The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

001นมัสการวิเคราะห์คุณค่า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyapohn D., 2019-12-25 08:52:27

001นมัสการวิเคราะห์คุณค่า

001นมัสการวิเคราะห์คุณค่า

วรรณคดใี นบทเรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔

คณุ แมห่ นาหนกั เพยี ง พสธุ า

คณุ บดิ รดจุ อา- กาศกวา้ ง

คณุ พ่ีพา่ งศขิ รา เมรุมาศ

คณุ พระอาจารยอ์ า้ ง อาจสู้สาคร

(สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร)

พระยาศรีสนุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู )

เกดิ เมอื่ วนั ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.
2365
เสยี ชีวติ เมอื่ วนั ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.
2434

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

เป็นชาวฉะเชิงเทรา
ท่านได้รับสมญาวา่ เปน็ ศาลฎกี าภาษาไทย
เป็นผู้แตง่ ตาราเรียนชดุ แรกของไทย
เรียกวา่ "แบบเรยี นหลวง" ใช้สอนใน
โรงเรียนพระตาหนักสวนกหุ ลาบ

พระยาศรสี ุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกรู )

ตาราเรียนชุดแรกของไทย
"แบบเรียนหลวง"

พระยาศรีสนุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู )
 สมรสกบั คุณหญงิ ศรีสุนทรโวหาร (แยม้ ) มี
บุตรธดิ า ๖ คน คอื บตุ รชายคนโตช่ือห่วง บุตร
หญิงชอ่ื ส่นุ บุตรชายชอ่ื ชุม่ บุตรหญงิ ช่อื เยอ้ื น
บตุ รชายหลวงศภุ นยั และบตุ รหญงิ ชื่อเลก็

จดุ มงุ่ หมายในการแตง่

เพื่อสรรเสรญิ พระคณุ ของบดิ ามารดา
พระคุณของครู อาจารย์ท่ีไดอ้ บรมสงั่ สอน
และใหค้ วามรแู้ ก่ศิษย์

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

อนิ ทรวิเชียรฉันท์ ๑๑

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑

ฉันท์ทม่ี ลี ีลาอนั รุ่งเรอื งงดงามประดจุ
สายฟา้ ซ่ึงเปน็ อาวธุ ของพระอนิ ทร์

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ อินทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ๑๑

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ อินทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ๑๑

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ อินทรวิเชยี รฉนั ท์ ๑๑

ครุ และ ลหุ

หมายถงึ ลักษณะของเสยี งพยางค์ มีประโยชน์อยา่ งย่งิ ในการ
แต่งคาประพันธป์ ระเภทฉนั ท์ เน่ืองจากคาประพันธ์ประเภทฉันท์น้นั
บงั คบั ครุ ลหุ

ลกั ษณะของ ครุ

ครุ (อ่านว่า คะ-รุ)คหรมุ ายถึง เสียงหนัก

ครุเป็นคาหรือพยางค์ท่ปี ระสมดว้ ยสระเสียง
ยาวไม่มีตวั สะกด
ครุเป็นคาหรอื พยางคท์ ีม่ ีเสยี งตวั สะกด
ทุกมาตรา

back next

ลักษณะของ ลหุ

ลหุ (อ่านว่า ละ-หล)ุ หหมุ ายถึง เสียงเบา

ลหุเป็นคาหรือพยางคท์ ี่ประสมด้วยสระเสยี ง
ส้ันและไม่มตี ัวสะกด
ลหุณ ธ บ่ ก็ พิ ลุ เจาะ เหาะ ทะ
เละ และ เลอะ

back next

พระองค์เสด็จ
พระราชดาเนนิ
ไปทรงเปิดงาน
สภากาชาดไทย

คาศัพทส์ าคัญในช่ือเรอ่ื ง

นมัสการ การแสดงความอ่อนนอ้ ม
มาตา แม่ ( มาตุ / มารดา / มารดร / ชนนี )
ปติ ุ พอ่ ( บดิ า / บิดร / บิตรุ งค์ / บติ เุ รศ )
อาจาริย อาจารย,์ ผสู้ ่งั สอนวชิ าความรู้
คุณ บุญคุณ, ความดีทม่ี ีประจาอยใู่ นสิ่งน้นั ๆ

บททแ่ี สดงการนอบนอ้ มตอ่ บญุ คณุ ของพอ่
แม่ ครู อาจารย์

ข้าขอนบชนกคณุ ชนนเี ปน็ เคา้ มูล

ผู้กอบนุกลู พูน ผดงุ จวบเจริญวัย

ฟมู ฟกั ทะนถุ นอม บ บาราศนิราไกล

แสนยากเท่าไรๆ บ คดิ ยากลาบากกาย

ตรากทนระคนทกุ ข์ ถนอมเล้ียง ฤ รู้วาย

ปกป้องซงึ่ อนั ตราย จนไดร้ อดเป็นกายา

เปรียบหนกั ชนกคณุ ชนนีคอื ภูผา

ใหญพ่ น้ื พสุนธรา ก็ บ เทยี บ บ เทียมกนั

เหลือท่ีจะแทนทด จะสนองคุณานันต์

แทบ้ ชู ไนยอัน อดุ มเลศิ ประเสรฐิ คุณ

บทนมัสการมาตาปิตุคณุ และนมสั การอาจรยิ คณุ เป็นบทสรรเสรญิ
พระคณุ ของบิดามารดาและครูอาจารย์ รวมอยู่ใน คานมสั การคุณานคุ ุณ
ประกอบดว้ ย

บทนมสั การ พระธรรมคณุ พระสังฆคุณ
พระพทุ ธคณุ

บทนมสั การมาตาปติ ุคณุ และนมสั การอาจรยิ คุณ เป็นบทสรรเสรญิ
พระคณุ ของบดิ ามาดาและครูอาจารย์ รวมอยู่ใน คานมสั การคุณานคุ ุณ
ประกอบดว้ ย

นมสั การ นมสั การ สดุดี บทสรรเสริญ
มาตาปิตคุ ณุ อาจริยคณุ พระมหากษตั ริย์ เทพยดา

ข้าขอนบชนกคุณ ฝกึ ถอดบทประพนั ธ์
บทนมสั การมาตาปิตุคณุ
ผกู้ อบนกุ ลู พนู
ฟมู ฟักทะนุถนอม ชนนีเปน็ เค้ามลู
ผดุงจวบเจริญวัย
แสนยากเทา่ ไรๆ บ บาราศนิราไกล
บ คดิ ยากลาบากกาย

ตรากทนระคนทกุ ข์ ฝึกถอดบทประพันธ์
บทนมสั การมาตาปิตุคณุ
ปกปอ้ งซงึ่ อนั ตราย
เปรียบหนกั ชนกคณุ ถนอมเลี้ยง ฤ ร้วู าย
จนได้รอดเปน็ กายา
ใหญพ่ ้นื พสุนธรา ชนนคี ือภูผา
เหลอื ที่จะแทนทด ก็ บ เทียบ บ เทยี มทนั
จะสนองคุณานนั ต์
แท้บูชไนยอนั อดุ มเลิศประเสรฐิ คุณ

ฝึกถอดบทประพันธ์
บทนมัสการมาตาปิตุคณุ

อนง่ึ ข้าคานับนอ้ ม ตอ่ พระครผู ู้การุญ

โอบเอื้อและเจอื จนุ อนุสาสน์ทุกสง่ิ สรรพ์

ยงั บ ทราบก็ไดท้ ราบ ทงั้ บุญบาปทกุ สงิ่ อัน

ชี้แจงและแบ่งปนั ขยายอัตถ์ให้ชดั เจน

ฝึกถอดบทประพนั ธ์
บทนมสั การมาตาปติ ุคณุ

จิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน
เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ใหฉ้ ลาดและแหลมคม
หะจติ มดื ท่ีงุนงม
ขจดั เขลาบรรเทาโม- ก็สวา่ งกระจ่างใจ
กงั ขา ณ อารมณ์ ถอื วา่ เลิศ ณ แดนไตร
จติ น้อมนยิ มชม
คณุ สว่ นนี้ควรนบั
ควรนึกและตรกึ ใน

วเิ คราะหเ์ นือ้ เรอื่ งบทมาตาปิตคุ ุณ

ตรากทนระคนทุกข์  กล่าวสรรเสริญพระคุณ
ปกปอ้ งซงึ่ อนั ตราย
ถนอมเลีย้ ง ฤ ร้วู าย ของบดิ ามารดาท่ีไดเ้ ลีย้ งดู
เปรยี บหนกั ชนกคุณ
ใหญ่พ้ืนพสุนธรา จนได้รอดเป็นกายา บุตรจนเติบใหญ่ โดยไม่
เห็นแก่ความยากลาบาก
ชนนีคอื ภูผา  พระคุณของบิดามารดา

ก็ บ เทยี บ บ เทียมทัน เปรยี บได้กบั ภูเขาและ

แผน่ ดิน สดุ ทีจ่ ะทดแทนได้

วเิ คราะหเ์ น้อื เรอื่ งบทอาจาริยคุณ

ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ท้งั บญุ บาปทุกสิ่งอนั  กล่าวสรรเสริญพระคณุ
ของครูอาจารย์ ผู้เปีย่ ม
ช้แี จงและแบ่งปัน ขยายอตั ถใ์ ห้ชัดเจน ดว้ ยจิตเมตตาและกรณุ า
จิตมากดว้ ยเมตตา และกรณุ า บ เอยี งเอน ทาหนา้ ทสี่ งั่ สอนให้ความรู้

เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ใหฉ้ ลาดและแหลมคม ในสรรพวิชา
 อบรมจริยธรรม ชใ้ี ห้เห็น
ขจัดเขลาบรรเทาโม- หะจิตมืดทง่ี นุ งม บาปบุญคุณโทษ เพ่ือขจัด

กงั ขา ณ อารมณ์ กส็ วา่ งกระจา่ งใจ ความเขลาของศิษย์

๑. คณุ คา่ ด้านเนอื้ หา

คณุ ค่าดา้ นเน้ือหา

คอื แนวความคิด และ กลวิธี
นาเสนอเรื่อง

๑. คณุ ค่าด้านเนื้อหา

บทนมัสการมาตาปติ คุ ณุ และ บทนมัสการอาจารยิ คุณ
 เป็นตวั อยา่ งของการใช้บทประพนั ธเ์ ปน็ สื่อสอน

จริยธรรม
 ปลกู ฝังให้ผู้อ่านสานกึ ในพระคณุ ของบิดามารดาและครู

อาจารย์ = เนน้ เรอ่ื งความกตัญญูกตเวที

๒. วิเคราะห์ดา้ นวรรณศลิ ป์

คุณค่าดา้ นวรรณศลิ ป์
คอื ความงามทางภาษาทาใหบ้ ทประพันธ์
เกิดความความไพเราะ

ทาให้ผู้อ่านเกดิ อารมณ์ ความรสู้ กึ และ
จนิ ตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่
ผแู้ ต่งเลอื กใช้ เพอ่ื ให้มีความหมายกระทบใจผ้อู ่าน

๒. วิเคราะหด์ า้ นวรรณศิลป์

อปุ ลกั ษณ์ คอื การ เปรียบหนกั ชนกคณุ ชนนีคือภผู า

เปรยี บเทยี บดว้ ยการกลา่ ว ใหญพ่ ้นื พสนุ ธรา ก็ บ เทียบ บ เทยี มทนั
วา่ สง่ิ หน่ึงเป็นอีกส่งิ หนงึ่
เปน็ การเปรยี บเทยี บท่ไี ม่
กล่าวตรงๆ ใชก้ ารกลา่ ว
เป็นนยั ดังบทประพันธ์
ต่อไปน้ี

๒. วิเคราะหด์ า้ นวรรณศิลป์

ปฏิพจน์ ยงั บ ทราบกไ็ ด้ทราบ ทง้ั บุญบาปทุกสิ่งอนั
ชแ้ี จงและแบง่ ปนั ขยายอัตถใ์ ห้ชดั เจน
หมายถงึ ภาพพจน์หรือ
การเนน้ ความหมายท่เี กดิ คาตรงกันขา้ ม
จากรวมคาหรือวลสี องคา
หรือสองวลที ี่มีความหมาย
ขัดแยง้ กนั ดังบทประพนั ธ์
ดังต่อไปนี้

๒. วิเคราะหด์ า้ นวรรณศลิ ป์

คาซ้อน

หมายถงึ คาท่ีเกิดจากการสรา้ งคาโดยนาคาทีม่ คี วามหมายเหมอื นกัน

คลา้ ยกนั ตรงข้ามกนั หรือมีความเกีย่ วขอ้ ง สัมพนั ธก์ นั ในทางใดทางหน่งึ มาเขียน
ซ้อนกัน ซึง่ อาจทาให้เกดิ ความหมายเฉพาะหรอื ความหมายใหม่ข้นึ มา

เปรียบหนกั ชนกคณุ ชนนีคอื ภูผา เทียบ-เทียม
ใหญพ่ ื้นพสุนธรา ก็ บ เทยี บ บ เทียมทัน หมายถึง เอามา
ให้ใกล้ ชดิ
หรอื ตดิ กนั

๒. วิเคราะหด์ ้านวรรณศลิ ป์

 การเลน่ เสียง

สัมผัสพยัญชนะ หมายถึง คาคลอ้ งจองทีม่ ีพยัญชนะตัวหลักเปน็ ตัว
เดยี วกนั แต่ประสมสระตา่ งกนั ดงั บทประพันธ์

ขา้ ขอนบชนกคุณ ชนนเี ป็นเคา้ มูล
ผกู้ อบนกุ ลู พนู ผดงุ จวบเจรญิ วยั

๒. วเิ คราะหด์ ้านวรรณศลิ ป์

 การเลน่ เสยี ง

สัมผสั สระ หมายถึง คาคล้องจองท่อี าศัยรปู สระบงั คับเสยี งตวั เดยี วกนั
หรืออา่ นออกเสยี งตรงกันดังบทประพันธ์ ดังตอ่ ไปน้ี

- ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเล้ยี ง ฤ ร้วู าย
- ช้ีแจงและแบ่งปนั ขยายอัตถ์ให้ชดั เจน

จาเปน็ หรือไมท่ คี่ า
ประพนั ธท์ กุ บททุกวรรค
ตอ้ งมีสัมผสั สระและ
สัมผสั พยัญชนะ

ไม่จำเป็น

๒. วเิ คราะห์ดา้ นวรรณศลิ ป์

 การเลน่ คาซา้
หมายถึง คาทที่ าใหเ้ กิดความไพเราะและเน้นยา้ ความหมาย

ยงั บ ทราบกไ็ ดท้ ราบ ทง้ั บุญบาปทกุ สิ่งอนั
ชีแ้ จงและแบ่งปัน ขยายอตั ถ์ให้ชัดเจน

๒. วเิ คราะหด์ ้านวรรณศลิ ป์

 การเลน่ เสยี งหนกั - เบา
การเล่นเสยี งหนกั เบา คือ การลงเสยี งหนกั - เบา

ของคาในระดบั คา ซึ่งมมี ากกว่าสองพยางค์

มคี วามไพเราะ ฟูมฟกั ทะนุถนอม บ บาราศนริ าไกล
บ คดิ ยากลาบากกาย
และเกิดนา้ เสยี ง แสนยากเทา่ ไรๆ
ท่ีแตกตา่ งกัน

๓. คณุ คา่ ดา้ นสงั คม

วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะทอ้ นให้
เห็นสภาพของสังคม และวรรณกรรมทด่ี ี
สามารถจรรโลงสงั คมได้

๓. คณุ ค่าดา้ นสงั คม

ความกตญั ญูรู้คุณตอ่ บิดามารดาและครูอาจารย์

เกิดการปลกู ฝงั ใหส้ านกึ ในพระคณุ ของบิดามารดา
และครูอาจารย์ บดิ ามารดาเปน็ ผใู้ ห้กาเนดิ คอยเฝ้าเลีย้ งดู
จึงเป็นบคุ คลท่ีบตุ รควรเคารพกราบไหว้ ควรกตัญญตู ่อทา่ น
ครอู าจารย์เองก็เป็นบุคคลทค่ี วรเคารพบูชาเชน่ กัน เพราะ
เป็นผอู้ บรมส่งั สอน คอยใหค้ วามรู้ ให้ศิษยเ์ ปน็ คนดี จึงควร
สานึกในพระคณุ ของครอู าจารย์


Click to View FlipBook Version