The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ji2273in, 2019-01-21 19:48:14

ภาษีป้าย (3)

รายงาน



เรื่อง ภาษีป้าย



จัดท าโดย



นางสาวศิศิรา บางสอน เลขที่ 21



นายสิรภพ จันมณี เลขที่ 23



นางสาวอนัญญา พงษ์คีรี เลขที่ 24



นางสาวอภิสรา อยู่เจริญ เลขที่ 28



ปวส.1/2 สาขาวิชา การตลาด



เสนอ



อาจารย์วงเดือน พูนสวัสดิ์



รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง



รหัสวิชา 3200-0007



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561



วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ค าน า


รายงานเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การบริหารการค้าปลีกและ

การค้าส่ง เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง ภาษีป้าย และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น


ประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดท าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่

ก าลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะน าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขอน้อมรับ


ไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย









คณะผู้จัดท า

สารบัญ



เรื่อง

หน้า


ความหมายของภาษีป้าย 1


ป้ายที่ต้องเสียภาษีและป้ายที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี 2-3


ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย 4


ขั้นตอนเสียภาษีป้าย 5



การค านวณพื้นที่ป้าย อัตราภาษีป้ายและการค านวณภาษีป้าย 6


การประเมินภาษีป้ายและการช าระภาษีป้าย 7-8


การขอคืนเงินค่าภาษีป้าย 9


เงินเพิ่ม 10



การอุทธรณ์ 11


บทก าหนดลงโทษ 12


บรรณานุกรม 13


ประวัติผู้จัดท า 14-17

ความหมายของภาษีป้าย


ภาษีป้าย หมายถึง ภาษีที่ต้องช าระเป็นรายปี โดยเก็บจากหน่วยธุรกิจที่ขายสินค้าหรือ


ให้บริการแก่ผู้บริโภค และค านวณเรียกเก็บจากป้ายโฆษณาสินค้า แสดงสถานประกอบกิจการและ

ชื่อของธุรกิจ

ป้าย หมายถึง ป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบการค้า หรือ

ประกอบกิจการอื่น ๆเพื่อหารายได้ หรือโฆษณาการค้า หรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะแสดง

หรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ด้วยอักษร ภาพหรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือท าให้


ปรากฏด้วยวิธีอื่น

ป้ายที่ต้องเสียภาษีและป้ายที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี


ป้ายที่ต้องเสียภาษี ได้แก่ ป้ายที่แสดงชื่อ ยี่ห้อหรือเครื่องหมาย ที่ใช้ในการประกอบ

การค้าหรือ ประกอบกิจการอื่น เพื่อหารายได้หรือโฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่


ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณา
ไว้ที่วัตถุใดๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือท าให้ปรากฏด้วยวิธี


อื่นๆ และไม่เป็นป้ายที่ได้รับการยกเว้นภาษีป้าย

ป้ายที่ไม่ต้องเสียภาษี


1. ป้ายที่แสดงไว้ ณ โรงมหรสพและบริเวณของโรงมหรสพนั้นเพื่อโฆษณา

2. ป้ายที่แสดงไว้ที่สินค้าหรือสิ่งที่ห่อหุ้มหรือบรรจุสินค้า

3. ป้ายที่แสดงไว้บริเวณงานที่จัดขึ้นเป็นครั้งคราว

4. ป้ายที่แสดงไว้ที่คนหรือสัตว์

5. ป้ายที่แสดงไว้ภายในอาคารที่ใช้ประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่นหรือภายในอาคารซึ่ง


เป็นที่รโหฐาน ทั้งนี้เพื่อหารายได้และแต่ละป้ายมีพื้นที่ไม่เกิน 3 ตารางเมตรที่ก าหนดใน

กฎกระทรวงแต่ไม่รวมถึงป้ายตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนพาณิชย์

6. ป้ายของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาคหรือราชการส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

7. ป้ายขององค์การที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาลหรือตาม


กฎหมายว่าด้วยการนั้นๆ และหน่วยงานที่น ารายได้ส่งรัฐ

8. ป้ายของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ธนาคารเพื่อ

การสหกรณ์และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย


9. ป้ายของโรงเรียนเอกชน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่แสดงไว้ ณ อาคารหรือบริเวณของโรงเรียน

เอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น

10. ป้ายของผู้ประกอบการเกษตรซึ่งค้าผลผลิตอันเกิดจากการเกษตรของตน

11. ป้ายของวัดหรือผู้ด าเนินกิจการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนาหรือการกุศลสาธารณะ

12. ป้ายของสมาคมหรือมูลนิธิ

13. ป้ายตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ปัจจุบันมีกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ให้เจ้าของ


ป้ายไม่ต้องเสียภาษีป้าย ส าหรับ

13.1 ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่รถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ รถบดถนนหรือ

รถแทรกเตอร์ ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์

13.2 ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่ล้อเลื่อนตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน

13.3 ป้ายที่ติดตั้งหรือแสดงไว้ที่ยานพาหนะนอกเหนือจาก (13.1) และ (13.2)โดยมีพื้นที่


ไม่เกิน 500 ตารางเซนติเมตร

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย


เจ้าของป้าย แต่ในกรณีไม่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) ส าหรับป้ายใดที่ไม่

อาจหาตัวผู้ครอบครองป้ายนั้นได้ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร หรือที่ดินที่ป้ายนั้น


ติดตั้งหรือแสดงอยู่เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายตามล าดับและให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมิน

ภาษีเป็นหนังสือไปยังบุคคลดังกล่าว

ก าหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ

ให้เจ้าของป้ายซึ่งจะต้องเสียภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) ณ ฝ่าย


รายได้

ส านักงานเขตซึ่งป้ายนั้นติดอยู่ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ป้ายที่ติดตั้งใหม่หรือมีการ

เปลี่ยนแปลงหลังจากเดือนมีนาคมให้ยื่นแบบภายใน 15 วัน นับแต่วันติดตั้งป้าย หรือตั้งแต่วัน

เปลี่ยนแปลงแก้ไขแล้วแต่กรณีให้เจ้าของป้ายมีหน้าที่เสียภาษีโดยเสียเป็นรายปี ยกเว้นป้ายที่เริ่ม


ติดตั้งในปีแรกให้เสียภาษีป้ายตั้งแต่วันเริ่มติดตั้ง หรือแสดงจนถึงวันสิ้นปีและคิดภาษีป้ายเป็นราย

งวด งวดละ 3 เดือน ของปีโดยเริ่มเสียภาษีป้ายตั้งแต่งวดที่ติดตั้งป้ายจนถึงงวดสุดท้ายของปี

กรณีที่เจ้าของป้ายอยู่ต่างประเทศ

ให้ตัวแทนในประเทศมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายแทน ถ้าเจ้าของตายหรือไม่

อยู่ เป็นคนสาบสูญ เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถให้ผู้จัดการมรดก ผู้


ครอบครองทรัพย์มรดกมีหน้าที่ปฏิบัติการแทนเจ้าของป้าย

ขั้นตอนเสียภาษีป้าย

การค านวณพื้นที่ป้าย อัตราภาษีป้ายและการค านวณภาษีป้าย


การค านวณพื้นที่ป้าย

ป้ายที่มีขอบเขตก าหนดได้

พื้นที่ป้าย = ส่วนที่กว้างที่สุด x ส่วนที่ยาวที่สุดของขอบเขตป้าย

ป้ายที่ไม่มีขอบเขตก าหนดได้


ตัวอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่อยู่ริมสุดเป็นขอบเขตเพื่อก าหนดส่วนที่กว้างและยาวที่สุด

อัตราภาษีป้าย



































การค านวณภาษีป้าย


(กว้าง x สูง) ÷ 500 x อัตราภาษีตามประเภท = ภาษีที่ต้องจ่าย

การประเมินภาษีป้ายและการช าระภาษีป้าย


การประเมินภาษีป้าย
1.ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประเมินภาษีป้ายตามหลักเกณฑ์การค านวณภาษีป้ายที่ก าหนด


ตามอัตราภาษีป้ายที่ก าหนดในกฎกระทรวง แล้วแจ้งการประเมินเป็นหนังสือไปยังเจ้าของป้าย

2.ในกรณีที่ไม่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการส าหรับภาษีป้ายใด และไม่อาจหาตัวเจ้าของป้ายนั้นได้

ให้ถือเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือที่ดินที่ป้ายนั้นติดตั้งหรือแสดงอยู่ เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี


ป้ายตามล าดับ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมินภาษีป้ายเป็นหนังสือ

3.ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายช าระภาษีป้ายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ที่ได้ยื่นแบบแสดง

รายการภาษีป้ายไว้ หรือ ณ สถานที่อื่นใดที่พนักงานเจ้าหน้าที่ก าหนด ภายใน 15 วันนับแต่วันที่

ได้รับแจ้งการประเมิน และให้ถือว่าวันที่ช าระภาษีต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นวันช าระภาษีป้าย

4.การช าระภาษีป้ายจะกระท าโดยวิธีการส่งธนาณัติหรือตั๋วเงินแลกเงินของธนาคารที่สั่ง


จ่ายเงินให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง โดยส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนหรือส่งโดยวิธีอื่น

ตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดแทนการช าระต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ และให้ถือว่าวันที่ได้ท าการ

ส่งดังกล่าวเป็นวันช าระภาษีป้าย

5. ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายแสดงหลักฐานการเสียภาษีป้ายไว้ ณ ที่เปิดเผยในสถานที่

ประกอบการค้าหรือประกอบกิจการ


6.ภาษีป้ายจ านวนใดที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้แจ้งการประเมินแล้วถ้ามิได้ช าระภายในเวลาที่

ก าหนด ให้ถือเป็นภาษีป้ายค้างช าระ

7.ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ยึดหรืออายัดและขายทอดตลาด


ทรัพย์สินของผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายที่ค้างช าระ เพื่อน าเงินมาช าระค่าภาษีป้ายค่าธรรมเนียมและ

ค่าใช้จ่ายโดยไม่ต้องขอให้ศาลสั่งหรือออกหมายยึด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีก าหนด

8.เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้หักไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการยึด อายัด หรือขาย

ทอดตลาด เหลือเท่าใดให้ช าระเป็นค่าภาษีป้าย ถ้ายังมีเงินเหลืออยู่อีกให้คืนแก่เจ้าของทรัพย์สิน

9. เมื่อได้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินไว้ ถ้าได้มีการช าระภาษีป้ายที่ค้างช าระ ค่าธรรมเนียม


และค่าใช้จ่ายในการยึดหรืออายัดทรัพย์สินโดยครบถ้วนก่อนการขายทอดตลาด ให้ผู้บริหาร

ท้องถิ่นสั่งถอนการยึดหรืออายัดนั้น

การช าระภาษีป้าย


- ให้เจ้าของป้ายช าระภาษีป้ายภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน

- ป้ายที่เริ่มติดตั้ง หรือแสดงในปีแรกให้เสียภาษีป้าย ตั้งแต่วันที่ติดตั้ง จนถึงงวดสุดท้าย


ของปี (คิดภาษีป้ายเป็นรายงวด งวดละ 3 เดือน)

งวด 1 มกราคม – มีนาคม = 100 %

งวด 2 เมษายน – มิถุนายน = 75 %


งวด 3 กรกฎาคม – กันยายน = 50 %

งวด 4 ตุลาคม – ธันวาคม = 25 %

การขอผ่อนช าระภาษีป้าย

1.ถ้าภาษีป้ายที่ต้องช าระมีจ านวนตั้งแต่ 3,000 บาทขึ้นไป ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายจะขอ

ผ่อนช าระเป็น 3 งวด งวดละเท่าๆ กันก็ได้ โดยแจ้งความจ านงเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่


ทราบก่อนครบก าหนดเวลาช าระภาษี

- งวดที่หนึ่งก่อนครบก าหนดเวลาช าระภาษี

- งวดที่สองภายใน 1 เดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องช าระงวดที่หนึ่ง

- งวดที่สามภายใน 1 เดือนนับแต่วันสุดท้ายที่ต้องช าระงวดที่สอง

2.ถ้าผู้ขอผ่อนช าระภาษีไม่ช าระภาษีป้ายงวดหนึ่งงวดใดภายในก าหนดเวลา ให้หมดสิทธิที่


จะขอผ่อนช าระภาษี และผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้านต้องเสียเงินเพิ่ม

การขอคืนเงินค่าภาษีป้าย



ผู้ใดเสียภาษีป้ายโดยไม่มีหน้าที่ต้องเสียหรือเสียเกินกว่าที่ควร ผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินคืน

การขอรับเงินคืนให้ปฏิบัติดังนี้

1.ให้ยื่นค าร้องต่อผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่เสีย

ภาษีป้าย

2.ให้ผู้ยื่นค าร้องส่งเอกสาร หลักฐานหรือค าชี้แจงใดๆ ประกอบค าร้องด้วย


เมื่อผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเห็นว่าผู้ยื่นค าร้องมีสิทธิได้รับเงินคืน ให้สั่งคืนเงิน

ให้โดยเร็ว และแจ้งให้ผู้ยื่นค าร้องทราบเพื่อมาขอรับเงินคืนภายในหนึ่งปี

เงินเพิ่ม


เจ้าของป้ายที่จะต้องเสียเงินเพิ่มในกรณี ดังนี้

1. ถ้าไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายในก าหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของค่า

ภาษีป้าย เว้นแต่เจ้าของป้ายได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายก่อนพนักงานเจ้าหน้าที่ได้แจ้งถึงการ


ละเว้นนั้นให้เสียร้อยละ 5 ของค่าภาษีป้าย

2. ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายไม่ถูกต้อง ท าให้จ านวนเงินที่จะต้องเสียภาษีลดน้อยลง

ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของจ านวนเงินที่จะต้องเสียภาษีป้าย เว้นแต่เจ้าของป้ายได้มาขอแก้ไข

แบบแสดงรายการภาษีป้ายให้ถูกต้องก่อนพนักงานเจ้าหน้าที่จะได้แจ้งการประเมิน

3. ไม่ช าระภาษีป้ายภายในเวลาที่ก าหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อย 2 ต่อเดือนของค่าภาษีป้าย


เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน

การอุทธรณ์


1. เมื่อผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายได้รับแจ้งการประเมินภาษีป้ายแล้วเห็นว่าการประเมินไม่

ถูกต้อง มีสิทธิอุทธรณ์ต่อผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายได้ภายใน 30 วันนับแต่วันที่

ได้รับแจ้งการประเมินและการอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการช าระภาษีป้ายเว้นแต่จะได้รับอนุมัติ


จากผู้บริหารท้องถิ่น


2. ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่ยื่นอุทธรณ์ภายใน 30 วัน ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก ไม่ยอมให้ถ้อยค า

หรือไม่ยอมส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องโดยไม่มีเหตุอันสมควรให้ ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่

ได้รับมอบหมายมีอ านาจยกอุทธรณ์ได้และโดยเฉพาะกรณีที่ไม่ยื่นอุทธรณ์ภายในก าหนดระยะเวลา

ดังกล่าวผู้อุทธรณ์ย่อมหมดสิทธิที่จะฟ้องคดีต่อศาล

บทก าหนดลงโทษ

บรรณานุกรม


หนังสือเรียน การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง


wikisource.org/wiki/พระราชบัญญัติภาษีป้าย_พ.ศ._2510


www.dharmniti.co.th/ภาษีป้าย

ประวัติผู้จัดท า

ประวัติส่วนตัว





















ชื่อ : นางสาว ศิศิรา นามสกุล บางสอน ชื่อเล่น แจ่ม อายุ 19


วันเดือนปีที่เกิด: 02 กรกฏาคม 2542 สถานที่เกิด: โรงพยาบาล วังจันทร์



หมู่เลือด: A สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย นับถือศาสนา : พุทธ


ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านเลขที่ 118/2 หมู่ 5 ต าบล ป่ายุบใน อ าเภอ วังจันทร์ จังหวัด ระยอง


รหัสไปรษณีย์ 21210 เบอร์โทร 099-0930831



เกรดเฉลี่ย 2.71


งานอดิเรก : อ่านหนัง ฟังเพลง ดูซีรีย์


อาหารที่ชอบ : ก๋วยเตี๋ยว ข้าวมันไก่ หอยทอด



คติประจ าใจ : ท าทุกอย่างให้ดีที่สุด และทุกอย่างจะดีเอง


ประวัติการศึกษา


จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


- โรงเรียน วังจันทร์วิทยา

ประวัติส่วนตัว
























ชื่อ : นายสิรภพ จันณี ชื่อเล่น นุ๊ก อายุ 19


วันเดือนปีที่เกิด: 05 สิงหาคม 2542 สถานที่เกิด: โรงพยาบาล ระยอง



หมู่เลือด O สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย นับถือศาสนา : พุทธ


ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านเลขที่ 86 หมู่ 7 ต าบล ตาขัน อ าเภอ บ้านค่าย จังหวัด ระยอง


รหัสไปรษณีย์ 21120 เบอร์โทร 0884844244



เกรดเฉลี่ย 2.71


งานอดิเรก : ดูการ์ตูน ฟังเพลง ดูซีรีย์



อาหารที่ชอบ : ส้มต า ข้าวมันไก่ หอยทอด


คติประจ าใจ : ท าวันหน้าให้ดีกว่าวันนี้


ประวัติการศึกษา


จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



- โรงเรียน บ้านค่าย

ประวัติส่วนตัว








ชื่อ : นางสาว อนัญญา พงษ์คีรี



ชื่อเล่น : ลูกน้ า


วันเกิด : 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2542



อายุ : 19 ปี



สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย



ราศี : เมถุน


ส่วนสูง : 150 เซนติเมตร



น้ าหนัก : 40 กิโลกรัม



กรุ๊ปเลือด : AB



ที่อยู่ : 7/8 ถนน เสม็ดแดง ต าบล ทับมา อ าเภอ เมือง จังหวัดระยอง


FB : Nam Ananya ID LINE : bneam

ประวัติส่วนตัว





































อภิสรา อยู่เจริญ



เกิดวันที่25 พฤศจิกายน 2542




ศึกษาที่ วิทยาลัยเทคนิคระยอง สาขาวิชา การตลาด


Click to View FlipBook Version