The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มงคลสูตรคำฉันท์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preeyapohn D., 2020-02-24 04:32:09

มงคลสูตรคำฉันท์

มงคลสูตรคำฉันท์

ผู้แตง่

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว

รัชกาลท่ี ๖ พระองค์ทรงไดร้ ับการถวายพระราช
สมญั ญาเมื่อเสดจ็ สวรรคตแล้ววา่ “สมเด็จพระมหา
ธีรราชเจ้า”

วันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ องค์การศกึ ษา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNESCO) ได้ประกาศยกย่องพระองคใ์ หท้ รงเปน็
นกั ปราชญข์ องโลก

จุดประสงค์ในการแตง่

เพอ่ื ให้ทราบเหตหุ รือทางแห่งความเจรญิ ก้าวหน้า
เพอ่ื ใช้เปน็ หลกั ในการประพฤติปฏบิ ตั ิของบคุ คล อันจะทาํ ให้เกิด

ความสุขความเจรญิ และความสาํ เร็จในสิ่งพึงประสงค์
เพอ่ื ใหต้ ระหนกั วา่ สิริมงคลจะเกดิ แก่ผูใ้ ดก็เป็นผลมาจากการ

ปฏบิ ัติของตนทง้ั สิ้นไม่มผี ใู้ ดหรือส่งิ ใดจะทําให้เกิดสิริมงคล
แก่เราได้
เพอ่ื ให้เข้าใจสาระที่เปน็ มงคลยิง่ ขน้ึ เพราะเดิมแตง่ เปน็ คาถา
ภาษาบาลี

ลกั ษณะคําประพนั ธ์

แตง่ เป็นคําฉันท์ โดยประกอบด้วย กาพยฉ์ บงั ๑๖และอนิ ทรวเิ ชยี รฉันท์
๑กา๑พย์ฉบัง ๑๖

ประทบั ณ เชตวนั วิหาระอนั
อนาถบิณฑิกไซร้ สาวตั ถใี ห้

จัดสร้างอย่างดที ีใ่ น
เป็นทีส่ ถิตสุขา

อินทรวิเชียรฉนั ท์ ๑๑

หนึ่งคือบค่ บพาล เพราะจะพาประพฤตผิ ิด
หนึ่งคบกะบณั ฑิต เพราะจะพาประสบผล
หนึ่งกราบและบชู า อภิบูชนยี ์ชน
ขอ้ นแ้ี หละมงคล อดิเรกอุดมดี

ทีม่ าของเรื่อง

โดยปรากฏเป็นหลกั ฐานอยู่ในพระไตรปิฎก คร้งั หนึง่ ชาวชมพทู วีปได้มา
ประชุมและพูดคยุ กันว่า อะไรจะเป็นมงคล เมอ่ื ทา้ วสทุ ธาวาสมหาพรหม
รวู้ ่ามนษุ ยแ์ ละเทพยดาพากนั คิดเรื่องมงคล แตย่ ังหาขอ้ สรปุ ไมไ่ ด้ จึงรอ้ ง
ประกาศวา่ อีก ๑๒ ปีข้างหน้า พระพุทธเจา้ จะตรสั เทศนาเรื่องมงคล ให้คอยฟัง

คร้นั ล่วง ๑๒ ปี พระอินทร์จึงมเี ทวบัญชาให้เทพยดาองคห์ นึง่ ทลู ถามขอ้
มงคลแด่พระพุทธเจ้า ขณะนน้ั พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยูใ่ นเมืองสาวตั ถี
พระพุทธองค์จงึ ทรงเทศนาตรัสตอบปญั หาเรือ่ งมงคล ๓๘ ประการ เมื่อทรง
เทศนาจบแล้วเหล่าเทวดาท้ังหลายกไ็ ดบ้ รรลธุ รรม

เนือ้ เรือ่ งยอ่

มงคลที่ ๑ - ๓๒ วา่ ดว้ ยเรือ่ งทางโลกหรือความประพฤติของชาวบ้านทวั่ ๆ ไปเปน็ แนวทางโลกียะ
มงคลที่ ๓๓ - ๓๘ เปน็ เรื่องโลกตุ ระ ที่พน้ จากโลกไปแล้ว

กลวิธีการแต่ง

ทรงนาํ คาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกต้ัง แล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรอง
ภาษาไทย มีการอธิบายขยายมงคลเพิม่ เตมิ เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจมากขึ้น

การจัดวางลําดับของมงคลแตล่ ะขอ้ เปน็ ไปตามท่ปี รากฏอยใู่ นพระคาถาเดิม
เริ่มดว้ ยมงคลทีส่ ามารถปฏบิ ัติไดง้ า่ ยในชีวติ ประจาํ วนั จนถึงระดบั ท่เี ป็นความ

สงบท้งั กาย วาจา ใจ และมีจุดมงุ่ หมายสนู่ พิ พาน

บทวิเคราะห์

คุณค่าดา้ นเนือ้ หา
คุณค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

คุณค่าด้านสังคม

คณุ ค่าดา้ นเนอ้ื หา

เปน็ คาสอนที่สามารถปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง เรยี งลาดบั จากขอ้ ปฏิบตั ิท่ีงา่ ยไปหายาก มี
เนื้อหาสอดคล้องกับการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวัน เริม่ ตน้ จากการปฏิบัติระดับพื้นฐาน
คอื การคบคน

อเสวนา จ พาลานํ ปณทฺ ติ านญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปชู ะนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
หนงึ่ คือ บ่ คบพาล เพราะจะพาประพฤตผิ ดิ
หน่ึงคบกะบณั ฑิต เพราะจะพาประสบผล
หนึ่งกราบและบูชา อภิบชู นยี ์ชน
ข้อน้ีแหละมงคล อดเิ รกอุดมดี

คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หา (ตอ่ )

เม่อื จบสว่ นท้ายของทกุ คาถา จะจบลงดว้ ยขอ้ ความทวี่ ่า

เอตมมฺ งคฺ ลมุตฺตมํ

หมายความวา่ ขอ้ น้ีแหละมงคล อดิเรกอดุ มดี

คุณคา่ ด้านเน้อื หา(ต่อ)

ผุฎฐฺสสฺ โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมปฺ ติ

อโสกํ วริ ช เขมํ เอตมมฺ งฺคลมตุ ฺตมํ

จติ ใครผิได้ตอ้ ง วรโลกะธรรมศรี

แลว้ ยอ่ ม บ่ พงึ มี จะประหวน่ั ฤกังวล

ไร้โศกธลุ สี ูญ และสบายบ่มวั มล

ข้อน้ีแหละมงคล อดเิ รกอดุ มดี

ข้อสดุ ท้ายเป็นการปฏบิ ัติทจี่ ะชว่ ยยกระดบั จติ ใจให้สงู ข้ึนจนถงึ ขัน้ สูงสุด

จนหมดกิเลส

วิเคราะหต์ ัวบทมงคลสูตรคําฉันท์

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมพฺ ุทธฺ สฺสฯ

ต้นมงคลสูตร

(๑) ยญฺจ ทฺวาทส วสฺสสานิ จนิ ฺตยสึ ุ สเทวกา

สบิ สองฉนาเหลา่ นรอีกสเุ ทวา

รวมกนั และตรหิ า สิรมิ งั คลาใด

จากบทข้างต้นถอดความได้ว่า เวลาสิบสองปีทเ่ี หลา่ มนษุ ยแ์ ละมวลเทวดาต่าง

คน้ หาคาตอบวา่ อะไรคอื มงคล

(๒) จริ สสฺ ํ จินตฺ ยนฺตาปิ เนว ชานสึ ุ มงฺคลํ

จกฺกวาฬสหสฺเสสุ ทสสุ เยน ตตฺตกํ

กาลํ โกลาหลํ ชาตํ ยาว พรฺ หมฺ นิเวสนา

เทวามนุษยท์ ั่ว พหุภพประเทศใน

หมืน่ จกั รวาลได้ ดารสิ ิน้ จริ ังกาล

แลว้ ยัง บ่ รู้มง- คละสมมโนมาลย์

ด้วยกาละลว่ งนาน บ่ มไิ ด้ประสงค์สม

ได้เกิดซ่ึงโกลา หละยงิ่ มโหดม

ก้องถึง ณ ชน้ั พรหม ธ สถิตสะเทอื นไป

จากบทขา้ งตน้ ถอดความได้ว่า เทวดาทวั่ จักรวาลตา่ งพาคิดไตรต่ รองกย็ ังไมท่ ราบวา่
อะไรเปน็ สงิ่ มงคล จนกระท่ังเวลาผา่ นมาชา้ นาน ทาใหเ้ กดิ ความวนุ่ วายเสยี งดังไปถงึ ชนั้ พรหม

(๓) ยํ โลกนาโถ เทเสสิ
องคโ์ ลกนาถเทศน์ วรมังคลาใด

(๔) สพพฺ ปาปวินาสนํ
ยงั ปาปะปวงให้ ทษุ ะเส่อื มวนิ าศมล

จากบทขา้ งต้นถอดความไดว้ า่ พระพทุ ธเจ้าทรงเทศนาธรรมว่ามงคลประการใดท่ี
จะทาใหบ้ าปเสอื่ มไป

(๕) ยํ สุตฺวา สพฺพทุกฺเขหิ มุจจฺ นฺตาสงฺขิยา นรา
ชนหลาย บ่ พงึ นับ ผสิ ดบั สุมงคล
ใดแล้วและรอดพน้ พหทุ กุ ขะยายี

จากบทขา้ งต้นถอดความไดว้ ่า ชนทั้งหลายเม่ือได้ฟังสิ่งทเี่ ป็นมงคล
จะทาให้รอดพ้นจากทุกข์ภยั ต่าง ๆ ได้

(๖) เอวมาทิคณุ ูเปตํ มงฺคลนฺตมภฺ ณาม เส.ฯ
เราควรจะกลา่ วมง- คละอันประเสริฐท่ี
กอบดว้ ยคณุ ามี วรอตั ถะเฉิดเฉลาฯ

จากบทข้างต้นถอดความไดว้ า่ พระพุทธเจ้าจงึ กล่าวถึงมงคลท่ปี ระกอบดว้ ย
เนือ้ ความอันประเสริฐยอดเย่ียม และงามเด่นสงา่

มงคลสูตร

(๑) เอวมฺเม สตุ ํ

องค์พระอานนทท์ ่านเล่า ว่าข้าพเจ้า

ไดฟ้ ังมาแลว้ ดงั น้ี

จากบทข้างตน้ ถอดความได้ว่า พระอานนทไ์ ดเ้ ล่าวา่ ตนเองไดฟ้ งั มาแลว้ ดังน้ี

(๒) เอกํ สมยํ ภควา

สมยั หน่ึงพระผ้มู ี พระภาคชินสหี ์

ผู้โลกนาถจอมธรรม์

(๓) สาวตถฺ ยิ ํ วหิ รติ เชตวเน อนาถปณิ ฑฺ ิกสสฺ อาราเม.

ประทับ ณ เชตวนั วหิ าระอนั

อนาถบิณฑิกไซร้

จดั สรา้ งอยา่ งดที ี่ใน สาวตั ถใี ห้

เปน็ ท่สี ถิตสุขา

จากบทข้างต้นถอดความได้ว่า ครงั้ หนึ่งพระพทุ ธเจา้ ประทบั ณ วิหารเชตวนั เศรษฐชี ื่อ
อานาถบณิ ฑิกสรา้ งถวายในเมืองสาวัตถี

(๔) อถ โข อญฺญตุรา เทวดา

ครง้ั น้นั แลเทวดา องค์หนงึ่ มหา-

นภุ าพมหทิ ธฤ์ิ ทธี

จากบทขา้ งต้นถอดความไดว้ ่า ครัง้ นนั้ มเี ทวดาผมู้ ีฤทธานุภาพมาเข้าเฝา้

(๕) อภกิ ฺกนตฺ าย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณณฺ า
ล่วงประถมยามราตรี เธอเปล่งรศั มี
อันเรืองระยับจับเนตร

(๖) เกวลกปฺปํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา
แสงกายเธอปลั่งยังเขต สวนแหง่ เจา้ เชต
สว่างกระจ่างท่วั ไป

จากบทข้างตน้ ถอดความได้ว่า ในชว่ งเวลาปฐมยาม
(๑๘.๐๐-๒๒.๐๐น.) รา่ งกายของเทวดาเปล่งแสงสวา่ งไปทั่วสวนพระเชตวนั

(๗) เยน ภควา เตนปุ สงฺกมิ
องค์พระภควันตน์ ้ันไซร้ ประทับแห่งใด
ก็เขา้ ไปถงึ ทน่ี ั้น

(๘) อุปสงฺกมติ วฺ า ภควนตฺ ํ อภวิ าเทตฺวา
ครนั้ เขา้ ใกล้แลว้ จึง่ พลนั ถวายอภวิ นั ท์
แด่องคส์ มเด็จทศพล

(๙) เอกมนฺตํ อฏฐฺ าสิ. เสง่ียมเจียมตน
แลว้ ยืนทค่ี วรดากล
แสดงเคารพนบศีร์

(๑๐) เอกมนฺตํ ฐิตาโข สา เทวตา

เมอื่ เทวดายนิ ดี สมควร ณ ที่

ข้างหนึง่ ดงั กลา่ วแลว้ นั้น

จากบทขา้ งตน้ ถอดความไดว้ า่ เทวดาองค์นั้นเขา้ ไปยังที่ประทับของพระพทุ ธเจ้า แลว้
จึงถวายความเคารพแดพ่ ระพทุ ธเจา้ ดว้ ยความนอบนอ้ ม แลว้ กลับมายืน ณ ท่อี นั สมควร

(๑๑) ภควนตฺ ํ คาถาย อชฌุ ภาสิ ฯ

จึงได้ทูลถามภควนั ต์ ดว้ ยถอ้ ยประพนั ธ์

เป็นพระคาถาบรรจงฯ

พหู เทวา มนสุ ฺสา จ มงคฺ ลานิ อจนิ ตฺ ยุ

อากงฺขมานา โสตถฺ านํ พฺรูหิ มงฺคลมุตตฺ มํ ฯ

เทพอีกมนษุ ย์หวงั คตโิ สตถจิ านง

โปรดเทศนามง- คละเอกอดุ มดี ฯ

ฝ่ายองค์สมเด็จพระชนิ สีห์ ตรสั ตอบวาที

ด้วยพระคาถาไพจิตร

จากบทขา้ งต้นถอดความไดว้ า่ เทวดาองค์น้นั ถามพระพุทธเจา้ ดว้ ยถอ้ ยคาเปน็

พระคาถาว่า เทพและมนษุ ยต์ ่างมุ่งหวงั หาแนวทางความเจรญิ โปรดเทศนามงคลอัน

เป็นเลิศด้วยเถดิ พระพุทธเจ้าจึงตรัสตอบด้วยพระคาถาอันงดงาม

(๑) อเสวนา จ พาลานํ ปณทฺ ติ านญจฺ เสวนา

ปชู า จ ปชู นยี านํ เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ มํ

หนึง่ คือ บ่ คบพาล เพราะจะพาประพฤตผดิ
หนง่ึ คบกะบณั ฑิต เพราะจะพาประสบผล

หน่ึงกราบและบูชา อภิบชู นีย์ชน

ข้อน้แี หละมงคล อดิเรกอุดมดี

จากบทข้างตน้ ถอดความได้ว่า มงคลขอ้ ท่ี ๑ คอื ไม่คบคนพาล เพราะเขาจะ

ชกั ชวนไปในทางที่ไมด่ ี มงคลขอ้ ที่ ๒ คบบัณฑิต เพราะเขาจะทําให้เราประสบ

ผลสําเรจ็ มงคลข้อท่ี ๓ บชู าบคุ คลทค่ี วรบูชา สงิ่ เหล่าน้ีล้วนแล้วเป็นมงคล

(๒) ปฎริ ปู เทสวาโส จ ปุพเฺ พ จ กตปญุ ญฺ ตา

อตตฺ สมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ

ความอยู่ประเทศซงึ่ เหมาะและควรจะสุขี
อกี บญุ ญะการท่ี ณ อดีตะมาดล

อีกหมน่ั ประพฤตคิ วร ณ สภาวะแห่งตน

ข้อน้แี หละมงคล อดิเรกอดุ มดี

จากบทข้างตน้ ถอดความได้วา่ มงคลขอ้ ที่ ๔ อยใู่ นสถานทีอ่ นั สมควร จะมี
ความสุข มงคลขอ้ ท่ี ๕ เคยทาํ บญุ ไว้แตก่ าลก่อน มงคลขอ้ ท่ี ๖ ตง้ั ตนไว้ในที่ชอบ
สิ่งเหล่านีล้ ้วนแลว้ เป็นมงคล

(๓) พาหสุ จจฺ ญฺ สิปปฺ ญจฺ วนิ โย จ สุสิกขฺ โิ ต

สุภาสติ า จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตตฺ มํ
ความได้สดับมาก และกาหนดสวุ าที

อีกศิลปศาสตรม์ ี จะประกอบมนุญการ

อกี หน่งึ วินยั อนั นรเรยี นและเชีย่ วชาญ
อกี คาเพราะบรรสาน ฤดแิ ห่งประชาชน

ท้ังส่ีประการลว้ น จะประสิทธ์มิ นญุ ผล

ข้อนแี้ หละมงคล อดิเรกอดุ มดี

จากบทขา้ งต้นถอดความได้ว่า มงคลขอ้ ท่ี ๗ การทําตนเปน็ พหูสูต ฟงั ให้
มาก พดู ใหด้ ี มงคลข้อที่ ๘ มีศิลปวิทยา มงคลข้อท่ี ๙ มีระเบียบวนิ ยั

มงคลขอ้ ท่ี ๑๐ มีวาจาเปน็ สุภาษติ สิ่งเหลา่ น้ลี ว้ นเปน็ มงคล

(๔) มาตาปติ อุ ุปฎฐฺ านํ ปตุ ฺตทารสสฺ สงคฺ โห

อนากุลา จ กมฺมนตฺ า เอตมฺมงคฺ ลมุตฺตมํ

บารุงบดิ ามา- ตรุ ะด้วยหทัยปรยี ์
หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหน่ึงตน

การงานกระทาไป บ่ มิยุ่งและสบั สน

ขอ้ นี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี

จากบทข้างตน้ ถอดความได้ว่า มงคลข้อท่ี ๑๑ บาํ รงุ บิดามารดาด้วยความรกั

มงคลข้อที่ ๑๒ สงเคราะหบ์ ตุ ร มงคลขอ้ ท่ี ๑๓ สงเคราะหภ์ รรยา

มงคลขอ้ ท่ี ๑๔ ทาํ การงานไมใ่ หค้ ง่ั ค้าง สง่ิ เหล่าน้ีลว้ นเป็นมงคล

(๕) ทานญจฺ ธมมฺ จรยิ า จ ญาตกานญจฺ สงคฺ โห
อนวชชฺ านิ กมมฺ ามิ เอตมมฺ งคฺ ลมุตตฺ มํ
ใหท้ าน ณ กาลควร และประพฤตสิ ุธรรมศรี
อีกสงเคราะหญ์ าติที่ ปฏบิ ัติบาเรอตน
กอบกรรมะอนั ไร้ ทุษะกลั้วและมวั มล
ขอ้ นแี้ หละมงคล อดเิ รกอดุ มดี

จากบทข้างตน้ ถอดความไดว้ ่า มงคลขอ้ ท่ี ๑๕ บําเพญ็ ทาน
มงคลข้อที่ ๑๖ ประพฤตธิ รรม มงคลขอ้ ที่ ๑๗ สงเคราะหญ์ าติ

มงคลข้อที่ ๑๘ ประกอบการงานท่ีไม่มโี ทษ สิง่ เหลา่ น้ลี ว้ นเปน็ มงคล

(๖) อารตี วิรตี ปาปา มชชฺ ปานา จ สญญฺ โม

อปฺปมาโท จ ธมเฺ มสุ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ฺตมํ

ความงดประพฤตบิ าป อกศุ ล บ่ ใหม้ ี

สารวมวรนิ ทรยี ์ และสรุ า บ่ เมามล

ความไมป่ ระมาทใน พหุธรรมะโกศล

ข้อนแ้ี หละมงคล อดเิ รกอุดมดี

จากบทขา้ งต้นถอดความได้ว่า มงคลข้อท่ี ๑๙ งดเวน้ จากบาป
มงคลขอ้ ที่ ๒๐ ไมด่ มื่ นาํ้ เมา มงคลข้อท่ี ๒๑ ไมป่ ระมาทในธรรมท้ังหลาย สงิ่ เหล่านี้
ลว้ นเปน็ มงคล

(๗) คารโว จ นิวาโต จ สนฺตฎุ ฐิ จ กตญฺญตุ า

กาเลน ธมฺมสสฺ วนํ เอตมมฺ งคฺ ลมุตตฺ มํ

เคารพ ณ ผคู้ วร จะประณตและนอบศรี ์

อีกหน่ึงมไิ ด้มี จะกระดา้ งและจองหอง

ยนิ ดี ณ ของตน บ่ มิโลภทะยานปอง

อกี รคู้ ณุ าของ นรผปู้ ระคองตน

ฟังธรรมะโดยกา- ละเจริญคุณานนท์

ข้อนแี้ หละมงคล อดิเรกอดุ มดี

จากบทข้างต้นถอดความได้วา่ มงคลทีข่ อ้ ๒๒ มีความเคารพ นอบนอ้ ม

มงคลขอ้ ท่ี ๒๓ การเจียมตัว นอบนอ้ มถ่อมตน มงคลข้อท่ี ๒๔ ยนิ ดีด้วยของของตน (สันโดษ) มงคล

ขอ้ ท่ี ๒๕ มคี วามกตัญญู รคู้ ณุ ทา่ น มงคลขอ้ ท่ี ๒๖ ฟงั ธรรมตามกาล สง่ิ เหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ มงคล

(๘) ขนตฺ ี จ โสวจสสฺ ตา สมณานญฺจ ทสฺสนํ

กาเลน ธมมฺ สากจฉฺ า เอตมมฺ งฺคลมตุ ฺตมํ

มจี ติ ตะอดทน และสถิต ณ ขันตี

อกี หน่ึง บ่ พงึ มี ฤดิดอ้ื ทะนงหาญ

หน่งึ เหน็ คณาเลศิ สมณาวราจารย์

กล่าวธรรมะโดยกาล วรกิจจะโกศล

ทัง้ สีป่ ระการล้วน จะประสิทธ์ิมนุญผล

ข้อนแี้ หละมงคล อดเิ รกอดุ มดี

จากบทขา้ งต้นถอดความไดว้ ่า มงคลข้อที่ ๒๗ มีความอดทน มงคลข้อท่ี ๒๘ เปน็

ผู้วา่ ง่ายสอนงา่ ย มงคลขอ้ ท่ี ๒๙ พบปะสมณะ มงคลขอ้ ท่ี ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล สงิ่

เหล่านีล้ ว้ นเปน็ มงคล

(๙) ตโป จ พรฺ หฺมจริยญฺ จ อรยิ สจจฺ านทสสฺ นํ
นพิ พฺ านสจฺฉกิ ิรยิ า จ เอตมฺมงฺคลมตุ ตฺ มํ
เพยี รเผากเิ ลสล้าง มละโทษะยายี
อีกหนงึ่ ประพฤติดี ดจุ ะพรหมพิสทุ ธส์ิ รรพ์
เห็นแจ้ง ณ ส่ีองค์ พระอรียสจั อนั
อาจนามนุษยผ์ นั ตริ ะขา้ มทะเลวน
อกี ทาพระนพิ พา- นะประจกั ษะแก่ตน
ขอ้ นแ้ี หละมงคล อดเิ รกอดุ มดี

จากบทขา้ งตน้ ถอดความไดว้ า่ มงคลขอ้ ท่ี ๓๑ บาํ เพ็ญตบะ (ความเพียร) ละจาก
การเบียดเบียนกัน มงคลขอ้ ที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ มงคลขอ้ ที่ ๓๓ เหน็ อริยสัจ ๔
มงคลข้อที่ ๓๔ ทําใหแ้ จ้งซึ่งพระนพิ พาน สิ่งเหล่านลี้ ว้ นเป็นมงคล

(๑๐) ผุฏฐสสฺ โลกธมเฺ มหิ จิตตฺ ํ ยสฺส น กมปฺ ติ
อโสกํ วริ ชํ เขมํ เอตมฺมงฺคลมตุ ฺตมํ
จติ ใครผไิ ดต้ ้อง วรโลกะธรรมศรี
แลว้ ยอ่ ม บ่ พงึ มี จะประหวั่นฤกงั วล
ไร้โศกธลุ สี ญู และสบาย บ่ มวั มล
ข้อนีแ้ หละมงคล อดิเรกอุดมดี

จากบทข้างต้นถอดความไดว้ ่า มงคลข้อท่ี ๓๕ มจี ติ ไมห่ วัน่ ไหว ถ้าจิตของ
ใครได้อยู่กับทางธรรมแล้ว ก็ย่อมจะไมห่ ว่นั ไหวหรอื กังวลอะไร
มงคลขอ้ ที่ ๓๖ มีจิตไมเ่ ศรา้ โศก มงคลขอ้ ท่ี ๓๗ มีจติ ปราศจากธลุ ี จติ สบาย
ไม่มัวหมอง มงคลข้อที่ ๓๘ มจี ิตเกษม (ปลอดโปร่งจากกิเลส) สง่ิ เหลา่ นี้ล้วนเป็นมงคล

(๑๑) เอตาทสิ านิ กตวฺ าน สพพฺ ตฺถมปราชติ า
สพฺพตฺถ โสตถฺ ึ คจฉฺ นฺติ ตนเฺ ตสํ มงคฺ ลมตุ ฺตมนตุ ิ
เทวามนษุ ยท์ า วรมงคลาฉะน้ี
เปน็ ผปู้ ระเสรฐิ ท่ี บ่ มแิ พ้ ณ แห่งหน
ย่อมถึงสวัสดี สิรทิ ุกประการดล
ข้อนแ้ี หละมงคล อดิเรกอดุ มดีฯ

จากบทข้างตน้ ถอดความไดว้ า่ เทวดาและมนุษย์ท่ปี ฏบิ ัติตามมงคลเหลา่ นจี้ ะ
เป็นผูป้ ระเสรฐิ ประสบผลสาเรจ็ มคี วามสวัสดิเกดิ ความเป็นสริ ิมงคลแก่ตวั เราทกุ
ประการ ส่ิงเหลา่ นี้ลว้ นเปน็ มงคล

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

๑. การสรรคํา พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงเชยี่ วชาญในการเลือกสรร

ถ้อยคามาใช้ไดอ้ ยา่ งดี คาประพันธ์วรรคสดุ ทา้ ยของทกุ พระคาถาจะจบด้วยเสยี ง

“อน” เพ่ือใหส้ ่งสมั ผสั มายงั คาว่า “มงคล”

เทวามนษุ ย์ทา วรมงคลาฉะน้ี

เปน็ ผปู้ ระเสรฐิ ท่ี บ่ มิแพ้ ณ แห่งหน

ยอ่ มถึงสวัสดี สริ ิทกุ ประการดล

ขอ้ น้ีแหละมงคล อดเิ รกอดุ มดฯี

คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ (ต่อ)

หน่ึงคอื บ่ คบพาล เพราะจะพาประพฤตผดิ
หนึง่ คบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสบผล
หนึง่ กราบและบชู า อภิบชู นยี ช์ น
ขอ้ นี้แหละมงคล อดิเรกอดุ มดี

การสรรคา บทประพนั ธ์ข้างต้นมีการซ้าํ คําวา่ “หนึ่ง” เพ่อื เป็นจาแนกขอ้ มงคล
แตล่ ะประการ พร้อมทัง้ ใหเ้ หตุผลว่าทาไมจงึ ตอ้ งปฏบิ ัติตามมงคลข้อนัน้ ๆ

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (ต่อ)

๒. บรรยายโวหาร องคห์ น่งึ มหา-
เธอเปลง่ รัศมี
ครงั้ นั้นแลเทวดา สวนแห่งเจ้าเชต
นุภาพมหทิ ธ์ฤิ ทธี ประทับแหง่ ใด
ล่วงประถมยามราตรี ถวายอภิวันท์
อนั เรืองระยบั จบั เนตร เสงย่ี มเจยี มตน
แสงกายเธอปล่งั ยงั เขต
สวา่ งกระจ่างทวั่ ไป
องค์ภควนั ต์น้ันไซร้
กเ็ ขา้ ไปถงึ ทนี่ นั้
ครน้ั เข้าใกล้แลว้ จึ่งพลนั
แดอ่ งค์สมเด็จทศพล
แล้วยนื ที่ควรดากล
แสดงความเคารพนบศีร์

คุณค่าด้านสังคม

มงคลสูตรคาฉนั ท์ เป็นวรรณคดเี ปน็ คาสอนในทางพระพุทธศาสนา เมอื่ นาไป
ปฏิบัติ ย่อมจะทําให้ชีวติ ประสบกับความเปน็ สริ มิ งคล หรือความสขุ อย่างแทจ้ รงิ
แนวทางตา่ ง ๆ เน้นที่การนาไปปฏบิ ัติให้บงั เกดิ ผลเปน็ รปู ธรรมดว้ ยตนเองเปน็ สาคัญ
นอกจากนหี้ ากทกุ คนไดย้ ดึ ถอื เปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชีวติ อย่างเหมาะสม ย่อม
ส่งผลให้สังคมเจรญิ ก้าวหน้าตามไปด้วย

ข้อคิดสาํ คัญของเรื่อง

สิริมงคลจะเกดิ แก่ผใู้ ด ก็เป็นผลมาจากการประพฤติปฏบิ ัตติ นของบคุ คลผู้นนั้ เอง
ไมม่ ผี ใู้ ดสรา้ งมงคลใหแ้ กเ่ ราไดน้ อกจากตัวเราเอง
ไม่วา่ เทวดาหรอื มนุษย์หากปฏิบตั สิ ่งิ มงคลทั้ง ๓๘ ประการนแ้ี ลว้ จะไมพ่ า่ ยแพ้แก่

ข้าศกึ ทง้ั ปวง จะมีแต่ความสขุ ความเจรญิ ทุกเมือ่
การประพฤติปฏิบตั ติ นตามมงคลขอ้ ต้น ๆ น้ันจะนาํ ความสุขความเจรญิ รงุ่ เรืองใน

การดาํ รงชีวติ
การประพฤติปฏิบัตติ นตามมงคลข้อหลงั ๆ น้ันเป็นการยกระดับจิตใจให้สงู ขึ้น

เรื่อย ๆ จนถงึ ขัน้ สูงสุดคือ หมดกเิ ลสโดยส้ินเชงิ

เกร็ดความรู้

๑. อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี
เป็นมหาเศรษฐใี นตระกูลสทุ ตั ตะไดน้ ามวา่ อนาถบณิ ฑิกเศรษฐี เพราะเป็นผู้มี

เมตตา ให้ขา้ วปลาอาหารแก่คนอนาถาอยูเ่ ป็นนจิ อนาถบณิ ฑิก หมายถึง เปน็ กอ้ น
ขา้ วของผู้ไรท้ ่ีพง่ึ อนาถบิณฑกิ เป็นพอ่ ค้าทสี่ ามารถในเชิงพาณชิ ย์ อาศัยอยู่ในเมือง
สาวตั ถี มกี จิ การคา้ ติดต่อกบั เมอื งอืน่ ๆ ทั่วชมพูทวีป เปน็ ผซู้ ้อื เชตวนั จากเจ้าชายเซตะ
และสร้างเชตวันมหาวหิ ารถวายพระพุทธองค์

เกร็ดความรู้

๒. พระวิหารเชตวนั
ตงั้ อยชู่ านเมืองสาวตั ถี เป็นวหิ าร ๗ ช้ัน มกี าแพงและคูเป็นขอบรอบบรเิ วณ

ภายในวิหารมที ่ปี ระทับของพระพุทธเจา้ เรียกว่า คันธกฎุ ี มีทีอ่ ยู่ของพระภิกษุสงฆ์
สาวก มีสถานท่ีเจรญิ ธรรม ที่แสดงธรรม ที่ฉนั อาหาร และทพี่ กั ผ่อนครบถ้วน วหิ ารน้ี
อยู่ในวัดพระเชตวนั ทอ่ี นาถบณิ ฑกิ เศรษฐสี รา้ งถวายเมอ่ื ครัง้ ท่ีพระพุทธองค์เสด็จ
จาริกมาสูส่ าวตั ถีและอนาถบิณฑิกเศรษฐเี ปน็ ผู้นิมนตม์ า


Click to View FlipBook Version