The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาเวสสันดรชาดก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyapohn D., 2020-02-24 04:33:41

มหาเวสสันดรชาดก

มหาเวสสันดรชาดก

มหาชาติ
มหาเวสสนั ดรชาดก

ความหมายของมหาชาติ

แปลวา่ ชาติท่ีย่ิงใหญ่
 ชาตทิ พี่ ระพทุ ธเจา้ เสวยพระชาติเปน็ พระเวสสันดร
 เสด็จทรงออกผนวชกระทัง่ ได้ตรัสรู้เปน็ พระสมั มาสัมพุทธเจา้
 ในพระชาตทิ ีเ่ ปน็ พระเวสสันดรได้ทรงบาเพญ็ ทศบารมี
 มหาชาติเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่

ไดแ้ ก่ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปญั ญา วิรยิ ะ ขันติ สัจจะ
อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา

ความเป็ นมาของเรอ่ื ง

เหตุการณค์ ร้งั พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปโปรดพทุ ธบิดา และพระประยรู ญาติทกี่ รุงกบิลพัสด์ุ บรรดา
พระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทาความเคารพพระพุทธเจ้า ด้วยทรงคิดว่าพระพุทธองค์ทรงมี
พระชนมายุนอ้ ยกว่า พระพทุ ธองค์ทรงทราบความคดิ ของเหลา่ พระประยรู ญาติ จึงเสด็จ ขน้ึ สนู่ ภากาศ
แล้วปล่อยให้ฝุนละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของพระญาติทั้งหลาย แล้วทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์
พระประยูรญาติจึงได้ละทิฐิแล้วยอมถวายบังคมพระพุทธเจ้า ขณะน้ันได้เกิด ฝนโบกขรพรรษ
พระภิกษุท้ังหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงกราบทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสว่าฝนชนิดน้ีเคยตก
ตอ้ งพระประยรู ญาติของพระองค์มาครัง้ หนง่ึ แลว้ ในอดตี

ทรงแสดงธรรมเรอ่ื งมหาเวสสนั ดรชาดกหรอื เร่อื งมหาชาตแิ ก่ภกิ ษเุ หล่านน้ั

ความเป็ นมาของเรอ่ื ง

การสวดหรือเทศนเ์ รือ่ งมหาชาตนิ นั้ แตเ่ ดิมนา่ จะสวดหรอื เทศนเ์ ป็นคาถาภาษาบาลี
เรยี กกนั วา่ คาถาพัน เพราะมีจานวนคาถาภาษาบาลรี วมกันทั้งสิน้ ๑,๐๐๐ คาถา
- มีการแปลแต่งภาษาบาลีเป็นภาษาไทยหรอื ภาษาถนิ่
- ประเพณีการเทศน์มหาชาตมิ ีในทุกถ่นิ หรือทุกภาค
ภาคกลางและภาคใต้เรยี กว่าฟงั เทศนม์ หาชาติ
ภาคเหนือเรยี กว่า ตั้งธรรมหลวง
ภาคอีสานเรยี กว่า งานบุญพระเวส บญุ ผะเหวด

ประวตั ผิ แู้ ตง่

๑. สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชโิ นรส ผู้แตง่
กณั ฑ์ทศพร กัณฑ์หมิ พานต์ กัณฑม์ หาราช กัณฑฉ์ กษัตรยิ ์ และนครกัณฑ์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเป็นพระโอรสองค์ท่ี ๒๘
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี ๑) อันเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง
ราชวงศ์จักรี พระมารดาคือ เจ้าจอมมารดาจุ้ย พระสนมโท ต่อมาได้เลื่อนเป็น
“ท้าวทรงกันดาล” เป็นตาแหน่งผู้รักษาการคลังใน เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัย ใน
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๓) และมีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชาย
วาสกุ รี

ประวตั ผิ ูแ้ ตง่

๒. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั
ผแู้ ตง่ กัณฑว์ นประเวศน์ กณั ฑ์จุลพน กณั ฑ์สกั กบรรพ

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (รัชกาลท่ี ๔)
ทรงศกึ ษาศลิ ปวิทยาการสมัยใหม่ เชน่ ภาษาอังกฤษ ดาราศาสตร์ เปน็ ต้น

ประวตั ผิ ้แู ต่ง

๓. เจา้ พระยาพระคลงั (หน) ผแู้ ตง่ กณั ฑก์ มุ ารและกณั ฑม์ ทั รี
เจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นบุคคลสาคัญในรัชกาลพระบาทสมเด็จ

พระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช มีนามเดิมว่า หน เป็นเสนาบดีจตุสดมภ์
กรมท่า เดิมเปน็ หลวงสรวชิ ิต เคยโดยเสดจ็ พระราชดาเนินการพระราชสงคราม
ในรัชกาลที่ ๑ จึงไดร้ ับโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ พระยาพิพัฒนโ์ กษา

ประวตั ิผูแ้ ต่ง

๔. พระเทพโมลี (กลิน่ ) ผ้แู ต่ง กณั ฑม์ หาพน
สันนษิ ฐานวา่ พระเทพโมลี (กล่นิ ) เปน็ สานวนทไี่ ด้รบั การยกย่องจาก

คณะกรรมการตรวจชาระร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกในสมัยรัชกาลท่ี ๕
ว่าเปน็ สานวนดีเย่ยี ม ไพเราะเป็นเลศิ หาท่ีติมิได้ พระเทพโมลี เป็นนามสมณ
ศกั ดิ์ นามเดมิ ว่า กล่ิน ประวัติของท่านไม่ทราบแน่ชัดทราบแต่เพยี งว่ามีชีวิต
อยู่ในสมยั รัชกาลท่ี ๑

ประวตั ิผแู้ ต่ง

๕. สำนกั วัดถนน ผแู้ ต่ง ทำนกัณฑ์

ไม่มีหลักฐานแน่นอนว่าผู้แต่งเป็นใคร ทราบเพียงแต่ว่าเป็นภิกษุท่ีอยู่วัด
ถนนซ่ึงเป็นวัดเก่าแก่ตั้งอยู่ทางฝ่ังตะวันตกของแม่น้าสีกุก อันเป็นเขตติดต่อ
ระหว่างจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาและจงั หวดั อ่างทอง

ประวตั ผิ แู้ ตง่

๖. สานักวดั สังข์กระจาย ผแู้ ต่ง กัณฑช์ ชู ก
สานักวัดสังข์กระจายเป็นช่ือสานักท่ีท่านผู้แต่งบวชอยู่ วัดน้ีอยู่ริมคลอง

บางกอกใหญ่ฝ่งั เหนอื เปน็ วดั โบราณ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐาน

วา่ คอื พระเทพมุนี (ดว้ ง) แตป่ ระวตั ขิ องทา่ นไมเ่ ป็นท่ที ราบกนั มากนกั ทราบแต่
วา่ ท่านเปน็ เจ้าอาวาสรูปแรกของวดั สังขก์ ระจาย

ลักษณะคาประพนั ธ์

“ร่ายยาว”

“...สา อมิตฺตตาปนา ส่วนว่านางอมิตตดานั้นเป็นลูกเหล่าตระกูลไม่เสียชาติ ไม่คิดว่าตัวเป็นสาว
ได้ผัวแก่แล้วเป็นเมียทาส คิดว่าทุกข์ของพ่อแม่กรรมแล้วก็ตามกรรม สมฺมา ปฏิชคฺคิ เป็นต้นว่า
หาหุงต้มตักต่าทุกค่าเช้าไม่ขวยเขินละอายเพื่อนเวลาเช้าเจ้าก็ท่า เวลาค่าเจ้าก็มิให้เตือนท้ังการ
เรือนเจา้ ก็มใิ หว้ ่า ท้งั ฟืนเจา้ กห็ ักทัง้ ผกั เจ้าก็หา เฝา้ ปรนนบิ ตั เิ ฒา่ ชราทุกเวลากาลน้ันแล...”

กัณฑท์ ี่ ๑ ทศพร

นางผุสดีเป็นเทพธิดาลงมาจุติในโลกมนุษย์ พระนางขอพรได้
จานวน ๑๐ ประการ ดังนี้

๑. ขอให้เกดิ ในกรุงมัททราช แคว้นสีพี
๒. ขอใหม้ ดี วงเนตรคมงามและดาขลับดัง่ ลูกเนอื้ ทราย
๓. ขอใหค้ ้ิวคมขาดัง่ สร้อยคอนกยูง
๔. ขอให้ได้นาม "ผุสดี" ดังภพเดิม
๕. ขอให้มีพระโอรสเกริกเกียรตทิ ี่สุดในชมพทู วีป
๖. ขอใหพ้ ระครรภ์งาม ไมป่ อุ งนนู ด่งั สตรีสามญั
๗. ขอใหพ้ ระถนั เปลง่ ปลง่ั งดงามไม่ยานคล้อยลง
๘. ขอให้เส้นพระเกศาดาขลับตลอดชาติ
๙. ขอให้ผิดพรรณละเอียดบริสุทธดิ์ ุจทองคาธรรมชาติ
๑๐. ขอให้ไดป้ ลดปลอ่ ยนกั โทษทต่ี อ้ งอาญาประหารได้

กัณฑ์ท่ี ๒ หิมพานต์

พราหมณ์จากเมืองกลิงคราษฎร์ทูล
ขอช้างปัจจัยนาคจากพระเวสสันดร
เพื่อให้ฝนตกในบ้านเมืองที่แห้งแล้ง
กันดาร ทาให้ชาวเมืองแล้วขอให้
เนรเทศพระเวสสนั ดรออกจากเมอื ง

กัณฑท์ ่ี ๓ ทานกณั ฑ์

พระนางผุสดีรอ้ งขอพระราชทานอภัย
โทษแกพ่ ระเวสสันดร แตไ่ มเ่ ปน็ ผล พระ
เวสสันดรทรงบาเพ็ญสตั ตสดกมหาทาน

สตั ตสดกมหาทาน คือการทาทานคร้งั ใหญ่
โดยใหส้ งิ่ ของ ๗ อย่าง อยา่ งละ ๗๐๐
ได้แก่ ช้าง มา้ รถ สตรี โคนม ทาสชาย
และทาสหญงิ

กณั ฑท์ ี่ ๔ วนประเวศน์

เป็นกณั ฑท์ เี่ สด็จถึงเขาวงกต ไดพ้ บศาลา
อาศรม ซ่ึงทา้ ววิษณุกรรมเนรมิตให้
พระเวสสนั ดร พระนางมทั รี
ชาลแี ละกณั หา จึงทรงผนวชเปน็ ฤาษี
พานักในอาศรมสบื มา

กณั ฑท์ ี่ ๕ ชชู ก

ชูชกขอทานได้ เอาไปฝากเพอื่ นพอมาทวง
คนื เพือ่ นไดใ้ ชเ้ งินหมดแล้วจึงยกลกู สาวชอ่ื
อมติ ตดาให้ ตอ่ มานางใหช้ ูชกไปขอชาลี กณั
หาเพ่อื เอามาเปน็ ทาสรับใช้
พบพรานเจตบตุ รพรอ้ มใช้กลลวง

กณั ฑท์ ี่ ๖ จุลพน

พรานเจตบุตรหลงเชื่อ จนบอกเส้นทางไป
เขาวงกตแกช่ ชู กฟัง พร้อมเสบียงอาหาร

กัณฑท์ ี่ ๗ มหาพน

ชชู กไปพบพระอัจจตุ ฤาษี ลวงว่าเป็น
นกั บวชจะมาคุยธรรมะกับพระเวสสนั ดร
พระฤาษกี ห็ ลงเชอื่ พรอ้ มบอกแนะนา
เสน้ ทางไปเขาวงกต

กัณฑ์ท่ี ๘ กุมาร

ชูชกไปถงึ ทอ่ี ยู่พระเวสสนั ดรช่วงพระ
นางมทั รี เข้าปาุ หาผลไม้ก็รีบไปขอ
ชาลีและกณั หา พอได้ยินพากันหนลี ง
ไปในสระบัวบังกายไว้ พระองคไ์ ป
เรียกหาเอามายกให้ชชู ก

กณั ฑท์ ี่ ๙ มัทรี

พระอินทร์ส่ังให้เทวดาแปลงกายมาเป็น 3 เสือ
ราชสหี ์ เสอื โครง่ เสือเหลือง ขวางทางไม่ให้พระ
นางมัทรีกลับมาทันเหตุการณ์การยกลูกให้เป็น
ทาน เม่ือกลับมาถึงหาลูกน้อยไม่พบ พระ
เวสสันดรก็ไม่ตอบ พระนางร้องไห้เป็นลมสลบ
เมอ่ื ฟนื้ ขึ้นมาพระเวสสันดรเลยบอกความจรงิ

กัณฑท์ ี่ ๑๐ สกั กบรรพ

พระอินทรแ์ ปลงกายเป็นพราหมณ์
มาขอพระนางมทั รี
เม่อื พระเวสสันดรยกใหแ้ ลว้ กฝ็ ากไว้
ใหร้ ับใช้พระเวสสันดรตามเดมิ
แล้วปรากฏตนเปน็ พระอนิ ทร์

กัณฑท์ ่ี ๑๑ มหาราช

ชูชก พาชาลี กัณหาเดินดงหลงเข้าไปกรุงสีพี
เพราะเทวดาดลใจ พระเจา้ ปเุู ลยไถเ่ อาหลานไว้
พรอ้ มเลี้ยงดชู ชู ก กินมากจนท้องแตกตาย ฝุาย
พระเจ้ากรุงสญชัยได้จัดกองทัพไปอัญเชิญพระ
เวสสันดรกลบั คนื วัง ก็คืนชา้ งคูบ่ ารมี

กัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์

กษัตริย์มาพบกันเกิดสลบไปท้ังหมด เร่ืองถึงพระ
อินทร์รู้เหตุเลยบันดาลให้ฝนตกใหญ่ ( ฝนโบกขร
พรรษ ) เมื่อทั้งหมดฟ้ืนคืนชีพแล้วได้ขออภัยต่อ
พระเวสสนั ดรและเชิญเขา้ ไปปกครองกรุงสีพี

กณั ฑ์ท่ี ๑๓ นครกณั ฑ์

พระเวสสันดรเมอื่ ลาผนวชแลว้ ทรงสงั่ ลา
พระอาศรม รับพระราชทานเครือ่ งทรง
กษตั รยิ ์ แลว้ เสดจ็ กลับไปครองเมืองสีพี
ดว้ ยความร่มเย็นเป็นสุขจนพระชนมายุ
๑๒๐ พรรษา จึงสวรรคตแล้วไปปรากฏ
อบุ ตั เิ ป็น ท้าวสนั ดุสิตเทพบุตร บนสวรรค์
ช้นั ดุสิต

ตวั ละคร พระนางมัทรี

พระเวสสนั ดร พระกัณหา

พระชาลี

ชชู ก นางอมติ ตดา

มหาชาติภาคกลาง

มหาชาติสานวนน้ีแต่งเป็นร่ายยาว นยิ มเรียกกันว่ามหาชาติกลอนเทศน์
เพราะเปน็ สานวนทพี่ ระสงฆ์นิยมเทศน์ใหป้ ระชาชนฟังในวัด เปน็ สานวนที่ถือว่า
เย่ยี มในเร่อื งความไพเราะ ใช้คาอยา่ งอลงั กาล และการพรรณนาทีพ่ สิ ดาร ดงั นัน้
คาและสานวนจงึ คอ่ นขา้ งยากนยิ มการเลน่ คาและเล่นเสียงสัมผัสทง้ั พยัญชนะ
และสระอย่างแพรวพราว เชอื่ วา่ ใครฟังจบทั้ง ๑๓ กณั ฑ์ภายใน ๑ วนั จะมี
อานสิ งส์แรงและไดบ้ ุญมาก

มหาชาติภาคเหนอื

มหาชาติภาคเหนือสานวนนี้ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสโว) เม่ือคร้ัง
ดารงตาแหน่งเป็นพระธรรมราชานุวัตรได้คัดเลือกกัณฑ์ดีเด่นต่าง ๆ จากหลายฉบับ
หรือหลายสานวนของภาคเหนือมาชาระ และรวมกันไว้ ส่วนใหญ่มิได้บอกที่มาของแต่
ละกัณฑ์ น่าสังเกตว่ามหาชาติสานวนสร้อยสังกรมีเน้ือความ และสานวนภาษาคล้าย
กบั มหาชาตขิ องภาคเหนืออีกสานวนหน่ึงซ่ึงเรียกกันว่าสานวนไม้ไผ่แจ้เรียวแดงซ่ึงเชื่อ
ว่าแตง่ ในสมยั อยุธยาและเปน็ ตน้ แบบใหส้ านวนอื่น ๆ ของภาคเหนือนาไปขัดเกลาใหม่
มหาชาติภาคเหนือสานวนสร้อยสังกรแต่งเป็นร่ายยาว แต่ละวรรคมีสัมผัสคล้องจ้อง
เกี่ยวเนอื่ งกันไป

มหาชาติภาคอสี าน

การเทศน์มหาชาติทางอีสานเรียกงานบุญที่สาคัญนี้ว่า บุญผะเหวด หรือ
บุญพระเวส พระเวสก็คือพระเวสสันดรนั่นเอง การเทศน์มหาชาติมักนิยมทากัน
หลังจากออกพรรษาแล้ว บางท่ีก็ทาในวันกลางเดือน ๑๒ หรือแรม ๘ ค่า บางทีก็ทา
กนั ปลายเดอื นอา้ ยหรอื เดอื น ๑๒ เมอ่ื เสร็จหน้านา แต่ปัจจุบันมักมีการเทศน์มหาชาติ
ในฤดูแล้งด้วย คือนับแต่เดือนอ้ายเป็นต้นไป แต่สาหรับงานบุญผะเหวดมักนิยมทาใน
เดือน ๔ หรือในเดือน ๑๐ ซึ่งเป็นเทศกาลสารท ก่อนทอดกฐินพระราชทาน หรือทา
ในเดือนใดกไ็ ดไ้ มจ่ ากัดตายตวั กนั แตอ่ ยา่ งใด

มหาชาตภิ าคใต้

มหาชาตภิ าคใต้สานวน พระมหาชาดก ฉบบั วดั มัชฌิมาวาส จังหวัดสงขลา ไม่
ปรากฏชื่อผู้แต่ง มีเพียงช่ือผู้คัดลอกคือพระภิกษุณีเซ่า ซ่ึงได้คัดลอกต้นฉบับลงสมุด
ข่อยเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๔ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาชาติ
ภาคใต้สานวนน้ีแต่งเป็นกาพย์ยานี (เรียกว่ากาพย์ยานี ๒๒ เพราะนับคารวม ๒
บรรทดั ) กาพยฉ์ บัง กาพยส์ รุ างคนางค์ และมาลินฉี ันท์

คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หา

คณุ ธรรมท่ีปรากฏในมหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
๑. การเสยี สละ คอื การเสียสละกเิ ลสภายใน คือ โลภะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางลงหรือหมดไปในท่ีสุด

จะสละชว่ั คราวหรือถาวรก็เรียกว่าได้ปฏบิ ตั ิหลกั จาคะนี้
๒. การบาเพ็ญทาน คือ การให้ ซึ่งไม่เจาะจงว่าเป็นการให้วัตถุส่ิงของเป็นหลัก นอกจากน้ี

ความหมายของคาว่า การให้ ยังครอบคลุมถึงการให้สติปัญญา การให้ธรรมะ เพียงแต่ไม่ใช่การให้ทานทั่ว ๆ ไป
เพราะจดั อยู่ในข้ันของการบาเพ็ญเปน็ กิจวตั รเพือ่ สรา้ งทานบารมีโดยเฉพาะ

๓. ความกตญั ญกู ตเวที คือ ตอบแทนหรือสนองคุณ บคุ คลท่ีมคี ุณธรรมคือความกตัญญูกตเวทีน้ีถือได้
วา่ เปน็ บคุ คลทหี่ าไดอ้ ยากย่งิ

๔. ความซ่ือสัตย์สุจริต คือ ความประพฤติดี ประพฤติชอบ หรือประพฤติถูกต้องตามทานอง

คลองธรรม
๕. ความอดทน หรือ ขันติ คอื ความอดกล้ันต่อสิ่งท่ีไม่พอใจ ความอดทน เป็นบารมี ๑ ในบารมี

๑๐ (ทศบารมี) ที่พระมหาโพธิสัตว์ทรงบาเพญ็ กอ่ นทีจ่ ะมาตรสั รูเ้ ป็นพระพทุ ธเจ้าองค์ที่ ๔ ในภัทรกปั น้ี
๖. ความไม่โลภ หรือ อโลภะ เป็นหน่ึงในหลักสุจริต ๓ ของพระพุทธศาสนา ความไม่โลภเป็น

รากเหง้าของกุศลทั้งปวง ธรรมใดท่ีเป็นไปด้วยอานาจแห่งอโลภะหรือความไม่โลภน้ี เป็นสิ่งที่ควรเชื่อ ควร
ปฏบิ ตั ิตาม

๗. ความรู้จักประมาณ คือ ในที่นี้คือความรู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร หรือ
โภชนมตั ตัญุตา คือ กินเพอื่ หลอ่ เลี้ยงร่างกายให้ชวี ิตเป็นได้อยอู่ ยา่ งผาสุก คือ ไม่กินน้อยจนเกินไป
หรอื มากจนเกินไปอันเป็นเหตุให้เกิดการเบียดเบียนตนเอง หรือไม่กินเพ่ือความสนุกสนานมัวเมา
เพราะเป็นเหตุแห่งความประมาท

๘. การรจู้ ักขม่ ใจตนเอง หรอื ทมะ เปน็ การฝกึ ควบคมุ ตนหรือข่มใจ เป็นคุณธรรมข้อ
ที่ ๒ ในฆราวาสธรรม ๔ เป็นการฝึกอบรมตน ร้จู กั ขม่ จิตข่มใจ บงั คบั ควบคมุ ตนเองได้

คุณค่าดา้ นปญั ญาและความคดิ

๑. การทาบุญจะทาให้เสร็จสมประสงค์ต้องอธิษฐานจิต ต้ังเปูาหมายชีวิตที่ตนปรารถนาไว้ แต่
ความมปรารถนาจะสาเรจ็ สมดงั ต้งั ใจหรอื ไม่ ผู้นนั้ ตอ้ งมศี ีลบรบิ รู ณ์กล่าวคอื

๑.๑ ตอ้ งกระทาความดี
๑.๒ ต้องรักษาความดนี ั้นไว้
๑.๓ หม่นั เพมิ่ พูนความดใี หม้ ากยงิ่ ขน้ึ
๒. การทาความดตี อ้ งทาเร่ือยไป ทกุ ชาตทิ ุกภพต่อเนื่องไมข่ าดสาย
๓. ในเรือ่ งมหาชาติได้แสดงตัวอย่างของพระชาติที่ยิง่ ใหญ่ด้วยทศบารมี เห็นตัวอย่างการบาเพ็ญ
บารมีอนั ยากย่ิงท่มี นษุ ยป์ ุถุชนธรรมดาจะทาได้
๔. คณุ ค่าของมหาชาติเปน็ เร่ืองทีป่ ระจกั ษ์ในศรัทธาของพทุ ธศาสนกิ ชนมาอย่างยาวนาน

๕. สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ประเพณที างพระพทุ ธศาสนา ที่สาคญั เก่ียวกับการทาบุญ ฟังเทศน์ของ
พทุ ธศาสนกิ ชน เช่น อานิสงคก์ ารฟังเทศน์มหาชาติ การตงั้ ใจฟังเทศน์มหาชาตใิ ห้จบ ครบบรบิ ูรณภ์ ายในวันเดยี วท้งั
๑๓ กณั ฑ์ เปน็ เหตุให้สาเร็จความปรารถนาทุกประการ ดงั น้ี

๕.๑ เมือ่ ตายจากโลกนไ้ี ปแลว้ จะมีโอกาสได้พบพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอรยิ เมตไตรย
๕.๒ เมอ่ื ดบั ขันธ์ จะได้ไปเกดิ ในสุคติโลกสวรรค์ และเสวยทิพยสมบัตมิ โหฬาร
๕.๓ เมอ่ื ตายไปแลว้ จะไมต่ กนรก
๕.๔ เม่ือถึงยุคพระศรีอริยเมตไตรย จะไดจ้ ุตไิ ปเกิดเปน็ มนุษย์
๕.๕ เม่อื ได้ฟงั ธรรมต่อหน้าพระพักตรข์ องพระพุทธองค์ จะไดด้ วงตาเห็นธรรม เป็น
อริยบคุ คลในพระพทุ ธศาสนา

๖. แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเชอ่ื และความศรทั ธาในพระพุทธศาสนาที่อยู่คู่กับสงั คมไทยจากอดตี มาจนถึงปัจจบุ นั
๗. มหาชาติในแตล่ ะท้องถิ่นมกั จะแสดงให้เห็นถึงลักษณะวิถีชีวิต ความเปน็ อยู่ และความเช่อื ไดอ้ ย่างชดั เจน

การซ้าคา

นางนงครวญอันมาตายกลางป่าไม้ นางเท่ามาละกูพ่ไี วอ้ ย่ตู นเดียว
ผใู้ ดจกั มากลางไพรเขียวปา่ ไม้ ผใู้ ดพอ้ ยจกั มาผ่าไมไ้ วห้ ื้อเปน็ หลัว
ผใู้ ดจกั มาชว่ ยกพู้ ่ตี มุ้ หัวนางหนนุ หมอนและหม่ ผ้า ผู้ใดพ้อยจกั มาตกั นา่้ ซ่วยหน้าแม่อุดม

ผู้ใดพ้อยจกั มาสางผมแมห่ มวดไว้เปน็ เกล้า ผู้ใดพอ้ ยจกั มาอมุ้ เจ้าใสเ่ หนอื ตัก

ผู้ใดพอ้ ยจกั มาวักนา่้ ลูบลา้ ง ผูใ้ ดจักมาฝ้านตา้ งใสส่ องหู

ผ้ใู ดพอ้ ยจักมาอินดูนางน้องไห้ ผู้ใดจกั มาส้อมดอกไมเ้ หนบ็ เกศเกล้าเกศา

จากบทประพันธ์ข้างต้น เป็นบทมหาชาติของภาคเหนือ ซึ่งมีการเล่นคาซ้าท่ีต้นวรรค โดยซ้าคาว่า

“ผู้ใด” ทาใหบ้ ทประพนั ธม์ ีความไพเราะ และโดดเด่นมากยงิ่ ข้นึ

การเลน่ เสยี งพยญั ชนะ

“คร้นั แสงพระสรุ ิยะสอ่ งระดมก็ดูเดน่ ด่งั ดวงดาววาวแวววะวาบ ๆ ท่ีเวิ้งวุ้ง วิจิตรจารัสจรูญรุ่งเป็นสีรุ้ง
พุ่งพน้ เพียงคคั นัมพรพนื้ นภากาศ”

จากบทประพนั ธ์ข้างต้น มีการเลน่ เสยี งพยัญชนะ ไดแ้ ก่ “ดูเดน่ ดัง่ ดวงดาว” และ วาวแวววะวาบ ๆ ท่ี
เว้งิ ว้งุ ” ซ่ึงทาใหบ้ ทประพันธ์มคี วามไพเราะมากย่ิงขน้ึ

การใช้อุปมา

พระสุรีย์แสงสอ่ ง แสงสายกระจายต้อง ศลิ าหนา้ ผาร

ระยบั จบั สี มณีประพาฬ ดังแสงสรุ ยี ์การ ประทุมรกุ โข

จากบทประพนั ธข์ า้ งต้น เปน็ การเปรยี บเทยี บแสงของพระอาทติ ยว์ ่าเหมือนกับแสงของแก้ว
ชนิดหนึ่งทม่ี สี แี ดง ประพาฬ หมายถงึ รัตนชาตมิ งคล ๗ ประการ

งอกเรยี งเป็นแถว ภาคเพินเนินแนว ระแวกศลิ า

เกศแกว้ กระกุม ปุ่มลายทอตา ก่าจดั ขัทรี า ษาล้าแตงรัง

ไผ่ผากรากตรวก ลเี ภาเถา้ มวก พาดพังกระสงั

มะยมชมุ แสง แพงพวยตน้ ตัง้ หลหาดเหยี รหงั ภงั คสี มแี สม

ประโดกโคกล้าน ทเุ รียนตระการ มะก่อสะแร
พันธ์ุไม้ท่ีปรากฏในมหาชาติสทอ้ นสเตียร
อาเกยี รรา่ แข สูงสุดตาแล ยูงยางแกมกัน

จากคาประพันธ์ข้างต้นพบพันธ์ุไม้ที่ปรากฏในเร่ืองมหาชาติหรือเวสสันดรชาดกท้ังหมด
๒๐ ชนดิ คอื ตน้ เกศ ตน้ แกว้ ต้นรัง ตน้ ไผ่ผาก ต้นลิเภา ตน้ เถามวก ต้นกระสงั ตน้ มะยม ต้นชุมแสง
ตน้ แพงพวย ตน้ ภงั คี ตน้ สมี ต้นทุเรียน ต้นมะก่อ ต้นสะแล ตน้ สะท้อน ต้นราแข ต้นยูง ต้นยาง

ตน้ เกศ ต้นแกว้ ต้นรงั ตน้ ลเิ ภา ต้นไผ่ผาก

ตน้ เถามวก ต้นกระสงั ต้นมะยม ต้นชมุ แสง ต้นสมี

ต้นภงั คี ต้นแพงพวย ต้นทเุ รียน ต้นมะกอ่ ต้นสะแล

ต้นสะท้อน ต้นยาง

ต้นราแข ต้นยงู

ข้าวจ่ี ขนมผิง แกงป่ าใสเ่ ผือก ปลาบา้

อาหารภาคอสี าน

มอบปู แกงกา นา้ พริกก้งุ

ลาบควาย แกงแคเป็ ด

ส้มคา่ ง

รตั นชาติมงคล ๗ ประการ

พระสรุ ยี ์แสงสอ่ ง แสงสายกระจายตอ้ ง ศิลาหน้าผาร
ประทมุ รกุ โข
ระยบั จับสี มณปี ระพาฬ ดังแสงสรุ ยี ์การ

จากบทประพนั ธข์ า้ งตน้ ประพาฬ คอื รตั นชาติมงคล ได้แก่ เพชร ทับทมิ มรกต เพทาย
ไพฑูรย์ บษุ ราคัม โกเมน นลิ มกุ ดา

การกลับชาตมิ าเกดิ ของตวั ละคร

พระเวสสันดร กลบั ชาติมาเกิดเป็น เจ้าชายสิทธตั ถะ
พระเจ้ากรุงสญชยั กลับชาตมิ าเกดิ เปน็ พระเจ้าสุทโธทนะ
พระนางผสุ ดี กลบั ชาตมิ าเกิดเป็น พระนางสริ มิ หามายา
พระนางมทั รี กลับชาติมาเกิดเปน็ พระนางยโสธราพมิ พา
พระชาลี กลับชาติมาเกิดเป็น พระราหลุ
พระกณั หา กลบั ชาติมาเกดิ เปน็ พระนางอุบลวรรณาเถรี
ชชู ก กลบั ชาตมิ าเกิดเป็น พระเทวทัต
นางอมติ ตดา กลับชาตมิ าเกิดเป็น นางจิญจมาณวกิ า
พระอัจจตุ ฤาษี กลับชาตมิ าเกิดเปน็ พระสารีบุตร
พรานเจตบตุ ร กลับชาติมาเกิดเปน็ พระฉันนเถระ
พระเวสสุกรรม กลบั ชาติมาเกิดเปน็ พระโมคคัลลานะ

เครอื่ งกณั ฑ์เทศน์

เคร่ืองกัณฑ์เทศน์ คือ ของท่ีใส่ในกระจาดเป็นเคร่ืองกัณฑ์ ท่ีมีขนมต่าง ๆ
อาหารแห้ง เช่น ข้าวสาร ปลาแห้ง เนื้อเค็ม และส้มสูกลูกไม้ ตามแต่จะหาได้ มักมี
กล้วยทั้งเครือ มะพร้าวทั้งทะลาย และอ้อยทั้งต้น ตามคตินิยมว่าเป็นของปุา ดังท่ีมีใน
ปาุ วงกต


Click to View FlipBook Version