The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มาตรา 209 - 216

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 641081267, 2022-09-15 22:09:35

641081267 มณฑิตา ทองบุญ

ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน มาตรา 209 - 216

C riminalญLาaภwาค ความผิด2

อา ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

นางสาว มณฑิตา ทองบุญ
รหัสนิสิต 641081267 S103

มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำนำ

กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิ ด เป็ นการศึ กษาเกี่ ยวกบั แนวความ

คิ ดในการกา หนดความผิ ด ประเภทต่ างๆ และวิ ธี การลงโทษ หลัก

กฎหมายเกี่ ยวกับความผิ ดลักษณะต่ างๆในภาค2 ของประมวล

กฎหมายอาญาและความผิ ดลหุ โทษฐานต่ าง ๆ ประมวลกฎหมาย

อาญาภาค 2 ความผิ ดถู กบัญญัติ ไวเ้ ป็ นหมวดหมู่ เฉพาะได้แก่ ความ

ผิ ดเกี่ ยวกับความมั่ นคงแห่ งราชอาณาจักร ความผิ ดเกี่ ยวกับการ

ปกครอง ความผิ ดเกี่ ยวกับการยุ ติ ธรรม ความผิ ดเกี่ ยวกับศาสนา

ความผิ ดเกี่ ยวกับความสงบสุ ขของประชาชน ความผิ ดเกี่ ยวกับการก่ อ

ให้เกิ ดภยันตรายต่ อประชาชน ความผิ ดเกี่ ยวกับการปลอมและการ

แปลงเอกสาร ความผิ ดเกี่ ยวกับการค้า ความผิ ดเกี่ ยวกับเพศ ความ

ผิ ดเกี่ ยวกับชี วิ ตและร่ างกาย ความผิ ดเกี่ ยวกับเสรี ภาพและชื่ อเสี ยง

ความผิ ดเกี่ ยวกับทรัพย์

ประมวลกฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิ ด มุ่ งเน้นทั้งในภาคทฤษฎี และ

แนวคำพิ พากษาของ ศาลฎี กา เพื่ อเสริ มสร้างทักษะและองค์ความรู้ให้

กับนักศึ กษาเพื่ อเป็ นแนวทางในการศึ กษาวิ ชากฎหมายอาญาในระดับ

สู งต่ อไป

สารบัญ

เรื่ อง ห น้ า

มาตรา 209 1-2
มาตรา 210 3-4
มาตรา 211 5-6
มาตรา 212 7-8
มาตรา 213 9 - 10
มาตรา 214
มาตรา 215 11
มาตรา 216 12 - 13
บรรณานุ กรม 14 - 15

16

1

ลักษณะ 5



ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว กับ ค ว า ม ส ง บ สุ ข ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

มาตรา 209 บัญญัติ ไว้ว่ า ผู้ใดเป็ นสมาชิ กของคณะบุ คคลซึ่ งปกปิ ดวิ ธี
ดำเนิ นการและมี ความมุ่ งหมายเพื่ อการอันมิ ชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นกระทำความ
ผิ ดฐานเป็ นอั้งยี่ ต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นเจ็ดปี และปรับไม่ เกิ นหนึ่ งแสนสี่ หมื่ น
บาท

ถ้าผู้กระทำความผิ ดเป็ นหัวหน้าผู้จัดการหรื อผู้มี ตำแหน่ งหน้าที่ ในคณะบุ คคล
นั้น ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นสิ บปั และปรับไม่ เกิ นสองแสนบาท

มาตรา 209
องค์ประกอบความผิ ดมี ดังนี้

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
1. ผู้ใด
2. เป็ นสมาชิ กของคณะบุ คคล
3. ซึ่ งปกปิ ดวิ ธี ดำเนิ นการและมี ความมุ่ งหมาย

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
เจตนา

อธิ บาย
มาตรา 209 เป็ นความผิ ดฐาน"อั้งยี่ "ซึ่ งเป็ นกรณี ของผู้ที่ เป็ นสมาชิ กของ

คณะบุ คคลที่ มี การรวมตัวกันเป็ นการถาวร ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มี เจตนาและเป้า
หมายร่ วมกัน ซึ่ งปกปิ ดวิ ธี การดำเนิ นการ และมี ความมุ่ งหมายอันมิ ชอบด้วย
กฎหมายโดยคณะบุ คคลที่ รวมตัวกันดังกล่ าวจะต้องมี เจตนาร่ วมกันในการปกปิ ด
วิ ธี การดำเนิ นการ และมี ความมุ่ งหมายอันมิ ชอบด้วยกฎหมาย

2

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 1176/2505
จำเลยเป็ นสมาชิ กกองกำลังติ ดอาวุ ธโจรก่ อการร้ายขบวนการบี อาร์เอ็นมี

พฤติ การณ์ในการแบ่ งแยกดิ นแดนจังหวัดชายแดนภาคใต้เรี ยกค่ าคุ้มครองซุ่ ม
โจมตี เจ้าหน้าที่ ของรัฐ มี ความผิ ดตามมาตรา 209

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 124/2457
จำเลยชักชวนผู้คนกว่ าสองร้อยคนเป็ นสมาชิ กอั้งยี่ มี บัญชี จดรายชื่ อ

มี บัตรประจำตัวบังคับให้สมาชิ กสาบานตัว เรี ยนรู้วิ ธี ใช้สัญญาณนิ้วแสดงถึง
การเป็ นพวกเดี ยวกัน และได้จับคนมาฆ่ าเฆี่ ยรตี ลามโซ่ บังคับเอาเงิ น เช่ นนี้
จำเลยมี ความผิ ดตามมาตรา 209

3

มาตรา 210 บัญญัติ ไว้ว่ า ผู้ใดสมคบกันตั้งแต่ ห้าคนขึ้นไป เพื่ อกระทำความผิ ด
อย่ างหนึ่ งอย่ างใดตามที่ บัญญัติ ไว้ในภาค ๒ นี้ และความผิ ดนั้นมี กำหนดโทษจำ
คุ กอย่ างสู งตั้งแต่ หนึ่ งปี ขึ้นไป ผู้นั้นกระทำความผิ ดฐานเป็ นซ่ องโจร ต้อง
ระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นห้าปี หรื อปรับไม่ เกิ นหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจำทั้งปรับ

ถ้าเป็ นการสมคบเพื่ อกระทำความผิ ดที่ มี ระวางโทษถึงประหารชี วิ ต จำคุ ก
ตลอดชี วิ ตหรื อจำคุ กอย่ างสู งตั้งแต่ สิ บปี ขึ้นไป ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุ ก
ตั้งแต่ สองปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่ สี่ หมื่ นบาทถึงสองแสนบาท

มาตรา 210
องค์ประกอบความผิ ดมี ดังนี้

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
1. ผู้ใด
2. สมคบกันตั้งแต่ ห้าคนขึ้นไป

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
1. เจตนา
2. เพื่ อกระทำความผิ ดอย่ างใดอย่ างหนึ่ งตามที่ บัญญัติ ไว้ในภาค 2 นี้

และความผิ ดนั้นมี โทษจำคุ กอย่ างสู งตั้งแต่ หนึ่ งปี ขึ้นไป

อธิ บาย
มาตรา 210 เป็ นความผิ ดฐาน"ซ่ องโจร"ที่ มี การสมคบกัน

ตั้งแต่ 5คนขึ้นไปโดยลักษณะของการ สมคบนี้ ตามบทบัญญัติ แสดงให้
เห็ นว่ าการรวมตัวขึ้นของซ่ องโจรไม่ มี ลักษณะมั่ นคงถาวรเหมื อนกับ
กรณี ของอั้งยี่ ที่ กฎหมายใช้คำว่ า "เป็ นสมาชิ ก" เพี ยงแต่ กรณี ของ
ซ่ องโจรนี้กฎหมายกำหนดผู้มี ความผิ ดฐานซ่ องโจรที่ สมคบกันขั้นต่ำ 5
คนขึ้นไป ไม่ จำกัดจำนวน โดยมี เจตนา และเจตนาพิ เศษ "เพื่ อกระทำ
ความผิ ดอย่ างหนึ่ งอย่ างใด ตามที่ บัญญัติ ในภาค 2 นี้ และความผิ ดนั้นมี
กำหนดโทษจำคุ กอย่ างสู ง 1 ปี ขึ้นไป" ซึ่ งหากเป็ นการสมคบกันไปกระทำ
ความผิ ดตามกฎหมายอื่ นที่ มี โทษทางอาญา แต่ มิ ใช่ ภาค 2 ความผิ ดตาม
ประมวลกฎหมายอาญาก็ยังไม่ เป็ นความผิ ดตามมาตรา 210 นี้หรื อ
แม้ว่ าจะเป็ นความผิ ดในภาค 2 ประมวลกฎหมายอาญา แต่ มี โทษจำคุ กต่ำ
กว่ า 1 ปี ก็ยังไม่ เป็ นความผิ ดตามาตรา 210 เช่ นกัน

4

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กา 2829/2526
การที่ มี การประชุ มหารื อกันแม้ว่ าจะเกิ นกว่ า 5 คน โดยมิ ได้ตกลงอะไร

กันหรื อตกลงกันไม่ ได้ เช่ นนี้ยังไม่ ถื อว่ าเป็ นความผิ ดฐานซ่ องโจร ตามาตรา
210

คำพิ พากษาศาลฎี กา 4548/2540
จำเลยทั้ง6 วางแผนร่ วมกันเพื่ อทำการปล้นทรัพย์ เป็ นความผิ ดฐาน

ซ่ องโจรตามาตรา 210

5

มาตรา 211 บัญญัติ ว่า ผู้ใดประชุ มในที่ ประชุ มอั้งยี่หรือซ่องโจร ผู้นั้นกระทำ
ความผิดฐานเป็นอั้งยี่หรือซ่องโจร เว้นแต่ ผู้นั้นจะแสดงได้ว่า ได้ประชุ มโดย
ไม่รู้ว่าเป็นการประชุ มของอั้งยี่หรือซ่องโจร

มาตรา 211
องค์ประกอบความผิ ดมี ดังนี้

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
1. ผู้ใด
2. ประชุ มในที่ ประชุ มอังยี่ หรื อซ่ องโจร

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
เจตนา

อธิ บาย
มาตรา 211 ผู้นั้นกระทำความผิ ดฐานเป็ นอั้งยี่ หรื อซ่ องโจร

ข้อแก้ตัว เว้นแต่ ผู้นั้นจะแสดงได้ว่ าได้ประชุ มโดยไม่ รู้ว่ าเป็ นการประชุ ม
ของอั้งยี่ หรื อซ่ องโจร
การกระทำคื อ “ประชุ ม” ซึ่ งผู้กระทำจะต้องมี “เจตนาประชุ ม”คื อต้องรู้
ว่ าเป็ นการประชุ มของอั้งยี่ หรื ซ่ องโจร
หากประชุ มโดยรู้แล้วว่ าเป็ นการประชุ ม ก็ถื อว่ ามี เจตนาประชุ ม ก็มี ความ
ผิ ดฐานเป็ นอั้งยี่ หรื อซ่ องโจร
ทันที แต่ มาตรา ๒๑๑ เปิ ดโอกาสให้นำสื บหักล้างได้ว่ าตนเข้าประชุ มโดย
หารู้ไม่ ว่ าเป็ นการประชุ มของอั้งยี่
หรื อซ่ องโจร

6

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กา 381/2461

เจ้าพนักงานจับจำเลยได้ในตึกแห่ งหนึ่ งซึ่ งปรากฏชัดว่ าเป็ นสำนักงาน

ของอั้งยี่ คณะเต็กง้วยกงซ้อ มี หนังสื อปิ ดไว้ว่ า “เต็กง้วยกงซ้อ” ซึ่ งตรงกับชื่ อ

พวกอั้งยี่ ทั้งพวกจี นที่ ไปมั่ วสุ มชุ มนุ มกันที่ ห้องเช่ าจำเลยนี้ได้ไปเที่ ยวก่ อการวิ วาท

และทำร้ายผู้อื่ นจนปรากฏว่ าเคยต้องคำพิ พากษาลงโทษมาแล้ว เ ว ล า เ จ้า

พนักงานไปจับกุ มก็พบมั่ วสุ มชุ มนุ มกันอยู่ หลายคน ค้นได้ของกลางอันเป็ นหลัก

ฐานของพวกอั้งยี่ ด้วย ดังนี้ จึงต้องฟังว่ าเป็ นพวกอั้งยี่ ซึ่ งเป็ นสมาคมเพื่ อการ

อันมิ ชอบด้วยกฎหมาย เมื่ อฟังได้เช่ นนี้จำเลยต้องพิ สู จน์ความบริ สุ ทธิ์ เมื่ อแสดง

ความบริ สุ ทธิ์ของตนไม่ ได้ ย่ อมมี ความผิ ดฐานเป็ นอั้งยี่

7

มาตรา 212 บัญญัติ ว่า ผู้ใด
(1) จัดหาที่ ประชุ มหรือที่ พำนักให้แก่ อั้งยี่หรือซ่องโจร
(2) ชักชวนบุ คคลให้เข้าเป็นสมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจร
(3) อุ ปการะอั้งยี่หรือซ่องโจรโดยให้ทรัพย์หรือโดยประการอื่ น หรือ
(4) ช่วยจำหน่ายทรัพย์ที่ อั้งยี่หรือซ่องโจรได้มาโดยการกระทำความผิด
ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกั บผู้กระทำความผิดฐานเป็นอั้งยี่หรือซ่องโจรแล้ ว

แต่ กรณี

มาตรา 212
องค์ประกอบความผิ ดมี ดังนี้

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
(๑)(๒)(๓)(๔)

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
เจตนา

อธิ บาย
มาตรา 212 ผู้ช่ วยเหลื อเกื้อกู ล เพี ยงแต่ ระวางโทษเช่ นเดี ยวกับ

สมาชิ กอั้งยี่ หรื อพรรคพวกซ่ องโจร แต่ ไม่ ผิ ดฐานเป็ นอั้งยี่ หรื อซ่ องโจร
ผู้ช่ วยเหลื อจึงไม่ ใช่ สมาชิ กอั้งยี่ หรื อพรรคพวกซ่ องโจร

(ด้วยเหตุ นี้มาตรา ๒๑๓ จึงไม่ อาจนำมาใช้แก่ กระทำความผิ ดตามมาตรา
๒๑๒ ได้ ดังนั้น ผู้จัดให้ใช้บ้านของตนเป็ นที่ ประชุ มซ่ องโจร แต่ ไม่ ได้เข้า
ประชุ มด้วย จึงไม่ ใช่ พรรคพวกซ่ องโจร หากพรรคพวกซ่ องโจรคนใดไป
กระทำความผิ ด ผู้จัดหาที่ ประชุ มให้ ก็ไม่ ต้องรับผิ ดในความผิ ดที่ พรรค
พวกซ่ องโจรได้ไปกระทำนั้น)

8

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 1913/2546

ความผิ ดฐานซ่ องโจรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 210 นั้น ผู้

กระทำต้องสมคบกันเพื่ อกระทำความผิ ด โดยร่ วมคบคิ ดกันหรื อแสดงออกซึ่ ง

ความตกลงจะทำความผิ ดร่ วมกัน เช่ น ประชุ มหรื อหารื อวางแผนที่ จะกระทำ

ความผิ ด และตามมาตรา 212บัญญัติ ให้เอาความผิ ดแก่ ผู้จัดหาที่ ประชุ มหรื อที่

พำนักให้แก่ ซ่ องโจร ซึ่ งเป็ นข้อสนับสนุ นให้เห็ นถึงองค์ประกอบของความผิ ด

ฐานเป็ นซ่ องโจรให้เห็ นเด่ นชัดว่ าจะต้องมี การคบคิ ดประชุ มปรึกษาหารื อกันเพื่ อ

กระทำความผิ ด ซึ่ งมี สภาพเป็ นการกระทำระหว่ างผู้ร่ วมกระทำความผิ ดด้วยกัน

เมื่ อพยานหลักฐานโจทก์ไม่ สามารถนำสื บให้เห็ นว่ า มี การคบคิ ดกันจะกระทำ

ความผิ ดฐานฉ้อโกง ข้อเท็จจริ งจึงไม่ พอฟังว่ าจำเลยทั้งสองกระทำความผิ ด

ฐ า น ฉ้อ โ ก ง

ผู้เสี ยหายสมัครใจที่ นำเงิ นมาเพื่ อร่ วมกับจำเลยทั้งสองและ ว. เล่ นการพนัน

กำถั่ วเพื่ อโกง ท. ตามที่ บุ คคลทั้งสามชักชวนผู้เสี ยหาย เพราะ ว. ได้แสดงการ

โกงพนันกำถั่ วให้ผู้เสี ยหายดู ตลอดจนจำเลยที่ 2 ก็สอนวิ ธี การโกงพนันกำถั่ วให้

ผู้เสี ยหายดู จนผู้เสี ยหายแน่ ใจว่ าสามารถเล่ นพนันกำถั่ วโกง ท. ได้ ทั้งผู้เสี ยหาย

ก็อยู่ ในห้องเกิ ดเหตุ ตลอดเวลาที่ เล่ นการพนันกัน การที่ ผู้เสี ยหายนำเงิ นมามอบ

ให้จำเลยทั้งสองกับพวกเล่ นการพนันกำถั่ วเพื่ อโกง ท. จึงเชื่ อได้ว่ าผู้เสี ยหาย

สมัครใจเข้าร่ วมเล่ นการพนันโดยไม่ ได้รับอนุ ญาตด้วยเป็ นการร่ วมกับจำเลยทั้ง

สองกระทำความผิ ด ผู้เสี ยหายจึงไม่ ใช่ ผู้เสี ยหายโดยนิ ติ นัยที่ จะมี สิ ทธิ ร้องทุ กข์

ขอให้เจ้าพนักงานนำคดี ขึ้นว่ ากล่ าวในความผิ ดฐานฉ้อโกงซึ่ งเป็ นความผิ ดอัน

ยอมความได้ โจทก์ไม่ มี อำนาจฟ้อง

9

มาตรา 213 บัญญัติ ว่ า ถ้าสมาชิ กอั้งยี่ หรื อพรรคพวกซ่ องโจรคนหนึ่ งคนใดได้
กระทำความผิ ดตามความมุ่ งหมายของอั้งยี่ หรื อซ่ องโจรนั้น สมาชิ กอั้งยี่ หรื อ
พรรคพวกซ่ องโจรที่ อยู่ ด้วยในขณะกระทำความผิ ด หรื ออยู่ ด้วยในที่ ประชุ มแต่ ไม่
ได้คัดค้านในการตกลงให้กระทำความผิ ดนั้น และบรรดาหัวหน้า ผู้จัดการ หรื อผู้
มี ตำแหน่ งหน้าที่ ในอั้งยี่ หรื อซ่ องโจรนั้น ต้องระวางโทษตามที่ บัญญัติ ไว้สำหรับ
ความผิ ดนั้นทุ กคน

อธิ บาย
มาตรา 213 ถ้าความผิ ดได้กระทำลง พรรคพวกซ่ องโจรที่ อยู่ ด้วย

ในขณะกระทำผิ ดหรื ออยู่ ด้วยในที่ ประชุ ม หรื อหัวหน้า ผู้จัดการ ต้องรับ
โทษสำหรับความผิ ดที่ ได้กระทำด้วยอี กฐานหนึ่ ง

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 4548/2540

จำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 กับพวกรวม 6 คน ร่ วมกันวางแผนไปกระทำการ

ปล้นทรัพย์ของผู้เสี ยหายที่ 2 อันเป็ นความผิ ดตามที่ บัญญัติ ไว้ในภาค 2แห่ ง

ป.อ.จึงมี ความผิ ดฐานเป็ นซ่ องโจร และเมื่ อจำเลยที่ 4 กับพวกไปปล้นร้านทอง

ของผู้เสี ยหายที่ 2 ตามแผนที่ ร่ วมกันวางไว้ จำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ผู้ร่ วมวางแผน

ย่ อมมี ความผิ ดฐานเป็ นตัวการปล้นร้านทองร่ วมกับจำเลยที่ 4 กับพวกด้วย

ตาม ป.อ.มาตรา 213 และความผิ ดฐานเป็ นซ่ องโจรกับความผิ ดฐานปล้น

ทรัพย์เกี่ ยวเนื่ องกันเพราะพวกจำเลยกระทำผิ ดฐานเป็ นซ่ องโจรเพื่ อจะไปปล้น

ทรัพย์ของผู้เสี ยหายทั้งสองจึงเป็ นกรรมเดี ยวผิ ดกฎหมายหลายบท ต้อ ง

ลงโทษฐานปล้นทรัพย์อันเป็ นบทที่ มี โทษหนักที่ สุ ด ศ า ล ชั้น ต้น ป รับ บ ท ล ง โ ท ษ

จำเลยทั้งสี่ ฐานเป็ นซ่ องโจรด้วย จึงไม่ ถู กต้องศาลฎี กาเห็ นสมควรแก้ไขเสี ยให้

ถู กต้อง ปัญหานี้เป็ นปัญหาข้อกฎหมายที่ เกี่ ยวกับความสงบเรี ยบร้อย แม้จำเลย

ทั้งสามจะไม่ ฎี กาขึ้นมา ศาลฎี กาก็มี อำนาจยกขึ้นวิ นิ จฉัยเองได้และเป็ นเหตุ ใน

ลักษณะคดี จึงต้องวิ นิ จฉัยให้มี ผลถึงจำเลยที่ 4 ด้วย

10

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 1963/2531
ในกรณี ที่ ศาลฎี กาเห็ นว่ ามี เหตุ บรรเทาโทษเพราะจำเลยให้การรับ

สารภาพในชั้นจับกุ มและสอบสวน สมควรลดโทษให้แก่ จำเลยที่ ฎี กาขึ้นมาเมื่ อ
จำเลยที่ มิ ได้ฎี กาซึ่ งกระทำความผิ ดร่ วมกันก็ให้การรับสารภาพในชั้นจับกุ มและ
สอบสวนเช่ นเดี ยวกันเหตุ บรรเทาโทษดังกล่ าวจึงเป็ นเหตุ ในส่ วนลักษณะคดี
ศาลฎี กามี อำนาจพิ พากษาถึงจำเลยที่ มิ ได้ฎี กาด้วยตามประมวลกฎหมายวิ ธี
พิ จารณาความอาญามาตรา 213 ประกอบด้วยมาตรา 225

11

มาตรา 214 บัญญัติ ว่ า ผู้ใดประพฤติ ตนเป็ นปกติ ธุ ระเป็ นผู้จัดหาที่ พำนัก ที่ ซ่ อน
เร้นหรื อที่ ประชุ มให้บุ คคลซึ่ งตนรู้ว่ าเป็ นผู้กระทำความผิ ดที่ บัญญัติ ไว้ในภาค 2 นี้
ต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นสามปี หรื อปรับไม่ เกิ นหกหมื่ นบาท หรื อทั้งจำทั้งปรับ

ถ้าการกระทำความผิ ดนั้น เป็ นการกระทำเพื่ อช่ วยบิ ดา มารดา บุ ตร สามี
หรื อภริ ยาของผู้กระทำ ศาลจะไม่ ลงโทษก็ได้

มาตรา 214

อธิ บาย
1. การช่ วยเหลื อ
ต้องเป็ นการช่ วยเหลื อเป็ นปกติ ธุ ระ กล่ าวคื อ ช่ วยเหลื ออย่ าง

ส ม่ำ เ ส ม อ
2.ผู้ถู กช่ วยเหลื อ
ผู้กระทำความผิ ดทางอาญา อย่ างหนึ่ งอย่ างใดในภาค 2
3.เจตนาพิ เศษ
ไม่ มี เจตนาพิ เศษ

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 688/2502
ผู้ว่ าคดี ได้ยื่ นฟ้องจำเลยต่ อศาลแขวงโดยตั้งข้อหาว่ า จำเลยกระทำผิ ด

ฐานลักทรัพย์หรื อรับของโจร ชั้นไต่ สวนมู ลฟ้องจำเลยรับในข้อหารับของโจร
ศาลแขวงสั่ งคดี มี มู ล ประทับฟ้องฐานรับของโจร ส่ วนข้อหาฐานลักทรัพย์ไม่
ประทับฟ้อง โจทก์ก็ไม่ ได้โต้แย้งหรื อคัดค้านประการใด เมื่ อจำเลยให้การรับ
สารภาพฐานรับของโจร โจทก์ก็แถลงไม่ สื บพยาน ดังนี้คดี ไม่ มี ทางลงโทษ
จำเลยฐานลักทรัพย์ได้อี ก โจทก์ฎี กาขอให้ศาลฎี การับฟ้องฐานลักทรัพย์อี กด้วย
ข้อฎี กาของโจทก์จึงไม่ เป็ นสาระแก่ คดี ตาม ป.วิ .อ. มาตรา 214, 15 และ
ป.วิ .พ. มาตรา 242 (1) ต้องยกฎี กาโจทก์เสี ย

12

มาตรา 215 บัญญัติ ว่ า ผู้ใดมั่ วสุ มกันตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไป ใช้กำลังประทุ ษร้าย
ขู่ เข็ญว่ าจะใช้กำลังประทุ ษร้าย หรื อกระทำการอย่ างหนึ่ งอย่ างใดให้เกิ ดการ
วุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง ต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นหกเดื อน หรื อปรับไม่ เกิ นหนึ่ ง
หมื่ นบาท หรื อทั้งจำทั้งปรับ

ถ้าผู้กระทำความผิ ดคนหนึ่ งคนใดมี อาวุ ธ บรรดาผู้ที่ กระทำความผิ ด ต้อง
ระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นสองปี หรื อปรับไม่ เกิ นสี่ หมื่ นบาท หรื อทั้งจำทั้งปรับ

ถ้าผู้กระทำความผิ ดเป็ นหัวหน้า หรื อเป็ นผู้มี หน้าที่ สั่ งการในการกระทำความ
ผิ ดนั้น ต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นห้าปี หรื อปรับไม่ เกิ นหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจำ
ทั้ง ป รับ

มาตรา 215
องค์ประกอบความผิ ดมี ดังนี้

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย น อ ก
1. ผู้ใด
2. มั่ วสุ มกันตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไป
3. ใช้กำลังประทุ ษร้าย ขู่ เข็ญว่ าจะใช้กำลังประทุ ษร้าย หรื อกระทำการ
อย่ างหนึ่ งอย่ างใดให้เกิ ดความวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง

อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ภ า ย ใ น
เจตนา

อธิ บาย
มาตรา 215 เป็ นความผิ ดฐาน"มั่ วสุ ม"ให้เกิ ดความวุ่ นวายในบ้าน

เมื อง โดยการมั่ วสุ มเช่ นนี้จะต้องมี บุ คคลเข้าร่ วมค่ อนข้างมากจึงจะเป็ น
ความผิ ดตามฐานนี้ กล่ าวคื อตั้งแต่ 10ขึ้นไป ในลักษณะที่ เป็ นการใช้
กำลังประทุ ษร้าย ขู่ เข็ญว่ าจะใช้กำลังประทุ ษร้าย หรื อกระทำการอย่ าง
หนึ่ งอย่ างใดโดยมี เจตนา

13

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 346 - 347/2535
ความผิ ดฐานมั่ วสุ ม ไม่ จำเป็ นที่ ผู้มั่ วสุ มจะมี เจตนากระทำผิ ดในราย

ละเอี ยดอย่ างเดี ยวกัน แม้เพี ยงใช้กำลังประทุ ษร้ายหรื อก่ อให้เกิ ดความวุ่ นวาย
ขึ้นในบ้านเมื อง และผู้มามั่ วสุ มก็ไม่ จำต้องรู้จักหรื อวางแผนนัดหมายกันมาก่ อน
ก็ถื อเป็ นความผิ ดตามมาตรา 215

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 305/2547
จำเลยชุ มนุ มปราศรัยกันด้วยความสงบ ไม่ มี พฤติ การณ์อันใดที่ แสดง

ถึงการก่ อให้เกิ ดความวุ่ นวายในบ้านเมื อง ยังไม่ มี ความผิ ดตามาตรา 215

14

มาตรา 216 บัญญัติ ว่ า เมื่ อเจ้าพนักงานสั่ งผู้ที่ มั่ วสุ มเพื่ อกระทำความผิ ดตาม
มาตรา 215 ให้เลิ กไป ผู้ใดไม่ เลิ ก ต้องระวางโทษจำคุ กไม่ เกิ นสามปี หรื อปรับไม่
เกิ นหกหมื่ นบาท หรื อทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 216

อธิ บาย
มาตรา 216 ต้องมี เจตนาพิ เศษเพื่ อกระทำความผิ ดตามมาตรา

215 จึงจะเป็ นความผิ ดตามมาตรา 216
มุ่ งประสงค์ลงโทษผู้ที่ ขัดขื นคำสั่ งของเจ้าพนักงานอันเป็ นการ

กระทำที่ ยังไม่ ถึงขั้นความผิ ดสำเร็จตามมาตรา 215
การกระทำความผิ ดตามมาตรา 215, 216 ด้วยความจำเป็ น

ตัวอย่ างตามคำพิ พากษาศาลฎี กา

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 5553-5554/2556
จำเลยที่ 2 กับพวกได้รวมกลุ่ มคัดค้านด้วยความสงบโดยปราศจาก

อาวุ ธและมิ ได้ใช้กำลังประทุ ษร้ายใด ๆ ได้พยายามที่ จะขจัดความเดื อนร้อนด้วย
การยื่ นข้อเรี ยกร้องในทางรัฐบาลและผู้เสี ยหายลงไปแก้ปัญหาแล้ว โดยข้อเรี ยก
ร้องดังกล่ าวก็สมเหตุ สมผลและเป็ นที่ ประจักษ์ชัดว่ ามี อยู่ จริ ง แต่ ไม่ เป็ นผลและ
ไม่ เคยได้รับคำตอบจากรัฐบาล จำเลยและผู้เสี ยหาย ทั้งตามพฤติ การณ์ในขณะ
นั้นก็ไม่ มี วิ ธี การอื่ นใดเลยที่ จำเลยทั้งสองกับพวกจะพึ งกระทำได้โดยชอบ เพราะ
การสร้างเขื่ อนขวางกั้นแม่ น้ำและระเบิ ดหิ นซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติ ของแผ่ นดิ น
อันเป็ นการทำลายระบบนิ เวศน์ที่ จะส่ งผลกระทบต่ อประชาชนในพื้นที่ โดยตรง
กำลังดำเนิ นอยู่ อย่ างชัดแจ้ง หากกระทำไปแล้วย่ อมยากแก่ การแก้ไขให้กลับสู่
สภาพเดิ มได้ จึงถื อเป็ นภยันตรายที่ ใกล้จะถึง การกระทำของจำเลยที่ 2 และ
พวกแม้เป็ นการมั่ วสุ มตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไปให้เกิ ดการวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง เมื่ อ
เจ้าพนักงานบอกให้เลิ ก ไม่ ยอมเลิ ก ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 215,
216 และร่ วมกันบุ กรุ กในเวลากลางคื นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
362, 365 ก็เป็ นการกระทำด้วยความจำเป็ นที่ ต้องรวมกลุ่ มกันและเข้ายึดพื้นที่ ที่
มี การสร้างเขื่ อน จึงจะสามารถระงับยับยั้งภยันตรายดังกล่ าวได้ และการกระ
ทำของจำเลยที่ 2 กับพวกปราศจากอาวุ ธและมิ ได้ใช้ความรุ นแรงใด ๆ ก็
เป็ นการพอสมควรแก่ เหตุ จำเลยที่ 2 จึงไม่ ต้องรับโทษตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 67
ข้อสังเกต ตามคำพิ พากษาฎี กาที่ 5553-5554/2556 หากเป็ นการชุ มนุ มโดย
สงบ น่ าจะเป็ นเรื่ องที่ ใช้สิ ทธิ ตามรัฐธรรมนู ญ ซึ่ งไม่ เป็ นความผิ ดตามมาตรา
215, 216 อย่ างไรก็ตาม ศาลฎี กาฟังข้อเท็จจริ งว่ ามี การบุ กรุ กเข้าไปในพื้นที่
ครอบครองของผู้เสี ยหาย จึงไม่ ใช่ การใช้สิ ทธิ ตามรัฐธรรมนู ญ

15

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 5889/2554

จำเลยที่ 1 ร่ วมอยู่ ในกลุ่ มผู้ชุ มนุ มประท้วงตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไป และเป็ นผู้

จุ ดไฟเผาทรัพย์สิ นของผู้อื่ น อันเป็ นการเข้าร่ วมมั่ วสุ มกันตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไป

และกระทำการอย่ างหนึ่ งอย่ างใดให้เกิ ดการวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง โดยมี อาวุ ธ

การกระทำของจำเลยที่ 1 จึงเป็ นความผิ ดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา

215 วรรคสอง, 217 และ 358 ต่ อมาเจ้าพนักงานตำรวจได้ประกาศผ่ าน

เครื่ องกระจายเสี ยงว่ าไม่ ให้กลุ่ มผู้ชุ มนุ มประท้วงกระทำผิ ดกฎหมาย ซึ่ งเป็ นการ

สั่ งให้เลิ กมั่ วสุ มในการก่ อเหตุ วุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง ภายหลังจากที่ จำเลยที่ 1

ได้มั่ วสุ มและกระทำการก่ อความวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื องแล้ว จำเลยที่ 1 จึงไม่ มี

ความผิ ดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 216 ที่ มุ่ งประสงค์ลงโทษผู้ที่

ขัดขื นคำสั่ งของเจ้าพนักงานอันเป็ นการกระทำที่ ยังไม่ ถึงขั้นความผิ ดสำเร็จตาม

มาตรา 215 การวางเพลิ งเผาทรัพย์และทำให้เสี ยทรัพย์ เป็ นส่ วนหนึ่ งของ

การกระทำความผิ ดฐานร่ วมกันมั่ วสุ มตั้งแต่ สิ บคนขึ้นไปกระทำการอย่ างหนึ่ ง

อย่ างใดให้เกิ ดความวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง จึงเป็ นกรรมเดี ยวเป็ นความผิ ดต่ อ

กฎหมายหลายบท

การกระทำความผิ ดตามมาตรา 215, 216 ด้วยความจำเป็ น

คำพิ พากษาศาลฎี กาที่ 305/2547
จำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 กับพวกรวม 10 คน ชุ มนุ มปราศรัยด้วย

ความสงบ ไม่ มี พฤติ การณ์ว่ าจะใช้กำลังประทุ ษร้าย ขู่ เข็ญว่ าจะใช้กำลัง
ประทุ ษร้าย หรื อกระทำการอย่ างหนึ่ งอย่ างใดให้เกิ ดการวุ่ นวายขึ้นในบ้านเมื อง
ตามที่ บัญญัติ ไว้ในมาตรา 215 แสดงว่ าจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 กับพวกมิ ได้
มั่ วสุ มโดยมี เจตนาพิ เศษเพื่ อกระทำความผิ ดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 215 การกระทำของจำเลยจึงไม่ ครบองค์ประกอบความผิ ดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 216 แม้เจ้าพนักงานสั่ งให้เลิ กการมั่ วสุ มแล้วไม่ เลิ ก
จำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 ก็ไม่ มี ความผิ ดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
216

16

บรรณานุ กรม

ศ.วิกรณ์ รักษ์ ปวงชน.(2563).ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับใช้งานและ
ประกอบการศึ กษา(พิมพ์ครั้งที่ 1).นนทบุ รี.ไอดีซี,2563


Click to View FlipBook Version