ความรู้
เกีย่ วกับภาษา
“2
ธรรมชาติของภาษา
1. ความหมายอยา่ งกวา้ ง 3
ความหมาย ภาษา หมายถงึ การแสดงออกเพอ่ื การ
ของภาษา ส่อื ความหมาย โดยมกี ฎเกณฑ์ท่รี บั รรู้ ่วมกัน
ระหว่างผูส้ ง่ สารกบั ผู้รับสาร
ระหวา่ งมนุษย์ มนุษย์กบั สัตว์ มนษุ ย์กบั อปุ กรณ์
กับมนุษย์ อิเลก็ ทรอนิกส์
2. ความหมายอยา่ งแคบ 4
ความหมาย ภาษา หมายถึง ถ้อยคาท่ีมนุษย์ใช้สื่อ
ของภาษา ความหมาย จึงจากัดลงมาเฉพาะวัจนภาษา
อันเป็นภาษาที่ใช้เฉพาะมนุษย์กับมนุษย์
และใช้สื่อที่สาคัญคือ “เสียงพูด” ที่ใช้ส่ือสาร
ระ ห ว่ า ง กั น เ ท่ า น้ั น มิ ไ ด้ ห ม า ย ร ว ม ถึ ง
“ตัวอกั ษร” หรอื ภาษาเขยี น
ธรรมชาตขิ องภาษา 5
ภาษาเปน็ หัวใจของการสอ่ื สาร และมคี วามสาคัญ
ต่อมนุษย์ เนือ่ งจากมนุษย์ใชภ้ าษาเปน็ เครอ่ื งมือถา่ ยทอด
ความรู้ ความคดิ ความเชือ่ วฒั นธรรม
และประเพณี
ภาษามีอย่เู ปน็ จานวนมาก
ทกุ ภาษาจะมลี ักษณะร่วมกนั 4 ประการ
ธรรมชาติของภาษา 6
ลกั ษณะรว่ มกนั
1. ภาษาใช้เสียงสอ่ื ความหมาย
2. ภาษาเกิดจากหน่วยในภาษาท่ปี ระกอบกนั เป็นหน่วยที่ใหญ่ขนึ้
3. ภาษามีการเปลยี่ นแปลง
4. ภาษาต่าง ๆ มลี กั ษณะเหมือนกนั และตา่ งกนั
ลักษณะรว่ มกันของภาษา 7
1. ภาษาใชเ้ สียงสื่อความหมาย
เสยี งเป็นส่ือทส่ี าคัญที่สุด ทท่ี าใหม้ นุษย์ส่ือสารกนั ได้ ความเข้าใจ
ในทนี่ ี้ เกดิ จากการรบั รูค้ วามหมายท่ตี รงกนั ระหว่างผู้สง่ สารและผู้รบั สาร
เอาข้าวหมู โอเคพ่อหนุม่
กรอบครบั รอแปบ๊ นะ
ผูส้ ่งสาร ผรู้ ับสาร
ลกั ษณะร่วมกันของภาษา 8
1. ภาษาใช้เสยี งส่ือความหมาย
สง่ิ ท่คี วร การกาหนดวา่ เสยี งใดจะมีความหมายใด เกิดจาก
พิจารณา การกาหนดขึ้นเองภายในกลมุ่ คนทใ่ี ชภ้ าษานัน้
จงึ ไมส่ ามารถบอกไดว้ า่ เหตใุ ดจึงเรยี กส่งิ
นั้นว่าเชน่ นัน้
“ 9
ลักษณะร่วมกันของภาษา
1. ภาษาใชเ้ สยี งสือ่ ความหมาย
สรุป: เสยี งท่ใี ช้เรียกแทนส่งิ ต่างๆ
นน้ั ไมส่ ัมพันธก์ บั ความหมาย
ลักษณะรว่ มกนั ของภาษา
10
1. ภาษาใช้เสยี งสอ่ื ความหมาย
เสียงไมส่ มั พันธก์ ับ H2O
ความหมาย
ไมม่ สี ี
ไม่มีกลิ่น
ไม่มรี ส
“ 11
เมอ่ื พิจารณาถอ้ ยคาเฉพาะในภาษาไทย จะมคี า
ส่วนหนง่ึ ทีเ่ สียงสมั พันธ์กบั ความหมาย ไดแ้ ก่ คาที่เลียน
เสยี งธรรมชาติ และ คาท่ีเปน็ ชื่อสัตว์
ลกั ษณะรว่ มกันของภาษา
12
1. ภาษาใชเ้ สยี งสอ่ื ความหมาย
ลกั ษณะรว่ มกันของภาษา
13
1. ภาษาใชเ้ สยี งสอ่ื ความหมาย
ลกั ษณะรว่ มกันของภาษา
14
1. ภาษาใชเ้ สยี งสอ่ื ความหมาย
ลกั ษณะรว่ มกนั ของภาษา 15
2. ภาษาเกดิ จากหนว่ ยในภาษาทป่ี ระกอบกันเปน็ หนว่ ยท่ี
ใหญข่ ้นึ
หนว่ ยในภาษา หมายถงึ เสยี งที่มนี ยั สาคญั และทาให้เกิด
ความหมายที่ตา่ งกัน ทกุ ภาษาจะประกอบดว้ ยหนว่ ยเสียงท่มี ี
ขนาดเล็กทส่ี ดุ คอื หน่วยเสียงพยญั ชนะ และหน่วยเสยี งสระ เช่น
หน่วยเสียงในภาษาไทย
ลกั ษณะร่วมกันของภาษา 16
หนว่ ยเสยี งภาษาไทย
2. ภาษาเกดิ จาก
หน่วยในภาษาที่ หน่วยเสียงพยญั ชนะ หน่วยเสียงสระ
ประกอบกันเป็น 21 เสยี ง 21 เสียง
หน่วยท่ีใหญ่ข้นึ
หน่วยเสยี งเหลา่ นี้สามารถนามาประกอบกนั เปน็ คา วลี
ประโยค และขอ้ ความขนาดยาวไมร่ ู้จบ
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 17
2. ภาษาเกดิ จาก ตัวอย่างการประกอบคา
หนว่ ยในภาษาที่
ประกอบกันเป็นหน่วย บ้าน เกดิ จาก บ + อา + น + วรรณยุกตโ์ ท
ที่ใหญข่ น้ึ
ตวั อย่างการประกอบประโยค
ฉนั รักเบญจมราชานุสรณ์ ฉัน เปน็ ประธาน
รัก เป็น กรยิ า
เบญจมราชานุสรณ์ เปน็ กรรม
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 18
3. ภาษามีการเปล่ียนแปลง
ภาษาทกุ ภาษาย่อมมกี าร
เปลีย่ นแปลง เกิดจากการใช้ภาษาของ
มนุษย์ บางครง้ั อาจเปล่ียนเสยี ง เปลย่ี น
ความหมาย หรอื เปล่ยี นคาที่ใช้รว่ มไป
บ้าง หรอื อาจสญู ไปจากภาษาเลยก็มี
ลักษณะร่วมกันของภาษา 19
3. สาเหตุทีท่ าให้ภาษามกี ารเปลย่ี นแปลง
ภาษามกี าร 1. การออกเสยี งพดู จากนั ในชวี ติ ประจาวนั
เปลีย่ นแปลง
การกร่อนเสยี ง การกลมกลืนเสยี ง
การเปล่ยี นแปลงด้านเสยี งวรรณยกุ ต์ การเปลี่ยนแปลงดา้ นเสยี งสระ
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 20
3. สาเหตุที่ทาให้ภาษามีการเปลีย่ นแปลง
ภาษามีการ 1. การออกเสยี งพูดจากนั ในชวี ิตประจาวัน
เปลย่ี นแปลง
การกรอ่ นเสยี ง
คาสองพยางค์ในภาษาไทยจะออก เสียง
เน้นหนักที่พยางค์ท้าย ทาให้พยางค์ต้นกร่อนเสียงเป็น
พยางค์เบา เช่น หมากพร้าว-มะพร้าว สายดอื -สะดอื
ลกั ษณะรว่ มกนั ของภาษา 21
3. สาเหตุทีท่ าให้ภาษามกี ารเปลี่ยนแปลง
ภาษามกี าร 1. การออกเสียงพูดจากันในชวี ิตประจาวนั
เปลีย่ นแปลง
การกลมกลืนเสียง
เสียงท่อี ยใู่ กล้กันกลมกลนื เสียงเขา้ หากัน
เชน่ อย่างไร - ยังไง
ลกั ษณะร่วมกันของภาษา 22
3. สาเหตุท่ที าให้ภาษามกี ารเปลยี่ นแปลง
ภาษามีการ 1. การออกเสียงพูดจากันในชวี ติ ประจาวนั
เปลีย่ นแปลง
การเปลย่ี นแปลงดา้ นเสยี งวรรณยกุ ต์
เปน็ เสียงที่เปลยี่ นแปลงงา่ ย เพราะขึน้ อยกู่ บั
วัฒนธรรมและความนยิ มในการออกเสยี งของแตล่ ะ
ทอ้ งถ่ิน เชน่ มา-ทา-อะไร – หม่า-ตัม-รยั
ลักษณะรว่ มกนั ของภาษา 23
3. สาเหตุที่ทาให้ภาษามกี ารเปล่ยี นแปลง
ภาษามกี าร 1. การออกเสยี งพดู จากนั ในชวี ิตประจาวนั
เปล่ยี นแปลง
การเปลี่ยนแปลงดา้ นเสยี งสระ
เสียงสระท่เี คยเป็นสระเสยี งยาว
อาจจะออกเสยี งส้นั ลง เช่น นา้ ท่าน
ลักษณะรว่ มกนั ของภาษา 24
3. สาเหตทุ ่ีทาใหภ้ าษามกี ารเปลีย่ นแปลง
ภาษามีการ 2. ความเปลี่ยนแปลงของสงิ่ แวดล้อม
เปล่ียนแปลง
การเปลี่ยนแปลงด้านคา การเปลย่ี นแปลงดา้ นประโยค
การเปลี่ยนแปลงด้านสานวน
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 25
3. สาเหตุทท่ี าให้ภาษามกี ารเปล่ยี นแปลง
ภาษามกี าร 2. ความเปลี่ยนแปลงของสิง่ แวดล้อม
เปลย่ี นแปลง
การเปลย่ี นแปลงดา้ นคา
คาท่มี ใี ช้ในภาษา เม่ือถึงสมัยหน่งึ อาจเลกิ ใช้
หรอื เปลีย่ นแปลงความหมายไป เชน่ ดงข้าว
ลกั ษณะร่วมกนั ของภาษา 26
3.
ภาษามกี าร สาเหตุที่ทาใหภ้ าษามกี ารเปลย่ี นแปลง
เปล่ียนแปลง
2. ความเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดลอ้ ม
การเปลี่ยนแปลงดา้ นประโยค
สภาพแวดลอ้ มเปลีย่ นไป ประโยคก็มีการเปล่ียนแปลง
เช่น เมือ่ ชว่ั พอ่ กู กบู าเรอแกพ่ อ่ กู กบู าเรอแกแ่ มก่ ู
ปจั จบุ นั สังคมซับซอ้ นข้ึน ภาษาจึงมคี วามซบั ซอ้ นตามกระแสนยิ ม
ลักษณะรว่ มกนั ของภาษา 27
3. สาเหตทุ ีท่ าใหภ้ าษามกี ารเปลย่ี นแปลง
ภาษามีการ 2. ความเปลีย่ นแปลงของส่ิงแวดลอ้ ม
เปลย่ี นแปลง
การเปล่ยี นแปลงดา้ นสานวน
มีสานวนใหม่ ๆ เกดิ ขึ้นจากสภาพ แวดลอ้ มที่
เปล่ียนแปลงไป เชน่ กระตา่ ยหมายจันทร์ - หมาเห็นเคร่ืองบนิ
ลักษณะรว่ มกันของภาษา 28
3. สาเหตทุ ที่ าใหภ้ าษามีการเปลยี่ นแปลง
ภาษามกี าร 3. อิทธิพลของภาษาอ่ืน
เปลยี่ นแปลง
การเปลี่ยนแปลงด้านเสยี ง
การเปลี่ยนแปลงด้านคา
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 29
3. สาเหตทุ ท่ี าใหภ้ าษามีการเปลยี่ นแปลง
ภาษามีการ 3. อิทธิพลของภาษาอ่นื
เปลี่ยนแปลง
การเปลีย่ นแปลงดา้ นเสยี ง
การยืมคาภาษาตะวนั ตก ซ่งึ มเี สียงแตกตา่ งกบั
เสียงภาษาไทย อยู่หลายลกั ษณะ เช่น
ปารสี ไทยออกเสียงเป็น ปา-รดี
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 30
3. สาเหตทุ ่ีทาให้ภาษามกี ารเปลี่ยนแปลง
ภาษามีการ 3. อทิ ธิพลของภาษาอ่ืน
เปล่ยี นแปลง
การเปล่ยี นแปลงดา้ นคา
การตดิ ต่อกับชาวต่างประเทศ ทาใหเ้ กดิ การยืมคามาใช้
มีคาทับศัพทม์ ศี พั ทบ์ ัญญตั ิเกดิ ข้นึ มากมาย เช่น
พละ เปน็ พล , คชะ เป็น คช
ลักษณะร่วมกนั ของภาษา 31
3. สาเหตทุ ี่ทาให้ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง
ภาษามีการ 4. การเรยี นภาษาของเดก็
เปลย่ี นแปลง
ลกั ษณะร่วมกันของภาษา 32
4. ภาษาตา่ ง ๆ มลี ักษณะท่ีเหมอื นกันและต่างกนั
ลกั ษณะเหมอื นกนั ของภาษา
1. ใช้เสียงสอ่ื ความหมาย 5. มีวธิ กี ารสร้างประโยคและขยาย
ประโยคได้อยา่ งไมม่ จี ากัด
2. มวี ิธีการสร้างศัพทห์ รือคาใหม่
3. มถี อ้ ยคาสานวนใชใ้ น 6. มวี ิธกี ารแสดงเจตนาและ
ความหมายใหม่ ความคิดเหมือนกัน
4. มีคาชนดิ ต่างๆ 7. มกี ารเปล่ียนแปลง
ลักษณะร่วมกันของภาษา 33
4. ภาษาต่าง ๆ มลี กั ษณะท่ีเหมือนกนั และต่างกนั
ลกั ษณะตา่ งกันของภาษา
1. มีเสียงไมเ่ ทา่ กนั 2. มีโครงสรา้ งทางไวยากรณ์
แตกตา่ งกนั
34
จบการเรยี นการสอน
“ 35
สอบวดั ดวง
“ 36
ก. เสยี งในภาษาใด ๆ อาจเพมิ่ จานวนขนึ้ ได ้ ถา้ ยมื คาภาษา
อนื่ มาใชโ้ ดยมไิ ดด้ ดั แปลงเสยี งใหใ้ กลก้ บั เสยี งในภาษา
ของตน
ข. คนตา่ งชาตกิ นั ใชค้ าคลา้ ยคลงึ กนั เพราะเสยี งสมั พนั ธก์ บั
ความหมาย
“ 37
2. ขอ้ ใดแตกตา่ งจากขอ้ อนื่
ก. เสยี งไกข่ นั
ข. สญั ญาณควนั
ค. สญั ญาณไฟจราจร
ง. จดหมายสมคั รงาน
“ 38
3. ลกั ษณะคาในขอ้ ใดไมไ่ ดเ้ กดิ จากการกรอ่ นเสยี ง
ก.ตน้ ไคร ้ - ตะไคร ้
ข.ตวั ขาบ - ตะขาบ
ค.สาวใภ ้ - สะใภ ้
ง. ลกู ดมุ - ลกู กระดมุ