The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

003หัวใจชายหนุ่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyapohn D., 2019-12-25 08:54:58

003หัวใจชายหนุ่ม

003หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม บทพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระ
นามแฝงว่า รามจิตติ ทรงพระราชนิพนธ์นวนิยายเรื่อง
หวั ใจชายหนมุ่ ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ขณะทรงพระชนมายุ
ได้ ๔๑ พรรษา และได้พระราชทานลงพิมพ์ใน
หนังสือพิมพ์ "ดุสิตสมิต" นวนิยายเรื่องน้ีนาเสนอโดยใช้
รูปแบบจดหมายรวมทั้งสิ้น ๑๘ ฉบับ ซึ่งล้วนแต่เป็น
จดหมายจากฝ่ายเดียวคือจดหมายของนายประพันธ์
ประยูรสิริ ชายหนุ่มซึ่งกลับจากไปศึกษา ณ ประเทศ
อังกฤษเขียนถึงนายประเสริฐ สุวัฒน์ เพื่อนที่ยังคงศึกษา
อยใู่ นประเทศดังกลา่ ว

ประวัติ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร เ ม น ท ร ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ
ผแู้ ต่ง มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี ๖ แห่ง
พระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.
๒๔๒๓ ครองราชย์สมบัติเม่ือวันเสาร์ที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓ และ
เสด็จสวรรคตเมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๘ รวม
พระชนมพรรษา ๔๕ พรรษา เสดจ็ ดารงราชสมบตั ิรวม ๑๕ ปี

พระองค์ยังทรงเป็นกวีและนักเขียนสาคัญยิ่งในประวัติวรรณคดีไทย
ทรงพระราชนิพนธบ์ ทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไว้จานวนมาก ทรงได้รับการถวาย
พระราชสมัญญาเมื่อเสด็จสวรรคตแล้วว่า “สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า”
ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕

ทีม่ าของเรอ่ื งหัวใจชายหน่มุ

หวั ใจชายหนุม่ เปน็ บทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว
เพ่อื พระราชทานลงพมิ พใ์ นหนังสือพมิ พ์ “ดสุ ติ สมิต” เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ ลักษณะการ
พระราชนพิ นธเ์ ปน็ รูปแบบของจดหมาย มจี านวน ๑๘ ฉบบั รวมระยะเวลาท่ีปรากฏ
ตามจดหมายทั้งหมด ๑ ปี ๗ เดือน ได้ทรงสร้างตัวละครเอกขึ้นโดยสมมติให้มีตัวตนจริง ๆ คือ ประพันธ์ ประยูรสิริ
เปน็ ผ้ถู ่ายทอดความนึกคิดและสภาพของสงั คมไทยผา่ นมมุ มองของชายหนุ่ม (นักเรียนนอก) ในรูปแบบของจดหมายท่ีส่งถึงเพื่อนช่ือ
ประเสริฐ สุวัฒน์ เป็นเร่ืองที่สะท้อนให้เห็นแนวคิดสาคัญในพระราชดาริของพระองค์ในการค่อย ๆ ปรับเปล่ียนรับเอาอารยธรรม
ตะวันตกเขา้ มาให้ผสมกลมกลนื กับวัฒนธรรมของไทยโดยทรงสื่อพระราชดารินั้นผ่านตัวละคร

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

หัวใจชายหนุม่ เปน็ นวนยิ ายรอ้ ยแก้วในรปู แบบของจดหมาย โดยมีข้อควรสงั เกตสาหรับรูปแบบจดหมายทง้ั ๑๘ ฉบับในเรื่อง ดงั น้ี

๑. หัวจดหมาย ต้ังแต่ฉบับท่ี ๑ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖- จนถึง ๒. คาขึ้นต้นจดหมาย ท้ัง ๑๘ ฉบับ ใช้คาขึ้นต้นเหมือนกันหมด คือ
ฉบับสุดท้าย วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖ ‟ จะเห็นว่ามีการเว้นเลขท้าย “ถึงพ่อประเสริฐ เพ่อื นรัก”
ปี พ.ศ. ไว้

๓. คาลงท้าย จะใช้คาว่า “จากเพ่ือน...” “แต่เพื่อน....” แล้วตามด้วย ๔. การลงชื่อ ต้ังแต่ฉบับท่ี ๑๔ เป็นต้นไป ใช้บรรดาศักดิ์
ความรู้สึกของนายประพันธ์ เช่น “แต่เพ่ือนผู้ใจคอออกจะยุ่งเหยิง” ที่ได้รับพระราชทาน คือ “บริบาลบรมศักด์ิ” โดยตลอด แต่ฉบับท่ี
(ฉบับที่ ๑๐) มเี พยี งฉบับที่ ๙ เทา่ น้นั ที่ไมม่ ีคาลงทา้ ย ๑ - ๑๓ ใช้ชอ่ื “ประพันธ์”

๕. ความส้ันยาวของจดหมาย มีเพียงฉบับท่ี ๑๔ เท่าน้ันท่ีมีขนาดส้ันที่สุด
เ พ ร า ะเ ป็ นเ พีย ง จด หม าย ที่ แจ้ งไ ป ยัง เ พ่ื อ นว่ าต น ไ ด้ รั บ พร ะ ร า ช ท า น
บรรดาศักด์ิ

เน้อื เรอ่ื งยอ่

แก่นเรอื่ ง

แก่นเร่อื งหรือแนวคิดสาคญั ของเร่ืองหวั ใจชายหนุ่มคอื การรู้จกั อนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยอนั
ดงี าม และในเวลาเดียวกนั ก็รู้จกั การเลอื กรับวฒั นธรรมตะวันตกบางประการมาปรับปรุง
เปลยี่ นแปลงใหส้ งั คมไทยเจรญิ ก้าวหน้าอย่างย่ังยืน

บทวเิ คราะห์

คุณค่าด้าน
สงั คม

พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นวรรณคดีที่เกิดข้ึนในช่วงเวลาที่สังคมไทยรับวัฒนธรรม
ตะวันตกเขา้ มาปรับใช้มากขึ้น บทกวีย่อมสะท้อนสภาพสังคมตามมุมมองของกวี ซึ่งสามารถเข้าถึงสังคมไทยในสมัยรัชกาลท่ี ๖ ท่ีแตกต่าง
กับสังคมยุคปัจจุบันอย่างมาก นวนิยายเร่ืองหัวใจชายหนุ่มนั้นมิได้มุ่งสะท้อนสภาพสังคมเฉพาะด้าน แต่ได้สะท้อนให้เห็นถึงความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมที่ไดม้ กี ารนามาประยกุ ต์ใช้ให้เข้ากับธรรมเนียมไทย นอกจากนี้ยังสะท้อนสภาพความเป็นจริง ของสังคมว่าไม่
วา่ ยุคสมยั ใดสงั คมยอ่ มมที ั้งด้านมืดและด้านสว่าง การดาเนินชวี ติ ของคนในสงั คมกแ็ ตกตา่ งกันไป สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิต ความคิด ความ
เช่อื ความรใู้ นสังคม ณ ช่วงเวลานัน้

คณุ ค่าดา้ น
สังคม

ยกตวั อย่างเรือ่ งการคลมุ ถงุ ชน
การคลมุ ถงุ ชน ลักษณะการแต่งงานทีผ่ ้ใู หญ่จดั การให้ โดยท่ีเจา้ ตวั ไม่ร้จู ักค้นุ เคยหรือรักกันมากอ่ น ในนวนยิ ายเร่อื นีส้ ะท้อน

ในเห็นวฒั นธรรมเก่าแก่ขอคนไทยในการหาสะใภเ้ ข้าบ้านตามทผี่ ใู้ หญ่นน้ั เห็นสมควร ดังขอ้ ความท่นี ายประพนั ธ์กลา่ ว่า

“...คุณพอ่ กบ็ อกว่าไดห้ าเมียไวใ้ ห้คนหนึง่ แลว้ ! ...ฉนั เป็นคนทไ่ี ดไ้ ปเรียนมาจากยุโรแล้ว, จะแต่งงานอยา่ งที่เรียกว่าคลมุ ถงุ ชนไม่ไดเ้ ลย.”

บทวเิ คราะห์

คณุ ค่าดา้ น
เนอ้ื หา

หวั ใจชายหนมุ่ เป็นวรรณกรรมทม่ี ีการสร้างตัวละครได้อย่างสมจรงิ แสดงให้เหน็ ถงึ พฤติกรรมของปุถชุ นท่ีมีทั้ง
สง่ิ ท่ถี กู ตอ้ งและผิดพลาด และมที ัง้ ความสมควรและไมส่ มควร โดยมลี กั ษณะทสี่ มจริงสมเหตสุ มผล โดยประพันธ์ถือเป็นคนที่
มีแนวคิดสมัยใหม่ ซ่ึงบางคร้ังตรงกันข้ามกับความเป็นไทยที่เหมาะสม แต่ยังสามารถกลับตัวกลับใจมาเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมไดจ้ งึ มคี วามสมบรู ณ์ท้งั ตวั ละคร และเนื้อหาของตัวละครด้วย

ตัวละคร บทวเิ คราะห์

ประพันธ์ คอื ตัวแทนของหนมุ่ ไทยที่ไปศึกษาต่างประเทศแล้วประทับใจ คลั่งไคล้ในวัฒนธรรมของประเทศน้ัน ความคิด
ของประพันธย์ ง่ิ ชดั เจนขนึ้ เมื่อประพนั ธ์เปรยี บวา่ เมือ่ เคยจากพ่อแม่ไป เห็นส่ิงสวย ๆ งาม ๆ ได้พบกับคนอ่ืน ๆ นอกบ้าน
ก็เป็นธรรมดาท่ีต้องรู้สึกว่าบ้านพ่อแม่คับแคบ อึดอัด คุยกับพ่อแม่ก็ไม่สนุกเท่ากับคุยกับหนุ่ม ๆ สาว ๆ และเมื่ออ่าน
จดหมายฉบับต่อ ๆ ไป ก็จะเห็นความรู้สึกขัดแย้งของประพันธ์ท่ีมีต่อสังคมไทยมากขึ้น เขาไม่พอใจประเพณี ไม่พอใจ
สภาพแวดล้อม ไม่พอใจเรื่องฐานันดรศักดิ์ ซ่ึงประพันธ์เห็นว่าท้ังหมดล้วนเป็นเครื่องแสดง ความล้าหลัง เมื่อมาพบอุไร
สาวไทยผทู้ นั สมัยมแี นวคิดและมีคา่ นยิ มแบบตะวันตกเต็มที่ ประพันธ์จึงดูจะมีความสุขข้ึน และท้ังสองได้มีความสัมพันธ์กัน
อยา่ งใกล้ชดิ จนอไุ รต้ังครรภ์

บทวิเคราะห์

ตวั ละคร

อไุ ร เป็นสาวทันสมยั ใจตะวนั ตก มรี ปู รา่ งหน้าตา กริ ิยาทา่ ทางที่งามยวนใจ อาจกล่าวได้วา่ อไุ รเปน็ สัญลักษณ์
ของวัฒนธรรมตะวันตก ด้วยความเป็นสาวสวยทนั สมยั มพี ฤติกรรมแบบสาวตะวนั ตก ไมห่ วงเนื้อหวงตวั เตน้ ราเป็น
ชอบเทีย่ วกลางคืน มผี ชู้ ายมารมุ ลอ้ มมากมายจนกลายเปน็ สาว “ปอปลู าร์” ทาให้ประพันธ์ถูกใจและชืน่ ชมมาก
ดังคากลา่ วของประพันธ์ท่วี า่

“...หล่อนเป็นผู้หญิงท่ีงามที่สุดที่ฉันเคยพบในกรุงสยาม, และไม่ใช่งามแต่รูป ท้ังกิริยาก็งามยวนใจ, พูดก็ดีและเสียงเพราะราวกับเพลง
ดนตรี, และท่ีดีที่สุดคือหล่อนไม่ได้ทาตัวเป็นหอยจุ๊บแจงอย่างผู้หญิงไทย ๆ โดยมาก. พูดกันสั้น ๆ หล่อนคล้ายผู้หญิงฝรั่งมากกว่าผู้
หญิงไทย และนับว่ามี “เอดูเคชั่น” ดีพอใช้ เขียนหนังสือไทยเก่ง. อ่านและพูดภาษาอังกฤษได้บ้าง เต้นราเป็น, และแต่งตัวดี รู้จักการใช้
เคร่อื งเพชรแตพ่ อควร ”

บทวเิ คราะห์

ตัวละคร

ศรสี มาน หญิงสาวซ่ึงประพันธ์ม่ันใจว่าจะเป็นคู่ชีวิตท่ีย่ังยืนได้ เพราะต่าง
ก็ต้องใจกัน และผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายก็เห็นชอบน้ัน เป็นสัญลักษณ์ของ
วัฒนธรรมแบบเก่าและแบบใหม่ทีป่ ระสานเขา้ ดว้ ยกันอย่างเหมาะสม

คณุ ค่าด้าน บทวเิ คราะห์

วรรณศลิ ป์

การใชภ้ าพพจน์

๑. อปุ มา

เปน็ การเปรียบเทยี บว่าสิง่ หนึ่งเหมือนกบั สง่ิ หนึ่งโดยใชค้ าเช่อื มทม่ี ีความหมายเชน่ เดียวกับ

คาวา่ ” เหมอื น ” เช่น ดุจ ดัง่ ราว ราวฯลฯ ดังข้อความวา่

“ทงั้ คุณพ่อคณุ แม่สรรเสรญิ เยนิ ยอมากวา่ เป็นคนดนี ัก, วเิ ศษต่างๆราวกับนางฟ้านางสวรรค์”

แสดงใหเ้ ห็นถงึ การเปรยี บเทยี บคหู่ มัน้ ของประพนั ธท์ ี่พอ่ แมต่ ่างบอกวา่ เป็นคนดี หน้าตาสวย จติ ใจงดงาม เพียบพรอ้ มในทกุ ๆ
ด้านอยา่ งกบั เปน็ นางฟ้านางสวรรค์ท่ลี งมายังโลกมนษุ ยซ์ งึ่ เหมาะสมกับประพนั ธท์ ีจ่ บจากการศึกษาทตี่ ่างประเทศ

คณุ ค่าดา้ น บทวิเคราะห์
วรรณศลิ ป์

“แตง่ เคร่ืองเพชรมากเหลือเกิน; มอี ะไรต่อมอิ ะไร
ห้อย, แขวน, และตดิ พะรงุ พะรังไปทงั้ ตัวจนดูราวกบั ตน้
คริสต์มาส.”

แสดงใหเ้ ห็นถึงการเปรยี บเทียบหน่งึ คหู่ มัน้ ของประพันธ์ที่
แตง่ ตวั ตามแฟชั่นในสมัยนัน้ แตม่ ีเรือ่ งประดับมากจนเกินควร
เหมือนกบั ต้นคริสต์มาสทมี่ ไี ฟ มขี องขวัญ และสง่ิ ตา่ งๆ ห้อยอยู่ตามตน้
พะรงุ พะรงั เตม็ ไปหมด

บทวเิ คราะห์

“คุณพอ่ ได้พาฉันไปดตู วั แมก่ ิมเน้ยแล้ว. หนา้ ตาเจา้ หล่อนเหมอื นนางซนุ ฮูหยิน,”

แสดงให้เห็นถงึ การเปรยี บเทยี บแมก่ ิมเนย้ วา่ รูปร่างหนา้ ตากริ ิยาทา่ ทางเหมือนคณุ นายจนี โดยการใช้นางซุนฮู
หยนิ ที่เปน็ คาเรียกภรรยาของขุนนางจนี คณุ นายท่ีมกี าเนดิ มาจากสกุลซนุ มาใชเ้ รยี กแม้กิมเนย้

บทวเิ คราะห์

๒. อปุ ลักษณ์

เป็นการเปรยี บเทียบดว้ ยการกล่าววา่ ส่ิงหนง่ึ เปน็ อกี ส่ิงหน่งึ เป็นการเปรยี บเทียบท่ีไมก่ ล่าวตรง ๆ ใช้การกลา่ วเปน็ นยั ให้เขา้ ใจเอง

“ฉนั หวงั ใจวา่ หนา้ ตาของหล่อนจะไม่เปน็ นางงวิ้ ตุ้งแชอ่ ะไรตวั ๑!”

แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปรยี บเทียบหนา้ ตาของหญงิ คู่หมน้ั วา่ เขานนั้ หวังวา่ หนา้ ตาของหญิงคู่หม้นั จะไมเ่ หมือนตวั ละครหญงิ ในการแสดง
ง้วิ ซ่ึงแต่งหน้าจดั แตง่ กายอยา่ งมีสสี ันและมีเครอื่ งประดบั มาก

บทวเิ คราะห์

๓. อตพิ จน์

เปน็ โวหารภาพพจน์อย่างหนง่ึ ที่มีลักษณะในการกลา่ วเกนิ จรงิ เพื่อสรา้ งอารมณแ์ ละความรูส้ กึ ทร่ี นุ แรงเกินจรงิ ตวั อยา่ งเชน่

“...ฉันได้ถูกพ่อพาไปหาใครต่อมิใครแทบไม่เว้นแต่ละวัน. และฉันต้องไหว้คนมาเสียมากต่อมากจนนับหนไม่
ถ้วน, จนฉันแทบจะลงรอยเป็นทา่ ประนมอยเู่ สมอแลว้ .”

แสดงใหเ้ หน็ ถึงการแสดงกิริยาท่าทางในการไหว้ ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ แลว้ การไหวผ้ คู้ นมากมายไม่ทาให้ร่างกายของคนอยทู่ ่านั้น
ไปตลอดได้

คณุ คา่ ดา้ น บทวเิ คราะห์
วรรณศลิ ป์

การใช้ภาษา

๑. การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอนตามรูปแบบของภาษาอังกฤษ

„ - (ยัติภงั ค์) ในนวนิยายเรอื่ งน้ีมีการใชใ้ นลักษณะการเวน้ ข้อความทไ่ี ม่ไดถ้ ูกพดู ถึง เชน่

วันท่ี ๒๒ ธันวาคม, พ.ศ. ๒๔๖-

„ “ ” (อัญประกาศ) เป็นเคร่ืองหมายทใ่ี ช้คร่อมตวั อักษร คา กลุ่มคา หรอื ขอ้ ความที่มีลักษณะพเิ ศษหรอื เป็นส่วน

ของคาพดู เชน่ “ศวิ ิไลซ์” “หวานใจ”

“แบะชะเล่อร”์ “ปอปูล่าร”์

“เอดเู คชน่ั ” “ซุนฮูหยิน”

คณุ ค่าด้าน บทวิเคราะห์

วรรณศิลป์

การใช้ภาษา

๑. การใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอนตามรปู แบบของภาษาอังกฤษ

„ ! (อัศเจรยี )์ ในนวนยิ ายเรอ่ื งนกี้ บั ปัจจุบนั ใช้เหมอื น ๆ กันคือวางไวห้ ลงั คาอุทาน

ซึ่งพบเพียงคาเดยี วในฉบับที่ ๓ ความว่า เอะ๊ ! พิกลละเพื่อน

แตจ่ ะเหน็ การใชอ้ ศั เจรยี ใ์ นการยา้ คาเพอ่ื แสดงความสาคญั หรอื แสดงอาการของตวั ละครท่สี ื่อผา่ นคา ๆ นั้น เชน่

“หวานใจ” ของหลอ่ น!

นไ่ี ปชบุ ตวั จากต่างประเทศ จมูกจึง่ กลายเปน็ ฝรงั่ ไป!

งัน้ ซ!ิ

คณุ คา่ ดา้ น บทวิเคราะห์
วรรณศิลป์

การใช้ภาษา
๒. คาทับศพั ท์ภาษาอังกฤษ

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวได้ทรงศึกษาตอ่ ทีต่ า่ งประเทศดงั นั้นจึงไดเ้ ห็นรูปแบบการประพนั ธ์ท่มี ีคาทบั ศทั พ์
ภาษาองั กฤษและสานวนตา่ งประเทศอยา่ งมากมาย ยกตวั อย่างคาว่า

“ท่านบดิ ามารดาของฉนั นะ ทา่ นทาโกพ้ อใชจ้ ริงอยู่ แต่พ้นื ของทา่ นไม่ใช่ “ศวิ ิไลซ์” จรงิ จังดอกนะเพ่ือน”
“การแต่งตวั ของหล่อนกใ็ ชเ้ สอ้ื ผ้าดๆี . ถูก แฟแช่น”

คณุ คา่ ดา้ น บทวเิ คราะห์
วรรณศลิ ป์

การใช้ภาษา
๓. ใชค้ าลงทา้ ยจดหมายเป็นคาบง่ บอกอารมณข์ องผเู้ ขียนจดหมายแตล่ ะฉบบั ตัวอย่างเชน่
„ จากเพอ่ื นผอู้ าภพั ฉบับที่ ๑๑
„ จากเพอื่ นผกู้ าลงั ตืน่ ตัว ฉบับที่ ๑๓
„ จากเพือ่ นผู้กาลงั ปล้มื ใจ ฉบบั ท่ี ๑๘
„ จากเพอ่ื นผโู้ ล่งใจ ฉบับที่ ๑๒
„ แต่เพื่อนผูใ้ จคอออกจะยุ่งเหยงิ ในฉบบั ที่ ๑๐

คุณคา่ ด้าน บทวเิ คราะห์
วรรณศิลป์

การใช้ภาษา

๔. การใชส้ านวนไทยและสานวนตา่ งประเทศ ดังตวั อยา่ งเช่น

„ น้าออ้ ยใกลห้ มด ปจั จบุ นั ใช้เป็นสานวน “น้าตาลใกลม้ ด”
ดงั ข้อความว่า “อากาศดที าใหร้ ู้สกึ ใจฮึกเหมิ และรวบรดั ตดั ความกเ็ ปน็ อนั ตรงตามภาษติ ว่า นา้ ออ้ ยใกล้มด!”
„ ขนมปงั คร่งึ ก้อนยงั ดกี ว่าไม่มเี ลย มาจากสานวน Half a loaf is better than none.
ดังขอ้ ความทีว่ า่
“ยังมบี ้านอย่เู ปน็ อิสระ, และเงนิ ทองกค็ งยงั มใี ช้ หล่อนคงเห็นชอบตามสภุ าษิตองั กฤษวา่ : ขนมปังครัง่ ก้อนยังดีกวา่ ไมม่ ีเลย”

คุณคา่ ดา้ น บทวเิ คราะห์

วรรณศลิ ป์

การใช้ภาษา

๕. มกี ารใช้ภาษาพดู ในยคุ สมยั นั้น เช่น กระมัง ฉิว เชน่ นี้ แปรสถาน เสยี หมด เถดิ เป็นต้น

ดังข้อความทวี่ ่า

“ดฉิ ันมนั เป็นคนบ้าเชน่ น้ีจะมาแตง่ งานกบั ดฉิ นั ทาไม!”

“หล่อนกลบั ฉิวใหญ”่

“ผชู้ ายเปน็ เทวดาไปเสียหมด”

“จนทาให้นกึ ว่าต้องเลยเป็น “แบชะเล่อร์” เสยี ละกระมัง.”

คุณคา่ ดา้ น บทวิเคราะห์
วรรณศลิ ป์

การใชภ้ าษา
๖. มีการใช้ตวั เลขแทนคาในภาษาไทย ตัวอยา่ งเชน่

“คา ๑ ก็ท่านชาย ๒ คาก็ท่านชาย.”
“ฉนั หวงั ใจว่าหน้าตาเจา้ หลอ่ นจะไม่เป็นนางงิ้วตุ้งแชอ่ ะไรตัว ๑!”
“ฉนั ไม่ไดเ้ ขยี นจดหมายมาถึงเพอื่ นต้งั เดือน ๑,”
“เพราะประการ ๑ ฉันไมใ่ ช่หมาในรางหญา้ แหง้ ในอีสปปะกรณัม,”

ขอ้ คิดทไี่ ดจ้ ากเรอ่ื ง หวั ใจชายหนมุ่

๑. การปรบั ทศั นคตทิ ่ผี ดิ อยใู่ หด้ ีขนึ้ จนสามารถอยู่ร่วมกบั ผ้อู ื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุขต่อไป
๒. อย่าหลงวัฒนธรรมตะวันตกจนลืมจิตสานึกแห่งความเป็นไทย ควรเก็บส่ิงที่ดีมาปฏิบัติ และเก็บสิ่งที่ไม่ดีไว้เป็น

อุทาหรณ์
๓. การแต่งงานของหนุ่มสาวที่มาจากการชอบพอกนั แคเ่ พียงเปลือกนอก ขาดการรู้จักและเข้าใจกัน อย่างแท้จริงย่อมไม่

ยั่งยืน
๔. การใช้เสรีภาพในทางที่ผิดโดยปล่อยเน้ือปล่อยตัวจนกระทั่งพลาดพล้ังชิงสุกก่อนห่ามจะต้อง ประสบชะตากรรมอัน

เลวร้าย
๕. คนเราควรดาเนินชีวิตในทางยุติธรรม ดังเช่นประพันธ์ เขาไม่ชอบการใช้เส้นสาย แต่ไม่สามารถหางานได้ด้วย

ตนเอง จึงตอ้ งยอมรับงานท่ีผู้ใหญฝ่ ากฝงั ให้

เกรด็ ความรทู้ ไี่ ด้จากเรอ่ื ง หัวใจชายหนมุ่

๑. บรรดาศักดิ์ขุนนางไทย แบ่งออกได้เป็น ๙ ระดับ ได้แก่ นายหรือหมู่ พัน หม่ืน ขุน หลวง พระหรือจมื่น พระยา เจ้าพระยา สมเด็จ
เจ้าพระยา จากเรื่องหัวใจชายหนุ่มจะปรากฏศักด์ิขั้นพระยาจากช่ือของตัวละครที่ชื่อว่า พระยาตะเวนนคร พระพินิฐพัฒนากร
หลวงพิเศษผลพานิช หลวงบริบาลบรมศกั ดิ์

๒. วฒั นธรรมการแต่งกาย ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ผูห้ ญงิ เริม่ ไวผ้ มยาว คอ่ ย ๆ เลกิ น่งุ โจงกระเบน เรม่ิ หันมานุ่ง
ผา้ ซนิ่ ซึง่ การนงุ่ ผ้าซิน่ นบั ว่าเป็นแฟช่ันหรอื วัฒนธรรมการแต่งกายของสังคมไทย
แบบใหมท่ ีห่ ันมานิยมตามแบบตะวันตก สาหรับหญงิ ไทยแล้วถอื ว่าเปน็ เร่อื งใหญม่ าก
และจะเร่ิมจากสงั คมชัน้ สูงกอ่ น


Click to View FlipBook Version