The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyapohn D., 2019-09-21 08:24:57

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ทกุ ข์ของชาวนาในบทกวี

สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวมบทพระราช
นิพนธ์ในกรมสมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง เป็นหนังสือรวมพระราชนิพนธ์ที่เหล่า
อกั ษรศาสตร์บณั ฑิต จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไดร้ วบรวมจัดทาขึ้นเพื่อ
ประสงค์จะถวาย แด่สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๓ รอบ หนังสือเล่มนี้
ประกอบด้วยพระราชนิพนธ์รูปแบบต่าง ๆ ท้ังร้อยแก้ว ร้อยกรอง
แบ่งเป็นหมวดดงั นี้

1. กลนั่ แสงกลอนกานท์ ๒. เสียงพิณเสียงเลือ่ น เสียงเลื้อนเสียงขับ

๓. เรียงร้อยถอ้ ยดนตรี ๔. ชวนคิดพิจิตรภาษา

๕. นานาโวหาร ๖. คาขานไพรชั

๗. สมบตั ิภมู ิปัญญา ๘. ธาราความคิด

๙. นิทิศบรรณา ๑๐.สาลาจากใจ

๑๑.มาลัยปกิณกะ

พระราชนิพนธ์เรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี แสดงแนว
พระราชดาริเกีย่ วกบั บทกวีไทยของจิตร ภูมิศักดิแ์ ละบทกวีของ
หลี่เชิน ซึ่งกล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา เนือ้ ความใน
พระราชนิพนธ์แสดงถึงความเข้าพระทัยปัญหาต่าง ๆ ของชาวนา
และยังสะท้อนให้เห็นพระเมตตาธรรมอันเปี่ยมล้นของพระองค์ที่มี
ต่อชาวนาอีกด้วย ทาให้เราเห็นภาพชีวิตของชาวนาจีนและชาวนา
ไทยวา่ ไมไ่ ด้แตกตา่ งกันเทา่ ไหร่

 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เปน็ พระราชธิดาลาดบั สองในพระบาทสมเดจ็ พระปรมิทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรชั กาลที่ ๙
 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา
กิติวัฒนาดลุ โสภาคย์ ต่อมาทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศและพระ

อิสริยศักดิ์ขึ้น “สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ

รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี”
 พระราชสมภพเมือ่ วันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘

งานพระราชนิพนธ์ เรื่องต่าง ๆ ท้ังสารคดี และบันเทิงคดี เช่น เรื่องย่าแดนมังกร
ชมชอ่ มาลตี ไทยเทีย่ วพมา่ ลัดฟา้ ล่าวิชาหาอาจารย์ เป็นตน้

บทพระราชนิพนธ์แปล ที่มุ่งให้ความรูค้ วามบันเทิงและพระราชวิจารณ์
เช่น เรื่อง กษัตริยานุสรณ์ ข้าวไทย คาฉันท์ดุษฎีสังเวยและกาพย์ขับไม้ แก้วจอม
แกน่ ทกุ ของชาวนาในบทผีเสื้อ เมฆเหินน้าไหล

พระนามแฝงมีหลายพระนาม เช่น ก้อนหิน - ก้อนกรวด แว่นแก้ว หนูน้อย
บันดาล เป็นต้น

เพลงพระราชนิพนธ์ ได้แก่ สม้ ตา รกั และเมนไู ข่

รางวลั ที่ทรงไดร้ ับ รางวลั พระเกีย้ วทองคา รางวลั แมกไซไซ
สาขาบริการชุมชน รางวลั “ความสาเรจ็ แห่งอาเซียน” รางวลั
ดา้ นโภชนาการ รางวัล “Arcangelo Cultural Prize” รางวัล
มิตรภาพภาษาและวฒั นธรรมจีนรางวัลนกั วิจัยดีเดน่ แห่งชาติ
ประจาปี ๒๕๕๕

ประวตั ิ
จิตร ภูมิศกั ดิ์

จิตร ภูมิศักดิ์ เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และ
นักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์และนักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคน
สาคัญของประเทศไทย เคยเป็นสาราณียกรให้กับหนังสือประจาปี ของ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ และได้สร้างสรรค์ผลงานการ
วิจารณ์ที่มีคุณค่าต่อวงวิชาการไทยหลายเรื่อง เช่น การวิจารณ์วรรณศิลป์
วิจารณห์ นงั สือ วิจารณ์ภาพยนตร์ โดยใช้นามปากกา “บุ๊คแมน” และ
“มูฟวีแ่ มน”

เพือ่ แสดงพระราชดาริเกีย่ วกับบทกวีของไทยและ
บทกวีจีน ซึ่งกล่าวถึงชีวิตและความทกุ ข์ของชาวนา

ร้อยแก้ว ประเภทบทความ

มีส่วนประกอบของการเขียนบทความอย่างครบถ้วน
คือ ส่วนนา เนื้อเรื่อง ส่วนสรุป

เนื้อเรือ่ งย่อ

เนื้อความในตอนแรกได้ทรงยกบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งได้กล่าวถึงชีวิตและ
ความทุกขย์ ากของชาวนา

ต่อมาทรงแปลบทกวีจีนของหลี่เชินเป็นภาษาไทยทาให้มองเห็นภาพของชาวนา
จีนกับชาวนาไทยว่าไม่ได้มีความแตกต่างกัน แม้ว่าฤดูกาลเพาะปลูก ภูมิอากาศจะ
เอื้ออานวยให้พืชพันธ์ุธัญญาหารบริบูรณ์ดี แต่ผลผลิตไม่ได้ตกเป็นของผู้ผลิต คือ
ชาวนาเท่าที่ควร ส่วนที่สาคัญที่สุดคือ ทรงชี้ให้เห็นว่าแม้กวีทั้งสองจะมีกลวิธีการ
นาเสนอบทกวีที่แตกต่างกนั แตก่ ลบั มีแนวความคิดทีค่ ล้ายกัน คือ มุ่งกล่าวถึงความทุกข์
ยากของชาวนา และทาให้เห็นว่าชาวนาในทุกแห่งและทุกยุคทุกสมัยล้วนประสบแต่
ความทุกขย์ ากไมแ่ ตกต่างกนั เลย

วิเคราะห์เนื้อหา

บทกวีของ "เปิบขา้ วทุกคราวคา จงสจู าเปน็ อาจิณ
จิตร ภูมิศกั ดิ์ เหงือ่ กทู ีส่ กู ิน จงึ ก่อเกดิ มาเปน็ คน
ขา้ วนีน้ ่ะมีรส ให้ชนชิมทกุ ชั้นชน
เบ้อื งหลงั สิทกุ ข์ทน และขมขื่นจนเขียวคาว
จากแรงมาเปน็ รวง ระยะทางนั้นเหยยี ดยาว
จากกรวงเปน็ เม็ดพราว ส่วนทกุ ข์ยากลาเคญ็ เขญ็
เหงือ่ หยดสกั กี่หยาด ทกุ หยดหยาดลว้ นยากเย็น
ปูดโปนกี่เสน้ เอ็น จงึ แปรรวงมาเปบิ กิน
น้าเหงือ่ ทีเ่ ร่อื แดง และนา้ แรงอนั หล่งั ริน
สายเลือดกูทง้ั สิน้ ทีส่ ชู ดกาชาบฟนั "

บทกวีจีนของ วิเคราะหเ์ นื้อหา
หลเี่ ชิน
หวา่ นขา้ วในฤดูใบไมผ้ ลิ ขา้ วเมล็ดหนึง่
จะกลายเปน็ หมื่นเมล็ดในฤดูใบไม้ร่วง
รอบข้างไม่มีนาทีไ่ หนทิ้งว่าง
แต่ชาวนาก็ยังอดตาย
ตอนอาทิตย์เที่ยงวัน ชาวนายังพรวนดิน
เหงือ่ หยดบนดินภายใต้ต้นข้าว
ใครจะร้บู า้ งว่าในจานใบนั้น
ข้าวแต่ละเม็ดคือความยากแค้นแสนสาหสั

วิเคราะหค์ ุณคา่ วรรณคดี

ทกุ ข์ของชาวนาในบทกวี เป็นการนาเสนอความทุกขย์ าก
ตรากตราของชาวนาผ่านมุมมองและความคิดเห็นของสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จากบทวีของ
จิตร ภูมิศักดิ์ และหลี่เชินกวีชาวจีน นับเป็นตัวอย่างที่ดีของ
บทความ

การใชภ้ าษา

ใช้ภาษางา่ ย ๆ ใชถ้ อ้ ยคากะทดั รดั แตส่ ละสลวย
ในการบันทึกเหตุการณ์ ทาให้คนทั่วไปสามารถอ่าน
เข้าใจ และเข้าถึงผอู้ ่านทกุ ชนชนั้ ได้งา่ ย

การหลากคา

การใช้คาทีส่ ือ่ ความหมายเดียวกนั แต่มีรปู คาต่างกัน สะท้อนใหเ้ ห็นความรอบรู้
เรื่องคาต่าง ๆ ของกวีไดเ้ ป็นอยา่ งดี ใช้คาที่สือ่ ความหมายถึงเรื่องความทกุ ขย์ าก
ตรากตราของชาวนา ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

“ข้าวนี้นะมีรส ให้ชนชิมทุกช้ันชน

เบื้องหลังสิทกุ ข์ทน และขมขืน่ จนเขียวคาว

จากแรงมาเป็นรวง ระยะทางนัน้ เหยียดยาว

จากรวงเปน็ เม็ดพราว ลว้ นทกุ ข์ยากลาบากเข็ญ

เหงื่อหยดสกั กีห่ ยาด ทุกหยดหยาดลว้ นยากเย็น”

การใช้ภาพพจน์

อปุ มาโวหาร กลวิธีการอธิบายนั้นใหค้ วามร้เู ชิงวรรณคดีเปรียบเทียบแก่
ผู้อ่าน โดยทรงใช้การเปรียบเทียบการนาเสนอของบทกวีไทยและบทกวีจีน ว่า

“เทคนิคในการเขียนของหลีเ่ ชินกับของจิตรต่างกัน คือ หลี่เชิน
บรรยายภาพที่เห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพให้คนชม ส่วนจิตรใช้วิธี
เสมือนกบั นาชาวนามาบรรยายเรื่องของตนให้ผ้อู ่านฟังด้วยตนเอง”

การใช้ภาพพจน์
อปุ ลักษณโ์ วหาร โดยการกลา่ วถึงเหงื่อว่าเปน็ อาหารหลกั ที่

มนษุ ย์รับประทานจนเติบโตมาเปน็ คนได้ ดังที่กล่าววา่

“เหงื่อกทู ี่สูกิน จึงก่อเกิดมาเปน็ คน”

การใช้ภาพพจน์

อติพจน์ มีการกลา่ วเกินความจริงวา่ เหงือ่ ทีช่ าวนาเสียไปกับการทา
นานน้ั มีสีแดงระเรือ่ หลัง่ รินมาเปน็ สายเลอื ดของชาวนาทง้ั น้นั ดงั ความว่า

“น้าเหงื่อทีเ่ รือ่ แดง และนา้ แรงอันหล่ังริน

สายเลือดกทู ั้งสิ้น ทีส่ ซู ดกาซาบฟัน”

การเล่นเสียง

การเล่นเสียงสมั ผสั พยัญชนะภายในวรรคเดียวกัน ดงั ความวา่

“ข้าวนี้น่ะมีรส ให้ชมชิมทุกชนั้ ชน
เบื้องหลงั สิทุกข์ทน และขมขืน่ จนเขียวคาว”

ความแตกต่างในช่วงฤดกู ารทานาของคนไทยและจีน

ไทย เริม่ ที่ชว่ งต้นฤดฝู น พฤษภาคม – กรกฎาคม
เกบ็ เกีย่ วในฤดูหนาว พฤศจิกายน - ธันวาคม

จีน เริ่มที่ชว่ งฤดูใบไมผ้ ลิ มีนาคม – พฤษภาคม

เกบ็ เกี่ยวในฤดใู บไม้รว่ ง สิงหาคม – กันยายน
ดงั ปรากฏในบทความแปลทีว่ ่า
“หว่านข้าวในฤดูใบไมผ้ ลิ ขา้ วเมลด็ หนึง่ จะกลายเปน็ หมื่นเมล็ดในฤดใู บไมร้ ว่ ง”

ทาให้เขา้ ใจความรู้สึกของชาวนาทีต่ ้องประสบปัญหาต่างๆ

มาลองทาโจทยก์ ันเถอะ!!ขอ้ คิด
ทาใหไ้ ด้รู้ถึงความทุกขย์ ากความลาบากของชาวนาในการปลกู ข้าว

ชาวนาเป็นกระดกู สันหลังของประเทศชาติ
แตก่ ลับมีชีวิตทีเ่ หนื่อยยากตรากตรา

ทาให้ได้เห็นถึงคุณคา่ ของขา้ วที่ไดร้ ับประทานเป็นอาหารหลกั
ในการดารงชีวิตอยขู่ องมนษุ ย์

ข้าวแตล่ ะเมด็ นัน้ มีคา่ ไม่ควรรับประทานอยา่ งทิง้ ขว้าง

ขอ้ ใดมีความหมายสอดคลอ้ งและครอบคลมุ ความหมายในคาประพนั ธ์วรรคนมี้ ากที่สดุ

“เหงื่อหยดบนแผน่ ดนิ ภายใตต้ ้นขา้ ว”

ก.นา้ เหงื่อทเี่ รอื่ แดง และน้าแรงอันหลง่ั ริน

ข. เหงอ่ื หยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดลว้ นยากเย็น

ค.ขา้ วนนี้ ่ะมีรส ให้ชนชมิ ทกุ ชน้ั ชน

ง. จากแรงมาเป็นรวง ระยะทางนัน้ เหยยี ดยาว

จากแรงมาเปน็ รวง ระยะทางนน้ั เหยยี ดยาว

จากรวงเปน็ เมด็ พราว ลว้ นทกุ ขย์ ากลาเคญ็ เขญ็

เหง่อื หยดสกั กี่หยาด ทกุ หยดหยาดลว้ นยากเยน็

ปูดปนู กเ่ี สน้ เอ็น จึงแปรรวงมาเปบิ กนิ

น้าเหง่อื ทีเ่ ร่ือแดง และน้าแรงอนั หล่ังริน

สายเลอื ดกูทั้งสนิ้ ท่ีสซู ดกาซาบฟนั

ขอ้ ใด ไม่ อาจอนมุ านไดจ้ ากการอ่านบทประพนั ธข์ า้ งตน้

ก.บุญคณุ ของชาวนาผผู้ ลติ ข้าว
ข. ความทกุ ข์ของชาวนาในการผลติ ข้าว
ค.ผลผลิตของชาวนาได้ปริมาณน้อย
ง. การตระหนักถึงความสาคญั ของข้าวแตล่ ะเมด็

จากแรงมาเปน็ รวง ระยะทางนน้ั เหยยี ดยาว

จากรวงเปน็ เมด็ พราว ลว้ นทกุ ขย์ ากลาเคญ็ เขญ็

เหง่อื หยดสกั กี่หยาด ทกุ หยดหยาดล้วนยากเยน็

ปูดปนู กเ่ี สน้ เอ็น จึงแปรรวงมาเปบิ กนิ

น้าเหง่อื ทีเ่ ร่ือแดง และนา้ แรงอนั หลงั่ ริน

สายเลอื ดกูทั้งสนิ้ ที่สซู ดกาซาบฟนั

ขอ้ ใด ไม่ อาจอนมุ านไดจ้ ากการอ่านบทประพนั ธข์ า้ งตน้

ก.บุญคณุ ของชาวนาผผู้ ลติ ขา้ ว
ข. ความทกุ ขข์ องชาวนาในการผลติ ขา้ ว
ค.ผลผลิตของชาวนาไดป้ รมิ าณนอ้ ย
ง. การตระหนักถึงความสาคัญของข้าวแต่ละเมด็


Click to View FlipBook Version