี นและนักศกึ ษา
-21-
5.2 ขอบเขตการปฏบิ ตั ิงาน
1) เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาพฤตกิ รรมทางเพศปญั หาโรคตดิ ตอ่
ทางเพศสมั พันธแ์ ละปญั หาเอดส์ในกลุ่มนกั เรียนและนกั ศกึ ษา
2) สนับสนุนและประสานกับหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องเพ่ือร่วมการป้องกนั และแก้ปัญหา
พฤติกรรมทางเพศปญั หาโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธแ์ ละปัญหาเอดส์ในกลุ่มนกั เรียนและนักศึกษา
3) เพอ่ื สร้างเครือข่ายสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนนักศกึ ษา และหน่วยงานอืน่ ๆ ท่ี
เกย่ี วข้องในการป้องกนั และแก้ไขปัญหาพฤตกิ รรมทางเพศปญั หาโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์และเอดส์ในกลุ่ม
นกั เรียนและนักศึกษา
5.3 คาจากัดความ/พน้ื ฐานความรู้
โรคเอดส์ AIDS หรือ โรคภมู ิคมุ้ กันบกพร่อง (Acquired Immune Deficiency Syndrome
– AIDS) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยท่ีเกิดขึ้นเพราะร่างกายได้รับเช้ือไวรัสเอชไอวี (HIV) ซ่ึงจะเข้าไปทาลายเม็ด
เลือดขาว ท่ีเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทาให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทาให้ติดเช้ือโรคฉวยโอกาสแทรก
ซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคในปอด หรือต่อมน้าเหลือง เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนงั
บางชนิด หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดข้ึนจากโรคติดเชื้อฉวย
โอกาสต่างๆ เหลา่ น้ี ทาให้อาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอยา่ งรวดเรว็
เพศศึกษา เปน็ การเรียนรู้เรื่องราวเกย่ี วกับ เพศหญงิ และ เพศชาย เนือ้ หาวา่ ดว้ ยสรรี ะ
ร่างกายของแต่ละเพศ ลักษณะการเปล่ียนแปลงจากวัยเด็กสู่วัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยเจริญพันธ์ุ เนื้อหาจะรวมถึง
การปฏิบัติตนเพื่อการดูแลร่างกายตัวเอง และการปฏิบัติตัวต่อเพศตรงข้าม ชีวิตคู่ การมีเพศสัมพันธ์ การ
คมุ กาเนิด กามโรค และ เน้ือหาตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวกบั เพศ
พฤตกิ รรมทางเพศ หมายถึง การกระทาหรือการปฏิบัตติ นทเ่ี กีย่ วข้องกบั เร่ืองเพศโดย
ครอบคลุมพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกภายนอก
5.4 ขน้ั ตอน/รายละเอียดการปฏบิ ัตงิ าน
ข้นั ตอน/รายละเอยี ดการปฏิบตั ิงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1. ศึกษารายละเอียดปญั หาพฤตกิ รรมทางเพศปญั หาโรคตดิ ต่อทาง กนั ยายน-ตุลาคม เจา้ หน้าทก่ี ลมุ่ สง่ เสริมฯ
เพศสัมพันธ์และปญั หาเอดสใ์ นกลมุ่ นกั เรียนและนกั ศึกษา
2. สารวจขอ้ มลู ปญั หาพฤติกรรมทางเพศปญั หาโรคตดิ ต่อทาง ตลุ าคม- เจา้ หนา้ ท่ีกลมุ่ ส่งเสริมฯ
เพศสัมพนั ธแ์ ละปญั หาเอดส์ในกลมุ่ นักเรยี นในสถานศกึ ษา พฤศจกิ ายน
3. สง่ เสรมิ องค์ความรูเ้ กย่ี วกับเพศ เอดส์ โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ฯ ธนั วาคม-มกราคม เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
ผู้เชย่ี วชาญ
4. สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจถงึ ปัญหาพฤติกรรมทางเพศปัญหา กมุ ภาพันธ์ เจา้ หน้าทกี่ ลมุ่ ส่งเสริมฯ
โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธแ์ ละปญั หาเอดสใ์ นกลุ่มนกั เรียน ผูเ้ ชี่ยวชาญ
5. รว่ มกบั สถานศึกษาในการกาหนดแนวทางแกป้ ญั หา มนี าคม เจ้าหน้าทกี่ ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
สถานศกึ ษา
6. จดั ทาแผนงานโครงการ/กิจกรรมปัญหาพฤติกรรมทางเพศปญั หา เมษายน เจา้ หนา้ ทก่ี ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์และปญั หาเอดสใ์ นกลุม่ นักเรยี น
7. ดาเนินการตามแผนงานโครงการ/กจิ กรรมทก่ี าหนด พฤษภาคม- เจา้ หนา้ ทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
ตลุ าคม คณะทางาน
8. ประสานงานและร่วมกับหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งเพือ่ แกป้ ญั หาร่วมกนั ตลอดปี เจ้าหน้าทก่ี ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
9. กากับติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษา ภาคเรยี นละ1ครัง้ เจ้าหนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
10. สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน กมุ ภาพนั ธ์ เจา้ หน้าทีก่ ลมุ่ สง่ เสริมฯ
5.5 Flow Chart -22-
ศกึ ษารายละเอยี ดปัญหาพฤตกิ รรมทางเพศ
ปัญหาโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธแ์ ละปัญหา
เอดส์
สารวจขอ้ มลู ปัญหาพฤตกิ รรมทางเพศปัญหาโรคตดิ ต่อทาง
เพศสมั พนั ธแ์ ละปัญหาเอดสใ์ นกล่มุ นกั เรยี นในสถานศกึ ษา
สง่ เสรมิ องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั เพศ เอดส์ โรคตดิ ต่อ
สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจถงึ ปัญหาพฤตกิ รรมทางเพศปัญหา
โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธแ์ ละปัญหาเอดส์
รว่ มกบั สถานศกึ ษาในการกาหนดแนวทางแกป้ ัญหา
จดั ทาแผนงานโครงการ/กจิ กรรมปัญหาพฤตกิ รรม
ดาเนนิ การตามแผนงานโครงการ/กจิ กรรมทก่ี าหนด
ประสานงานและร่วมกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื แกป้ ัญหา
กากบั ตดิ ตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งาน
5.6 แบบฟอร์มทีใ่ ช้
-
5.7 เอกสาร/ หลกั ฐานอา้ งอิง
1) พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
http://onec.go.th/onec_backoffice/uploaded/Category/Laws/Act/acteng/01/0101-h.pdf
-23-
2) ความรู้เรอ่ื งเอดส์ http://th.wikipedia.org/wiki/เอดส์
http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=901
3) หลักสตู รเพศศกึ ษา
http://www.teenpath.net/data/module/00002/tpfile/00003.pdf
4) คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรเู้ พศศึกษาสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2
http://www.teenpath.net/data/module/00014/tpfile/00003.pdf
5) แนวทางการจัดการเรยี นรูเ้ พศศกึ ษารอบด้านในสถานศึกษาสาหรบั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
http://www.teenpath.net/data/module/00008/tpfile/00003.pdf
6) คูม่ ือการจัดกระบวนการเรียนรเู้ พศศึกษา สาหรับเยาวชนช่วงช้นั ที่ 3
http://www.teenpath.net/data/module/00006/tpfile/00003.pdf
7) ชดุ กิจกรรมการเรียนรเู้ พศศึกษาสาหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
http://www.teenpath.net/data/module/00001/tpfile/00003.pdf
8) ความรเู้ ร่อื งเพศศกึ ษา
http://www.htc.ac.th/sport/web5126/palanamai/pas.html
https://th-th.facebook.com/notes/ฅนเปน็ คร/ู ทาไมต้องสอนวชิ าเพศศึกษา/
415372998567333
9) ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยความประพฤตนิ กั เรียนนักศึกษา พ.ศ. 2548
10) นโยบายรฐั บาล
11) นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
12) แผนงาน/โครงการ ของเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา
5.8 แบบสรปุ มาตรฐานงาน
6. งานวิเทศสัมพันธ์
6.1 วตั ถุประสงค์
1) ศกึ ษาวิเคราะห์ จดั ทาข้อเสนอเชงิ นโยบายและแนวทางความชว่ ยเหลือ พัฒนาเครือข่าย
ความร่วมมือท้ังภาครฐั และเอกชนทงั้ ในและตา่ งประเทศ ปฏบิ ตั ิตามพันธกิจทไ่ี ด้มกี ารลงนามในความตกลง
ระหว่างประเทศการตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ แสวงหาแหลง่
เงนิ ทนุ วัสดอุ ปุ กรณ์ ผู้เชีย่ วชาญและอาสาสมัครต่างประเทศเพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาในสานักงาน
เขตพืน้ ที่การศึกษาใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานจากต่างประเทศ การสร้างองค์ความรดู้ ้าน
ตา่ งประเทศเพ่ือเพิ่มพนู ประสบการณด์ า้ นการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานต่างประเทศทเ่ี ป็นบทเรยี นทด่ี ี สาหรบั
นักเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จัดทาสารนเิ ทศและตอบขอ้ หารือด้านต่างประเทศใหห้ นว่ ยงาน
ในสังกดั และบุคลากรภายนอก โดยประสานงานกบั กลมุ่ วเิ ทศสัมพันธ์ สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั
พ้ืนฐานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
2) เพอ่ื ประสานความร่วมมือท้ังภาครัฐและเอกชนทัง้ ในและต่างประเทศในการแสวงหา
แหล่งเงนิ ทนุ วัสดุอุปกรณ์ผู้เชย่ี วชาญและอาสาสมัครตา่ งประเทศ
3) เพื่อส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาในสังกดั ใช้ประโยชน์ทรัพยากรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
จากตา่ งประเทศการสรา้ งองค์ความรู้ดา้ นต่างประเทศ
-24-
4) เพือ่ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาเกดิ ความต่นื ตัวในการสง่ นกั เรียนเขา้ ร่วมโครงการ
แลกเปล่ยี นนกั เรียนกับต่างประเทศการแข่งขนั การขอรับทุนเพือ่ ศกึ ษาต่อต่างประเทศการเรยี นรภู้ าษาและ
วัฒนธรรม
5) เป็นส่อื กลางในการประสานงาน ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการแลกเปล่ยี นนกั เรียน/ระหวา่ ง
ประเทศ หรือการขอรับทุนเพื่อศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ กบั หนว่ ยงานอ่ืนๆ ทง้ั ภายในและภายนอก
6) จัดทาฐานข้อมลู วิเคราะห์ขอ้ มูลเพอื่ ใหก้ ารส่งเสริมสนับสนุนการดาเนนิ การไปส่เู ปา้ หมาย
7) เพือ่ ประสานและสง่ เสรมิ สถานศึกษา ให้สามารถเตรยี มความพร้อมนักเรียนเขา้ แขง่ ขันใน
โครงการแลกเปลีย่ นนักเรียนระหวา่ งประเทศ และสอบขอรับทุนไปเรียนต่อตา่ งประเทศได้
6.2 ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน
1. ประสานความรว่ มมือทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศในการแสวงหาแหล่ง
เงินทุน วัสดุอปุ กรณผ์ ู้เชี่ยวชาญและอาสาสมคั รต่างประเทศ
2. ส่งเสริมสนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาในสงั กัดใช้ประโยชน์ทรัพยากร การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
จากตา่ งประเทศการสร้างองค์ความรู้ดา้ นต่างประเทศ
3. สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาเกิดความตื่นตวั ในการส่งนักเรียนเข้ารว่ มโครงการแลกเปล่ยี น
นักเรียนกบั ตา่ งประเทศการแข่งขนั การขอรบั ทนุ เพ่ือศึกษาต่อต่างประเทศการเรยี นรภู้ าษาและวฒั นธรรม
4. เป็นสอ่ื กลางในการประสานงาน ประชาสมั พันธ์โครงการแลกเปลยี่ นนักเรียนระหว่างประเทศ หรือ
การขอรบั ทุนเพอ่ื ศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ กบั หน่วยงานอืน่ ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก
6.3 คาจากัดความ/พ้ืนฐานความรู้
วิเทศสมั พันธ์ หมายถึง ความสมั พันธ์กับตา่ งประเทศ ( Foreign relations ) หมายถึงงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับตา่ งประเทศรวมทงั้ การตดิ ต่อประสานงานกับสถาบนั และหนว่ ยงานต่างประเทศทงั้ ท่ีอยู่
ภายในและต่างประเทศ
6.4 ขัน้ ตอน/รายละเอียดการปฏบิ ัติงาน
ขั้นตอน/รายละเอยี ดการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ
1. ศกึ ษาวเิ คราะห์งานวิเทศสัมพนั ธ์ พฤษภาคม เจา้ หน้าท่ีกลมุ่ ส่งเสริมฯ
2. ดาเนินการตามนโยบาย/หนังสอื สงั่ การของหน่วยงานต้น มิถุนายน เจา้ หน้าทก่ี ลมุ่ ส่งเสริมฯ
สงั กดั /หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
3. ประสานงานวเิ ทศสมั พันธ์กบั หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตลอดปี เจ้าหนา้ ท่กี ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
4. แจง้ เรอื่ งผลการดาเนินการ/พิจารณาใหผ้ ู้เกย่ี วข้อง ตลอดปี เจ้าหน้าท่กี ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ
6.5 Flow Chart -25-
ศกึ ษาวเิ คราะหง์ านวเิ ทศ
สมั พนั ธ์
ดาเนนิ การตามนโยบาย/หนงั สอื สงั่ การ
ประสานงานวเิ ทศสมั พนั ธก์ บั หน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
6.6 แบบฟอร์มทีใ่ ช้
--
6.7 เอกสาร/ หลกั ฐานอา้ งอิง
1) พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพ่มิ เติม
2) หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๑
3) หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
4) ขอ้ เสนอการปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง
5) เปา้ หมายในการเป็นศนู ย์กลางทางการศึกษาในประชาคมอาเซียน
6.8 แบบสรุปมาตรฐานงาน
7. งานโครงการแลกเปลยี่ นนกั เรยี นทนุ ระหวา่ งประเทศ
7.1 วัตถุประสงค์
1) เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนุนการดาเนินงานโครงการแลกเปลย่ี นนักเรียนทนุ ระหวา่ งประเทศให้มี
คุณภาพ
2) ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
3) มงุ่ เน้นให้เกิดความตระหนักและมสี ่วนรว่ มสนับสนนุ จากผูเ้ ก่ียวขอ้ งมากยง่ิ ข้นึ
4) เพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรเพ่ือรอบรับการเปิดเสรีการคา้ และประชาคมอาเซยี น
7.2 ขอบเขตการปฏิบัติงาน
1) สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นสถานศึกษาครอู าจารยใ์ นสังกัดได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจ
เก่ียวกับโครงการและวิธีดาเนินการ
2) ส่งเสริมสนับสนนุ ประสานงานกับผปู้ กครองชุมชนองค์กรภาครฐั และเอกชนเพื่อ
สนับสนนุ โครงการ
3)จัดทาข้อมลู ระบบสารสนเทศ
7.3 คาจากัดความ/พนื้ ฐานความรู้
แลกเปลี่ยนนกั เรยี นทนุ ระหว่างประเทศ หมายถงึ นักเรยี นจากประเทศตา่ งๆ ท่มี ีโครงการ
แลกเปลย่ี นกบั นักเรยี นไทยในการศกึ ษาเล่าเรียนและพานักอาศัยอย่เู ปน็ การช่ัวคราวกับประเทศนน้ั ๆ
-26-
7.4 ขนั้ ตอน/รายละเอียดการปฏิบัตงิ าน
ข้นั ตอน/รายละเอยี ดการปฏิบตั งิ าน ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ
1. ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ นวปฏบิ ัตริ ะเบยี บและวิธกี ารปฏบิ ตั งิ าน พฤษภาคม เจ้าหน้าทกี่ ลมุ่ สง่ เสรมิ ฯ
2. ประสานการปฏบิ ตั ิงานรว่ มกับหนว่ ยงาน /บคุ คลทเี่ กีย่ วขอ้ งเพอ่ื ขอ ตลอดปี เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ สง่ เสริมฯ
ความรว่ มมือในการสนบั สนุนโครงการ
3. ดาเนนิ การตามโครงการกาหนด ตามระยะเวลา เจา้ หน้าทกี่ ลมุ่ ส่งเสรมิ ฯ/
ของโครงการ สถานศกึ ษา
4. แจ้งเร่อื งผลการดาเนินงานให้ผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบ ระยะเวลาของ เจา้ หนา้ ที่กลมุ่ ส่งเสริมฯ
5. จดั ทาข้อมลู สารสนเทศ โครงการ
มกราคม
7.5 Flow Chart
ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ นวปฏบิ ตั ริ ะเบยี บและ
วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน
ประสานหน่วยงานตน้ สงั กดั /หน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
ดาเนนิ งานตามโครงการ
แจง้ เร่อื งผลการดาเนนิ งานใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทราบ
จดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศ
7.6 แบบฟอร์มที่ใช้
-
7.7 เอกสาร/ หลักฐานอา้ งอิง
7.8 แบบสรุปมาตรฐานงาน
7.9 ปฏบิ ตั ิงานรวมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหนวยงานอน่ื ท่เี กี่ยวของหรือท่ีไดรบั มอบหมาย
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงสาธารณสขุ
- กระทรวงพลังงาน
- กระทรวงวัฒนธรรม
- กระทรวงพฒั นาการสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย
- กระทรวงพฒั นาการทองเท่ียวและกฬี า
- กระทรวงการตางประเทศ
- สานักงานตารวจแหง่ ชาติ
-27-
8. ปฏบิ ัตงิ านอน่ื หรอื สนับสนนุ การปฏิบตั งิ านอืน่ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
เป็นการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ตามคาส่ังสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 เป็นคร้งั
คราวในภารกจิ ของกลมุ่ งานต่าง ๆ เชน่ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) , งานการ
สอบประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (NT), การเชิดชูเกียรตวิ ันครู, และงานของกลุม่ ต่าง ๆ ที่
เป็นงานต้องใชบ้ ุคลากรจานวนมากชว่ ยกนั เปน็ ทีมตามโครงการต่าง ๆ เปน็ ต้น
การเสริมสร้างประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ิงาน
เพือ่ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเกดิ ประสิทธิภาพอย่างแทจ้ รงิ จึงควรร่วมกนั กาหนดจรรยาบุคลากรเป็นข้อตกลง
ทจ่ี ะดาเนินการและถอื เปน็ แนวปฏบิ ัตริ ่วมกนั ดังนี้
1. การยดึ มั่นและยืนหยดั ทาในสง่ิ ท่ถี ูกต้อง
พฤติกรรมกล้ายดึ มนั่ และยนื หยดั ทาในสงิ่ ท่ีถูกต้อง หมายถงึ การปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ อง
ขา้ ราชการท่ีกลา้ ตา้ นทานกบั อิทธพิ ลหรอื ผลประโยชน์ทัง้ ท่ีมาจากภายในหน่วยงานเองหรือจากภายนอก
การยืนหยดั ทาในสิง่ ท่ีถูกต้องเปน็ ธรรมและถูกกฎหมายยึดมั่นในความถูกตอ้ งเทยี่ งธรรมหลกั จรรยาและ
จริยธรรมโดยไม่โอนอ่อนตามอิทธิพลใดๆกลา้ พูดและกระทาเมอื่ พบเหน็ การกระทาท่ีไม่ถูกตอ้ งเพื่อรกั ษา
ผลประโยชน์ของสว่ นรวมและพยายามหลกี เลย่ี งไปจากสถานการณ์ท่ีเสยี่ งต่อการกระทาผิดซงึ่ รวมถึงการขอ
ความช่วยเหลอื จากผ้มู ีอานาจมากกวา่ เพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดสถานการณ์ท่ีไม่ถูกต้องข้ึน
ขอ้ พึงปฏิบตั ิ
1) ภาคภูมใิ จในความเปน็ ข้าราชการธารงศักด์ิศรดี ้วยความถูกต้องชอบธรรมอุทศิ แรงกาย
และแรงใจผลกั ดนั ภารกิจหลกั ของตนและหนว่ ยงานให้บรรลุผลเพื่อสนบั สนนุ การพัฒนาชาติและสังคมไทย
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) ต้องรักษาชอ่ื เสียงของตนและเกียรติศักด์ิของตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตนมิให้เสือ่ ม
เสยี และไม่กระทาการใดๆอันได้ช่ือว่าเป็นผปู้ ระพฤตชิ วั่
(2) ไมเ่ กรงกลวั ต่ออิทธพิ ลยนื หยดั กระทาในสง่ิ ถูกต้องและเปน็ ธรรม
(3) คัดคา้ นการกระทาทอ่ี าจเปน็ ความผิดของเพื่อนร่วมงานและผ้บู ังคบั บัญชา
(4) คัดคา้ นในสิ่งท่ีไมถ่ ูกต้องกล้าแจ้งเหตุเม่ือพบการกระทาผิดวินัยหรือจรรยาขา้ ราชการ
และใหค้ วามรว่ มมือเป็นพยาน
(5) อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการไม่ละท้งิ หรือทอดทิ้งงานในหน้าทแ่ี ละไม่เบียดบงั เวลา
ราชการไปประกอบอาชีพอื่น
(6) ปฏบิ ัติหน้าท่โี ดยยึดมน่ั ความถูกต้องโปร่งใสเปดิ เผยไดต้ ่อผเู้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยอยา่ ง
เป็นธรรม
2) ปฏิบัติหน้าท่ีถกู ต้องตามภารกิจหนา้ ที่อย่างชอบธรรมไม่เบีย่ งเบนด้วยอคติหรือผลประโยชน์
สว่ นตน
แนวปฏิบัติ
(1) ไมใ่ ช้อานาจหนา้ ที่กระทาการที่เปน็ คุณหรอื เปน็ โทษต่อบุคคลใดเพราะชอบหรอื ไม่
ชอบบุคคลน้ัน
-28-
(2) ไม่เรียกรับหรอื ยอมจะรับทรพั ย์สินในลักษณะเป็นสนิ จ้างรางวลั หรือผลประโยชนอ์ น่ื ใด
อันเกี่ยวเนอ่ื งกับการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี
(3) ปฏิบัตหิ นา้ ทด่ี ้วยความเสมอภาคและเท่ียงธรรม
(4) ไม่รับหรือใหข้ องขวัญของที่ระลกึ อันอาจก่อให้เกดิ อทิ ธิพลต่อการตดั สินใจอย่างใดอย่าง
หน่ึงโดยไม่เปน็ ธรรมในการปฏิบัตหิ น้าที่
3) ดาเนินการปกป้องผลประโยชน์ของชาตแิ ละคุณความดขี องสาธารณะและประพฤติตนเปน็
แบบอยา่ งทด่ี ี
แนวปฏิบัติ
1) สอดส่องดูแลและเอาใจใส่รกั ษาประโยชนข์ องทางราชการ
2) เสียสละประโยชนส์ ่วนตัวเพ่อื ประโยชนส์ ว่ นรวม
3) ไม่นง่ิ ดูดายในกรณพี บเหน็ การกระทาที่เสียหายต่อรฐั ราชการและประชาชน
4) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างทด่ี แี ก่ประชาชนและชุมชน
4) ตัดสินใจและกระทาการใดๆบนพื้นฐานของหลกั การกฎหมายหลักคุณธรรมทช่ี อบธรรมโดยยดึ
เหตุผลของสาธารณะประเทศชาตแิ ละมนษุ ยธรรม
แนวปฏิบตั ิ
(1) ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีตามหลักวชิ าหลักการ
(2) ปฏิบตั หิ น้าท่ีราชการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายมติคณะรัฐมนตรรี ะเบยี บแบบแผนของทาง
ราชการ
5) ปฏบิ ัตหิ น้าทอี่ ย่างถกู ต้องตามคาสง่ั ผบู้ ังคบั บัญชาที่ถูกกฎหมายกฎเกณฑ์เหตุผลอนั ชอบธรรมและ
กลา้ คดั คา้ นคาสง่ั ท่ีไม่ชอบธรรม
แนวปฏิบัติ
(1) ปฏิบตั ิตามคาส่งั ของผูบ้ งั คับบัญชาท่สี งั่ การโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบยี บของทาง
ราชการ
(2) ปฏเิ สธคาส่งั ที่ไม่ชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ
(3) กรณีไม่เหน็ ดว้ ยกับคาสงั่ ผู้บังคับบญั ชาใหเ้ สนอความเห็นเป็นหนงั สอื ใหผ้ ้บู ังคับบญั ชา
ทบทวนคาสงั่ น้ัน
2. ความซื่อสัตยส์ จุ ริตและความรับผิดชอบ
ความซื่อสัตยส์ จุ รติ และความรับผดิ ชอบเปน็ คณุ ธรรมและพฤตกิ รรมพน้ื ฐานของบุคคลและ
เป็นจรรยาบรรณทขี่ ้าราชการทุกคนต้องยดึ ถอื ปฏิบตั ิอยู่ตลอดเวลาเพื่อใหต้ ระหนกั ถึงฐานะและหน้าท่รี วมทัง้
ผดงุ เกยี รตแิ ละศักดิ์ศรขี องความเปน็ ข้าราชการและเป็นส่วนสาคัญทชี่ ว่ ยเสรมิ สร้างความโปรง่ ใสในการปฏบิ ัติ
หน้าท่ีราชการหากขา้ ราชการขาดความซ่ือสตั ย์สจุ รติ และความรบั ผิดชอบแลว้ ประชาชนหรอื สังคมจะขาดความ
นา่ เช่อื ถือมีปญั หาอยู่ตลอดเวลาและจะปฏบิ ตั หิ นา้ ที่การงานอนั ใดก็ไม่บรรลุผลทางตรงกันขา้ มหากขา้ ราชการ
ปฏบิ ัติหนา้ ที่ดว้ ยความซ่ือสัตย์สจุ ริตและรับผิดชอบก็ย่อมจะทาให้การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ บรรลผุ ลตลอดจน
สังคมประเทศชาตมิ ีความมน่ั คงสงบสขุ
ข้อพึงปฏิบัติ
1) ไม่คดโกงหลอกลวงหรือทาใหผ้ ูอ้ นื่ เกิดความเขา้ ใจผดิ
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) ไม่เบียดบงั ทรัพย์สนิ หรือเวลาของราชการเพื่อไปแสวงหาประโยชน์ของตน
(2) ทางานโดยยึดมั่นในหลักการมากกว่านาความรู้สึกมาใช้
-29-
(3) มกี ระบวนการตัดสนิ ใจและขั้นตอนในการทางานทชี่ ัดเจน
(4) มหี ลักเกณฑ์ในการใชด้ ุลยพินิจทโี่ ปร่งใสเปดิ เผยได้
(5) เปิดเผยความจริงไมบ่ ดิ บงั อาพรางไม่หลอกลวง
2) ปฏบิ ัติหน้าท่ีดว้ ยความซ่ือสตั ย์สุจรติ เทยี่ งตรงและเท่ียงธรรม
แนวปฏิบัติ
(1) ในการตัดสินใจตอ้ งใชด้ ุลยพนิ จิ ดว้ ยความซ่ือสัตยส์ ุจริตตรงไปตรงมาไม่ม่งุ หวังหรอื
แสวงหาประโยชน์จากบคุ คลหรอื กล่มุ บุคคลให้เปน็ การตอบแทน
(2) ปฏบิ ตั งิ านด้วยความถูกต้องได้มาตรฐานตามกฎระเบียบและหลักเกณฑ์ท่กี าหนด
(3) พร้อมรับผิดชอบต่อการกระทาของตนท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
(4) ปฏิบัติงานตามอานาจหน้าท่ีอยา่ งเต็มความสามารถและรบั ผดิ ชอบในผลของงานทีไ่ ด้
กระทาไป
3) ให้คาปรกึ ษาแนะนาผอู้ น่ื ด้วยความซ่อื สตั ยต์ รงไปตรงมาและใหข้ ้อมูลรายละเอียดทถี่ ูกต้องสมบูรณ์
เกีย่ วขอ้ งกบั การตัดสนิ ใจของประชาชนและรฐั บาล
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) ปฏิบตั หิ นา้ ท่ตี อ่ ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ด้วยความเปน็ มติ รมไี มตรีจติ โดยไมป่ ิดบังข้อมลู
(2) ปฏิบตั ิหนา้ ทีด่ ว้ ยความซื่อสัตยส์ จุ ริตอย่างเตม็ กาลงั ความรู้ความสามารถ
(3) ใหค้ วามเคารพและใหเ้ กยี รติผ้มู าขอคาปรึกษาแนะนาทุกคนอย่างเสมอภาคเป็น
ธรรมและไมเ่ ลือกปฏิบัติ
(4) ยึดม่ันในการใหข้ ้อมลู รายละเอียดแกผ่ ู้ขอคาปรึกษาโดยไมบ่ ิดเบือนข้อมลู จนเป็น
เหตทุ าใหป้ ระชาชนหรอื รัฐบาลตดั สนิ ใจผิดพลาด
4) ปฏิบัติหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของตนอย่างเต็มความสามารถ
แนวปฏบิ ัติ
(1)ปฏิบัติงานที่ไดร้ ับมอบหมายใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ตามกาหนดเวลาโดยยึดหลักผลลพั ธ์ของ
งานที่เกดิ ผลดีและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
(2) ปฏบิ ตั ิงานให้บรรลตุ ามเป้าหมายโดยใชว้ ิธีการกระบวนการท่ีถูกตอ้ งชอบธรรม
(3) ปฏิบัติงานดว้ ยความรอบคอบใส่ใจระมดั ระวังรักษาและปกป้องผลประโยชนข์ อง
ทางราชการ
(4) ปฏิบตั งิ านได้อย่างมปี ระสิทธิภาพแม้ว่าจะอยูภ่ ายใตส้ ภาวะที่มีทรัพยากรจากัด
3. การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีดว้ ยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
การปฏิบัติหนา้ ทดี่ ว้ ยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้หมายถึงการดาเนินงานและ
การตดั สินใจทเ่ี ปิดเผยการเปิดเผยข้อมูลทุกข้นั ตอนตามกฎหมายวา่ ด้วยข้อมลู ขา่ วสารของราชการและการ
ประพฤตปิ ฏิบตั ิงานอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมจนเปน็ ท่ไี ว้วางใจโดยมคี วามซื่อสัตย์สุจรติ ตรงไปตรงมาโปร่งใส
และตรวจสอบไดใ้ ห้เกียรติและไม่เอาเปรียบผู้อนื่ กระทาตามสญั ญาและยึดมัน่ ในจรรยาบรรณท้งั นเ้ี พ่ือสรา้ ง
ความไว้วางใจซงึ่ กันและกนั ของบคุ คลในชาตใิ ห้ประชาชนรแู้ ละเข้าใจขั้นตอน / วิธกี ารดาเนินงานและเปิด
โอกาสให้เข้ามามบี ทบาทร่วมกนั วางแนวทางแกไ้ ขปญั หาในดา้ นต่างๆ
ขอ้ พึงปฏิบตั ิ
1) ไม่เปดิ เผยข้อมูลข่าวสารของราชการที่เปน็ ความลบั หรือโดยไมม่ ีอานาจหนา้ ท่หี รือท่ีไม่ถกู ต้องเพ่ือ
เอือ้ ประโยชน์ตอ่ ตนเองผูอ้ ืน่ หรือเป็นภยั ตอ่ ประชาชนและประเทศปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายว่าดว้ ยข้อมูลข่าวสารของ
ราชการอย่างเครง่ ครัด
-30-
2) พรอ้ มให้ฝ่ายต่างๆเข้ามาตรวจสอบการดาเนินงานได้ทุกเวลาและพรอ้ มรับผิดชอบต่อความ
ผิดพลาดทีเ่ กิดขน้ึ เพอื่ ดารงไว้ซึ่งความไว้วางใจและความมั่นคงของสาธารณชน
แนวปฏบิ ัติ
(1) จดั ให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ใหต้ รวจดูได้
(2) เก็บข้อมลู หลักฐานการปฏบิ ตั ิงานพรอ้ มให้ตรวจสอบได้ตลอดเวลา
(3) จดั ให้มชี อ่ งทางในการเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารและเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาแสดง
ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะผลการดาเนนิ งาน
(4) นาขอ้ เสนอแนะหรอื ขอ้ ร้องเรียนกาหนดแนวทางในการแกไ้ ข
3) เปิดเผยการดาเนินการอย่างมีเหตผุ ลเปน็ ข้นั ตอนสามารถแจง้ ลาดับขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน
ผู้รบั ผิดชอบและระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิงานให้ผู้ติดต่อทราบเพอ่ื สามารถตดิ ตามความรบั ผิดชอบได้
และหลีกเลย่ี งต่อการเกิดผลประโยชน์ทับซอ้ น
แนวปฏบิ ัติ
(1) กาหนดขั้นตอนและระยะเวลาการใหบ้ ริการของบุคลากรในแต่ละกระบวนงานหรือใน
แต่ละเรื่องใหผ้ รู้ ับบรกิ ารไดร้ ับบรกิ ารทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
(2) ประชาสมั พนั ธ์และเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารการดาเนินงานให้ทราบ
4) ดูแลขอ้ มูลข่าวสารของราชการอย่างระมดั ระวงั และใชป้ ระโยชนใ์ นทางท่ีถกู ต้องเท่าน้นั
แนวปฏิบตั ิ
(1) ใช้ดุลยพนิ ิจของเจ้าหนา้ ท่ีในการใหข้ ้อมูลขา่ วสารของทางราชการอยา่ งระมัดระวัง
(2) รบั ผิดชอบเกบ็ รักษาข้อมูลขา่ วสารของราชการในท่ีปลอดภัย
5) เปิดเผยข้อมลู ขา่ วสารแก่ผู้รอ้ งขอตามขนั้ ตอนท่อี งค์กรกาหนดและภายใต้ขอบเขตของกฎหมายท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
แนวปฏบิ ัติ
(1) ศกึ ษาข้นั ตอนการเปดิ เผยขอ้ มูลขา่ วสารท่ีองคก์ รกาหนด
(2) ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บข้อบังคบั ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
(3) ใหข้ ้อมูลขา่ วสารแกผ่ ขู้ อรับคาปรกึ ษาแนะนาอยา่ งถกู ต้องครบถ้วนและทนั เวลา
4. การปฏิบัติหนา้ ทโี่ ดยไม่เลือกปฏบิ ัติอย่างไม่เปน็ ธรรม
การปฏบิ ตั หิ น้าทโ่ี ดยไม่เลอื กปฏิบตั อิ ย่างไมเ่ ปน็ ธรรมหมายถงึ บริการประชาชนดว้ ยความ
เสมอภาคเน้นความสะดวกรวดเรว็ ประหยัดและถกู ต้องปฏิบัติตอ่ ผู้มาขอรบั บริการด้วยความมนี ำ_ใ้ จเมตตา
เออื้ เฟื้อเป็นพฤติกรรมการทางานให้บรกิ ารโดยเนน้ ความเสมอภาคเท่าเทยี มกนั ใหบ้ ริการตามลาดับโดยไม่
คานงึ ถึงเชื้อชาติหรือเครอื ญาตเิ พ่ือความเสมอภาคเป็นธรรมอานวยความสะดวกแก่ผูม้ ารบั บรกิ ารในมาตรฐาน
เดียวกันไม่บริการพิเศษเฉพาะรายทร่ี ้จู ักให้บรกิ ารดว้ ยความรวดเร็วทั่วถึงปราศจากอคติ
ข้อพึงปฏบิ ัติ
1) ปฏิบัติตอ่ บคุ คลทัว่ ไปอยา่ งมเี หตุผลสภุ าพและเทา่ เทยี มกนั
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) ให้เกยี รตปิ ระชาชนพูดจาสุภาพและรกั ษาผลประโยชน์ผู้รบั บริการ
(2) ปฏิบตั ิหน้าทห่ี รอื ให้บริการตามลาดับของการมารับบริการ
(3) ต้องทางานด้วยความเทีย่ งธรรมและปอ้ งกนั ไม่ให้สทิ ธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึง่ เป็น
กรณพี เิ ศษ
(4) ปฏบิ ตั ิให้เปน็ ไปตามกฎระเบียบแบบธรรมเนยี มในมาตรฐานเดยี วกนั กับทุกคน
-31-
(5) ไม่กระทาการใดท่เี ปน็ การชว่ ยเหลืออปุ ถัมภ์เพอื่ ผลประโยชนห์ รอื เลอื กปฏิบัติ
ขอ้ พึงระวัง
1) ระมัดระวังในการปฏิบัตหิ น้าท่ีโดยใหบ้ รกิ ารและชว่ ยเหลือผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียอย่างเทา่
เทยี มกนั
2) การใช้ความสัมพนั ธ์ส่วนตวั
3) ทาสงิ่ ทร่ี บั ผิดชอบให้สาเร็จดว้ ยความเท่ียงตรงและยุติธรรม
แนวปฏบิ ัติ
(1) ปฏเิ สธระบบอปุ ถัมภโ์ ดยไม่กระทาการใดเพ่ือเปน็ การชว่ ยเหลือหรอื เลือกปฏบิ ัติ
อยา่ งไม่เปน็ ธรรม
(2) ไมใ่ ช้อิทธพิ ลและไม่ตกอยู่ใต้อานาจทไ่ี ม่ถกู ต้องของบคุ คลใดเพ่ือให้ตนเองหรือบคุ คล
ใดไดร้ ับสทิ ธพิ ิเศษหรือประโยชนใ์ ดๆ
(3) มีความสานึกในบทบาทและหน้าทอี่ ย่างตรงไปตรงมาโดยไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ
(4) ปฏบิ ัติหน้าทตี่ ามท่ไี ด้รบั มอบหมายโดยปราศจากการหาผลประโยชน์เพือ่ ตนเองจาก
หนา้ ท่ีที่ไดร้ บั
4) ปฏิบตั ิงานเพื่อใหบ้ รกิ ารของรฐั มีประสิทธิผลสามารถเข้าถึงบรกิ ารได้ง่ายสะดวกและรวดเรว็
แนวปฏบิ ัติ
1) ปฏิบตั ติ นใหต้ รงต่อเวลาและใชเ้ วลาใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ทางราชการอย่างเตม็ ท่ี
2) ใช้ความรูค้ วามสามารถปฏิบตั ริ าชการอยา่ งเต็มกาลังด้วยความรอบคอบรวดเร็วโดย
คานึงถึงประโยชน์ของทางราชการเปน็ สาคัญ
3)แจง้ ลาดบั ขนั้ ตอนการปฏิบัติงานผู้ปฏบิ ตั ิงานและระยะเวลาในการดาเนนิ การให้ผู้
ติดตอ่ ทราบเพ่ือผตู้ ดิ ต่อสามารถติดตามเร่ืองได้
4) มีความกระตือรือร้นและพรอ้ มท่ีจะให้บรกิ าร
5. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน
การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิของงานหมายถงึ ทางานใหแ้ ล้วเสร็จตามกาหนดเกดิ ผลดตี อ่ หน่วยงาน
และส่วนรวมใช้ทรัพยากรของทางราชการอยา่ งคุ้มค่าเน้นการทางานโดยยึดผลลัพธเ์ ป็นหลกั เป็นพฤตกิ รรมการ
ทางานใหแ้ ล้วเสร็จตามกาหนดโดยได้ผลลัพธต์ ามเป้าหมายและเกิดความคุ้มค่ามีการประสานงานกบั ทุกฝ่ายที่
เกยี่ วขอ้ งเพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจในเปา้ หมายและเนอ้ื หาสาระของงานที่ตรงกันปฏิบตั ิงานใหส้ อดคลอ้ งกับ
กฎระเบยี บและกฎหมายท่ีเก่ียวข้องโดยมุง่ เป้าหมายของประชาชนและประเทศชาติ
ข้อพึงปฏิบตั ิ
1) ปฏบิ ัติงานดว้ ยความรอบคอบถูกตอ้ งใส่ใจระมดั ระวังรักษาผลประโยชนส์ าธารณะอย่างเตม็
ความสามารถ
แนวปฏิบัติ
(1) ปฏบิ ัตหิ น้าที่ราชการอยา่ งเต็มกาลังความสามารถไม่ประมาทเลินเล่อและกระทาการ
ใดๆโดยคานึงถึงประโยชน์ของสว่ นรวมเปน็ สาคญั
(2) ตัดสินใจในหน้าท่รี าชการดว้ ยความถกู ต้องชอบธรรมเพ่ือรกั ษาผลประโยชน์ของ
ประชาชนและประเทศชาติ
2) ปฏิบตั งิ านโดยใชก้ ลยทุ ธ์ปอ้ งกนั การทจุ รติ คอร์รปั ช่ันใช้งบประมาณอย่างซอ่ื สตั ย์ประหยัดและคุ้มค่า
-32-
แนวปฏบิ ัติ
(1) กาหนดมาตรการและแนวทางในการดาเนินการในเร่ืองตา่ งๆท่ีมีความเสี่ยงว่าจะเกิดการ
ทุจรติ คอร์รัปชน่ั
(2) ดแู ลรักษาและใชท้ รัพยส์ ินของทางราชการอยา่ งประหยัดซ่ือสัตยแ์ ละคมุ้ คา่
3) มมี านะพยายามฝา่ ฟันอุปสรรคมุ่งมนั่ ในการทางานให้สาเรจ็ ตามเป้าหมาย
แนวปฏบิ ัติ
(1) ศกึ ษาหาความรูเ้ พื่อพฒั นาตนเองให้กา้ วหนา้ ทันเหตุการณแ์ ละมุ่งสคู่ วามเป็นเลศิ ทาง
วิชาการ
(2) ปฏิบตั ิหนา้ ท่รี าชการด้วยความขยันอดทนอุตสาหะเอาใจใสร่ ะมัดระวังรักษาประโยชน์
ของทางราชการ
(3) อทุ ิศเวลาและใชเ้ วลาในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ ห้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ราชการอยา่ งเต็มท่ีเตม็
ความสามารถ
4) ใช้ทักษะและสมรรถนะอย่างเตม็ ทใี่ นงานที่รับผดิ ชอบอย่างมืออาชีพไดผ้ ลลัพธ์ตามเป้าหมาย
แนวปฏิบัติ
(1) ปฏบิ ตั หิ น้าที่ราชการด้วยการใชค้ วามรู้ความสามารถอยา่ งเต็มท่ีตามหลักวิชาชพี
(2) เพมิ่ พูนความรู้ความสามารถและทักษะประสบการณ์ในการทางานเพ่ือใหก้ ารปฏบิ ตั ิ
หน้าที่มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลยงิ่ ขน้ึ
(3) ปฏบิ ตั งิ านโดยใชค้ วามคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงตา่ งๆใหก้ า้ ว
ทันต่อยุคโลกาภวิ ตั น์และใชค้ วามร้คู วามสามารถทางหลักวิชาการซงึ่ อยู่บนพืน้ ฐานของคุณธรรมความซ่ือสตั ย์
สุจรติ
5) ปฏิบัติงานให้บรรลตุ ามเป้าหมายโดยใช้วธิ ีการกระบวนการทีถ่ ูกตอ้ งเปน็ ธรรม
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) มแี ผนงานขั้นตอนระยะเวลาในการดาเนินการที่ชดั เจน
(2) ปฏบิ ัติงานใหเ้ ป็นไปตามข้ันตอนของกระบวนการและเงื่อนไขระยะเวลาท่กี าหนดโดยยึด
หลกั ธรรมาภบิ าล
(3) รับผิดชอบและมีความยุติธรรมในการตดั สินใจปฏิบัติงานในหนา้ ทที่ ่ีได้รับมอบหมาย
6) การใหค้ วามร่วมมือในทางสร้างสรรค์
การมีความสามคั คแี ละให้ความรว่ มมือกันในการปฏบิ ตั ิงานทาใหข้ า้ ราชการเกิดความรกั ใคร่
กลมเกลียวกนั รว่ มมือกันสรา้ งสรรคง์ านเพื่อองคก์ รหนว่ ยงานมีผลการดาเนินงานทีม่ ีประสิทธภิ าพและ
ประสิทธิผลสง่ ผลดตี ่อประเทศชาติและประชาชน
ขอ้ พึงปฏิบัติ
1) มีความรับผดิ ชอบตั้งใจและมงุ่ มน่ั ในการปฏิบัตงิ าน
แนวปฏิบตั ิ
(1) มคี วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติงานการให้ความร่วมมือชว่ ยเหลือกลมุ่ งานของตนเองทัง้
ในดา้ นใหค้ วามคดิ เห็นการช่วยทางานและการแกไ้ ขปัญหาร่วมกนั รวมท้งั การเสนอแนะในส่งิ ทเี่ ห็นว่าจะมี
ประโยชน์ในการพฒั นางานเต็มใจท่จี ะปฏิบัตหิ น้าที่โดยไม่หลกี เลย่ี ง
(2) มีความกระตือรือรน้ ท่จี ะทาใหง้ านประสบผลสาเรจ็
(3) อทุ ิศเวลาผลักดนั และมุ่งมั่นให้บรรลเุ ป้าหมาย
(4) ยอมรับและแก้ไขปัญหาอันเนอ่ื งมาจากความผดิ พลาดในการทางาน
-33-
2) นาความรแู้ ละความสามารถมาใช้ในการปฏิบัติงานอยา่ งสรา้ งสรรค์
แนวปฏบิ ัติ
(1) นาเทคโนโลยใี หมๆ่ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
(2) พัฒนาองค์ความร้มู าปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงวิธกี ารทางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพอยู่เสมอ
3) มจี รยิ ธรรมและเป็นมติ รกับทุกคน
แนวปฏบิ ตั ิ
(1) ประพฤตติ นเหมาะสมกบั การเป็นข้าราชการทด่ี ี
(2) มที ศั นคติทางบวกต่อเพ่ือนร่วมงานและผูร้ ับบริการ
4) จริงใจสภุ าพอ่อนนอ้ มถ่อมตนและมีมนษุ ยสัมพันธท์ ีด่ ตี อ่ ผู้รับบริการและบคุ ลากรใน
หนว่ ยงาน
แนวปฏบิ ัติ
(1) ทางานเปน็ ทมี และยอมรับฟังความคดิ เห็นของผู้อื่น
(2) ให้ความเคารพยกย่องชืน่ ชมและใหเ้ กยี รติเพ่ือนรว่ มงานทกุ คน
(3) รจู้ ักชมเชยและให้กาลงั ใจเพือ่ นร่วมงาน
ขอ้ พึงระวัง
1) การแสดงความคิดเห็นหรือทศั นคติที่ไม่ดีทีก่ ่อให้เกิดความเสียหายตอ่ เพอ่ื นร่วมงาน
2) การพดู ส่อเสียดเหน็บแนมหรอื ดหู ม่นิ เพื่อนรว่ มงาน
3) การแสดงกริ ิยาดูถูกเพ่ือนร่วมงาน
4) การใชภ้ าษาที่กระทบกระเทอื นความรสู้ ึกของผฟู้ ัง
5) ปฏิบตั หิ นา้ ที่ของตนในการทางานกลุม่ ให้สาเรจ็
แนวปฏบิ ัติ
1) ศึกษารายละเอียดของงานให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจเป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ในการทางาน
ใหช้ ัดเจน
2) ม่งุ ม่นั ในการทางานสว่ นที่ตนเองรับผดิ ชอบในฐานะสมาชิกของกลมุ่ ใหส้ าเรจ็
3) มกี ารระดมความคิดและรับฟังความคิดเหน็ ของเพื่อนร่วมงาน
4) มวี ินยั ในการทางาน