The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ระดับขั้นพื้นฐาน ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ailada Srisamlee [KOI], 2021-03-21 05:45:36

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ระดับขั้นพื้นฐาน ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ระดับขั้นพื้นฐาน ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 1

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา ก2

คำนำ

การประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) เป็นกระบวนการในการวัด
และเกบ็ รวบรวม ข้อมูล เพ่ือนามาวิเคราะห์พจิ ารณาตัดสินคุณคา่ ของหลกั สูตรว่า หลักสูตรสถานศกึ ษามี
ประสิทธิภาพเพียงใด เม่ือนาไปใช้แล้ว บรรลุตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดหรือไม่เพียงใด มีอะไรต้องแก้ไข
เพื่อนาผลมาใช้ในการ ตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีกว่า จุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลักสูตร เพื่อหาคุณค่า
ของหลักสูตรน้ัน โดยดูว่า หลักสูตรท่ีจัดทาข้ึนนั้นสามารถสนองวัตถุประสงค์ ท่ีหลักสูตรนั้นต้องการ
หรือไม่ สนองความต้องการของ ผู้เรียนและสังคมอย่างไร และเพื่ออธิบายหรือพิจารณาว่าลักษณะของ
ส่วนประกอบต่างๆ ของหลักสูตรในแง่ต่างๆ เช่น หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอน และการวัดผลว่าสอดคล้องต้องกันหรือไม่ หรือสนอง
ความต้องการหรือไม่รวมทั้งเพ่ือตัดสินว่า การบริหารงาน ด้านวิชาการ และบริหารงานด้านหลักสูตร
เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องหรือไม่ เพื่อหาทางแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ให้มี
ประสิทธิภาพ การประเมินผลหลักสูตรเป็นสิ่งสาคัญและมีความจาเป็นอย่างย่ิง ท่ีจะทาให้เราทราบถึง
คุณภาพและประสิทธิภาพของหลักสูตร การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษา การจัดทาหรือ
พัฒนาหลักสตู รต้องอาศยั ผลจากการประเมินผลเป็นสาคัญ ทาใหท้ ราบว่าหลักสูตรท่ีสร้างหรือพัฒนาข้ึน
นั้น มีจุดดีหรือจุดเสียตรงไหน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงให้ถูกจุด ส่งผล ให้หลักสูตร
มีคุณภาพดียิ่งขึ้น สร้างความน่าเชื่อถือ ความมั่นใจ และค่านิยมที่มีต่อโรงเรียนให้เกิดในหมู่ ประชาชน
ช่วยในการบริหารทางด้านวิชาการ ผู้บริหารจะได้รู้ว่าควรจะตัดสินใจและสนับสนุน ช่วยเหลือหรือ
บริการทางใดบ้าง ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมให้
ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับโรงเรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพ่ือให้การจัดเรียนการสอนแก่นักเรียน
ได้ผลดี ด้วยความร่วมมือกันท้ังทางโรงเรียนและชุมชนจากความจาเป็นดังกล่าว งานพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)ตระหนักในความจาเป็นดังกล่าว จึงได้จัดการ
ประเมินการใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาข้นึ เพ่ือทาการทบทวนตรวจสอบหลักสตู รสถานศึกษาและพัฒนาให้
หลักสูตรมีความสมบูรณ์สนองต่อความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง สนองนโยบายของภาครัฐ
รวมท้ังการพัฒนาหลักสูตรให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนางานทางด้านวิชาการของโรงเรียน และเป็นแนวทางแก่ผู้ที่สนใจนาข้อมูลไป
พฒั นาผูเ้ รียนให้สนองเจตนารมณข์ องหลกั สูตรสถานศึกษาต่อไป

(นางฉฐั อติพา แช่มชมดาว)
ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา ข3

สำรบัญ หน้ำ

คานา ข
สารบัญ
บทที่ 1 บทนา 4
6
- หลักการและเหตุผล 6
- วตั ถุประสงค์ 6
- ขอบเขตการศึกษา 7
- นิยามศัพท์เฉพาะ 8
- ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 8
บทที่ 2 - วรรณกรรมและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 9
- แนวคดิ เกย่ี วกับหลกั สูตร 10
- ความสาคัญของหลักสตู ร 12
- การพัฒนาหลักสตู ร 12
- การบรหิ ารหลักสตู ร 16
- สาระสาคญั เกย่ี วกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
- หลกั สูตรโรงเรยี นวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ พุทธศักราช 2553 22
(ฉบบั ปรบั ปรงุ 2561) 26
- แนวคดิ เกยี่ วกับการประเมินหลักสตู ร 28
- การประเมนิ หลักสูตร 29
บทท่ี 3 วิธีดาเนินการ 31
- ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 31
- เครอ่ื งมอื และวธิ ีการสร้างเคร่อื งมอื 31
- การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 31
- การจัดกระทาขอ้ มลู 32
- การวเิ คราะหข์ ้อมลู
- สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล 33
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 33
- ขั้นตอนผลการนาเสนอวเิ คราะห์ขอ้ มลู
- ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 38
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 39
- สรุปผลการประเมนิ หลักสตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ 39
- อภปิ รายผลการประเมนิ หลักสูตร 40
- ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 4

บทที1่
บทนำ

1. หลกั กำรและเหตผุ ล

การศึกษามีบทบาทและความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต โดยเฉพาะอย่างย่ิงในยคุ ปัจจบุ ัน
ท่ีมีการเปล่ียนแปลงท้ังทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาจะเป็นพ้ืนฐานในการคิด เพ่ือพัฒนา
ตนเองให้ทันต่อสังคมโลก และสามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุข หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม
(เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2561) เป็นหลักสตู รที่พัฒนาจากหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีการพฒั นาปรับปรุงหลกั สูตรของสถานศึกษามา
อย่างต่อเน่ือง เพ่ือสนองแนวนโยบายใหม่ๆของภาครัฐสนองความต้องการของชุมชนท้องถ่ินและ
สอดคล้องกับบริบทของสังคม ท่ีเปล่ียนไปตลอดเวลารวมท้ังเม่ือกระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศคาส่ังที่
สพฐ 1239/2560 เรื่องให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
( ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 เพ่ือให้การ
จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม
และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคนของชาติ ให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 ในโลก
ศตวรรษท่ี 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวติ อย่างสร้างสรรค์
ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชว้ี ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เง่ือนไขและระยะเวลาการใช้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2561) ให้เป็นไปดังนี้

1. ปกี ารศึกษา 2561 ให้ใช้ในชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 และ 4
2. ปกี ารศึกษา 2562 ให้ใช้ในชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 2 4 และ 5
3. ต้ังแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป ให้ใช้ในทุกชั้นเรียนดังนั้น โรงเรียนวัดชินวราราม
(เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) จึงมีการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551
1 สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาข้ึนใช้เองในโรงเรียนของตน คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) ซ่ึงประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และตัวแทนผู้ปกครอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 5

จึงร่วมกันจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น โดยมีจุดหมายท่ีจะพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล
ท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจติ สานกึ ในการเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ม่งุ เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายและจุดเน้นของ ซึ่งมุ่ง
พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ การจัดการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้
ในหลักสูตรสถานศึกษา จึงมุ่งให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีทักษะสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ
ดารงชีวิตประจาวันได้ กิจกรรมการเรียนมุ่งเน้นทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม
จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม ในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนได้ศึกษาสภาพ
ต่าง ๆ ที่เป็นปัญหา จุดเด่น/เอกลักษณ์ของชุมชน สังคม ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีการระดมทรัพยากรทั้งของสถานศึกษา และชุมชนมาใช้ และใช้ศักยภาพท่ีมีอยู่อย่างเต็มท่ี ทั้งในด้าน
การจัดเนื้อหาสาระ สื่อการเรียน เทคนิควิธีการสอน กิจกรรมการเรียนและการวัดผลประเมินผล เพื่อให้
ได้หลักสูตรที่ดี มีความทันสมัยเหมาะสมกับสถานการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และ
ตอบสนองความต้องการของสังคม และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ดังท่ีกรมวิชาการกาหนดไว้ว่า หลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพต้องเป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจาก
ข้อมูลของสถานศึกษาและชุมชน (กรมวิชาการ,2545) หลักสูตรใดก็ตามที่สามารถทาให้นกั เรียนทุกคน
สาเร็จการศึกษาและมีคุณภาพตามหลักสูตรกาหนด หลักสูตรนั้นย่อมมีประสิทธิภาพผลิตผลของ
การศึกษาจะดีหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับคุณภาพของหลักสูตรในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาน้ัน
ผู้จัดทาหลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลอย่างกว้างขวาง เพื่อให้สามารถกาหนดเป้าหมาย ส่วนประกอบ และ
เน้ือหาสาระของหลักสูตร จนนาไปสู่การจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียน หลังจากได้จัดทาและใช้ไประยะ
หนึ่งแล้ว ต้องมีการประเมินหลักสูตรซึ่งจะเป็นการรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมท้ังการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อตรวจสอบหลักสูตรว่ามีคุณค่าบรรลุผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ หลักสูตรมีข้อดีในเรื่องใด
และมีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น (สมคิด พรมจุ้ย, 2551) โรงเรียนวัดชินวราราม
(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้ดาเนินการใช้หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) พุทธศกั ราช
2560 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2561) ในปกี ารศึกษา 2562 กบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 ดังนน้ั

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของโรงเรียน จึงเห็นว่าควรจะได้มีการประเมิน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง
2561) เพ่ือจะได้ทราบว่าสภาพการใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นอย่างไร มีปัญหาข้อบกพร่อง และส่วนท่ี
ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไรและเป็นแนวทางให้ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการของ
สถานศึกษา ได้นาข้อมูลจากผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้เกิดประสิทธิภาพสูง
ย่ิงขึ้น อีกท้ังครูผู้สอนยังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สามารถตอบสนอง
ความต้องการของท้องถ่ิน และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร
โดยได้ศึกษาวิธีการประเมินหลักสูตรจากตารา เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง พบว่า มีรูปแบบการ
ประเมินหลักสูตรอยู่หลายรูปแบบ คณะคณะผู้ศึกษาได้เลือกใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model
ของสตัฟเฟิล บีม (Stufflebeam, 1973) มาเป็นแนวทางในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในครั้งนี้
เพราะพิจารณาเห็นว่า รูปแบบการประเมิน CIPP Model เป็นการประเมินท้ังระบบ โดยมองทุกส่วน
และ ทุกองค์ประกอบ และให้ความสาคัญของแต่ละส่วนใกล้เคียงกัน สามารถประเมินข้อมูลที่เก่ียวข้อง
กับหลักสูตรได้ครอบคลุมทุกด้านทั้งในด้านตัวหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน ผู้สอน ผู้เรียน
อุปกรณ์การสอนและสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ (บุญศรี พรหมมาพันธุ์, 2551) เพ่ือนาไปสู่คาตอบว่า
หลักสูตรมีความเหมาะสมเพียงไร การดาเนินงานเป็นไปตามความมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่ มีปัญหา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 6

อุปสรรค หรือข้อผิดพลาดประการใด ซึ่งจะช่วยให้สามารถตัดสินใจได้ว่าควรมีการปรับปรุงและพัฒนา
หลกั สตู รในดา้ นใด เพ่ือให้เปน็ หลักสตู รที่มปี ระสทิ ธิภาพต่อไป

2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 ประเมินด้านองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา

เวศม์)
2.2 ประเมินด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรระดับกลุ่มสาระการ

เรยี นร)ู้
2.3 ประเมินการใช้และพัฒนาหลกั สตู รจากผ้บู รหิ ารและครผู ู้สอน
2.4 จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เพื่อ

สนองระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา

3. ขอบเขตของกำรศึกษำ
เพ่ือให้การศึกษาอิสระคร้ังนี้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ คณะคณะผู้ศึกษาจึงกาหนด

ขอบเขตการศกึ ษาไว้ ดังนี้
3.1 ขอบเขตดา้ นกล่มุ เป้าหมาย
3.1.1 ประชากร คอื ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครูผ้สู อน นกั เรยี นโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญ

ผลวทิ ยาเวศม์) และผู้ปกครอง
3.1.2 กลมุ่ ตัวอย่างท่ีใหข้ อ้ มูลในการประเมนิ ครง้ั นี้ประกอบด้วย
- ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและ

หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ ตวั แทนนักเรียน จานวน 25 คน

3.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา
การประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษาในคร้ังนี้ เป็นการประเมินหลักสูตรโดยใช้แบบนิเทศ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพ่อื รวบรวมข้อมูล
3.3 พ้ืนท่ดี าเนนิ การ คอื โรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)
3.4 ระยะเวลาในการดาเนนิ การ ปกี ารศกึ ษา 2562

4. นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจถูกต้องตรงกัน คณะคณะผู้ศึกษาจึงกาหนดนิยามศัพท์เฉพาะไว้ใช้ใน

การศกึ ษาไว้ ดังน้ี
4.1 การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการรวบรวม พิจารณา วิเคราะห์หลักสูตร เพื่อ

พจิ ารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยในการใช้หลักสูตร
ดา้ นกระบวนการใช้หลักสูตร และดา้ นผลผลิตของหลักสูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม(เจริญผลวทิ ยาเวศม์)

4.2 การประเมินบริบทของหลักสูตร หมายถึง การประเมินความสอดคล้องของ
หลักสูตรสถานศึกษากับสภาพความต้องการของชุมชน ท้องถิ่นตลอดจนความถนัด ความสนใจและ
ความสามารถของผู้เรียน และความสอดคล้องของหลักสูตรสถานศึกษากับหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 7

ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในด้านวิสยั ทัศน์ โครงสร้างของหลักสตู ร และเนื้อหาหลักสูตรตามเกณฑ์
ที่กาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียน วัดชินวราราม
(เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ดงั น้ี

4.3 หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2553)

4.4 สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

4.5 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)
ปกี ารศึกษา 2562

4.6 ครู หมายถึง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวแทนครูผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสอน ซึ่งทาหน้าที่หลัก
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม์) ปีการศกึ ษา 2562

4.7 นักเรียน หมายถึง ตัวแทนนักเรียนในคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่ายและตัวแทนนักเรียนใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3-6 โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) 2562 ท่ีจัดการเรียนการ
สอนตามหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

4.8 คณะกรรมภาคี 4 ฝา่ ย หมายถึง ผู้ซ่ึงเปน็ ตัวแทนจากชุมชน ผู้ปกครอง ตัวแทนครู ตัวแทน
นักเรยี นทถี่ กู แต่งตงั้ จากทางโรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ 2562

5. ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั
ผลการศึกษาครั้งน้ีจะมีประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ครูและคณะกรรมการสถานศึกษา

และ
ผทู้ เี่ กยี่ วข้องในสถานศกึ ษา ดังน้ี

5.1 โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) นาผลการศกึ ษาไปใชใ้ นการพัฒนาการบริหาร
จัดการหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลอย่างยิ่ง
ต่อการพฒั นาผเู้ รียน

5.2 โรงเรียนท่ัวไป ผู้บริหารโรงเรียนและและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา นาผล
การศึกษาที่ได้ไปเป็นแนวทางหรือประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาของตนเองให้มี
ประสิทธิภาพย่ิงขึ้น

5.3 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สามารถรวบรวมข้อมูลผล
การศึกษาเกี่ยวกับการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัด มาวางแผนพัฒนาการบริหารจัดการ
และการพฒั นาหลักสูตรให้มปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน

5.4 ใช้ผลการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษารองรับระบบประกันคุณภาพการศึกษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 8

บทท่ี 2
วรรณกรรมและงำนวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง

การศึกษาเร่ือง การประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) สังกัด
สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เพื่อจัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสตู ร
สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 คณะผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง
ตามลาดับดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1 แนวคดิ เก่ยี วกับหลกั สูตร
2.2 สาระสาคญั เกี่ยวกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2.3 หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2561)
2.4. แนวคิดเกย่ี วกับการประเมนิ หลักสตู ร
2.5 การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา
2.6 บริบทของโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์
2.7 งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง
2.8 กรอบแนวคิดการวิจยั

2.1. แนวคดิ เกีย่ วกับหลกั สูตร
จากการศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรพบว่า แนวคิดพ้ืนฐานสาคัญ

ของหลักสูตร ครอบคลุมความหมายของหลักสูตร ความสาคัญของหลักสูตร รูปแบบของหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้และการบริหารหลักสูตร มีนักการศึกษาหลายท่าน ได้ให้
ความหมายไวอ้ ย่างกวา้ งขวางแตกตา่ งกัน มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

2.1.1 ควำมหมำยของหลกั สตู ร
พยนต์ ง่วนทอง (2553) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรไว้วา่ หลักสูตร หมายถึง เน้ือหาสาระที่
จัดไว้เป็นระบบ หรือมวลประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียน ซึ่งจัดให้กับผู้เรียนเพ่ือให้เป็นแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณธรรม และ
พัฒนาการทางดา้ นต่าง ๆ ตามจดุ มุ่งหมายของการศกึ ษา
เสาวนี ตรีพุทธรัตน์ (2551) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า คือ เอกสารท่ีประกอบไปด้วย
ความมุ่งหมายของการให้การศึกษา เน้ือหาวิชา เวลาเรียน กิจกรรมและประสบการณ์ท่ีจัดให้แก่ผู้เรียน
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน
เปร่ือง จันดา (2549) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า หลกั สตู ร หมายถึง แนวความรู้และมวล
ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่จัดให้แก่ผู้เรียน ซึ่งอาจอยู่ในรูปของเอกสารก็ได้ โดยประกอบด้วยหลักการ
จุดหมาย เน้ือหาสาระ และประสบการณ์การเรยี นร้กู ารจัดกระบวนการเรียนที่หลากหลายตลอดจนการ
วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ อันแสดงถงึ ประสิทธิผลทเ่ี กิดขนึ้ ในตัวผูเ้ รยี นเพื่อพฒั นาคุณภาพของผ้เู รียน
ให้เป็นผลเมืองดีของสงั คม และประเทศชาตติ อ่ ไปตามจุดหมายและแนวทางของหลักสตู รที่ได้กาหนดไว้

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 9

พิสณุ ฟองศรี (2549) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลกั สูตร คือ การวางแผนการจัดระบบ
ทางการศึกษาเกี่ยวกับมวลวิชา ประสบการณ์ต่างๆ การจัดการเรียนการสอนเพ่ือเป็นแนวทางสาหรับ
การปฏิบตั ใิ หผ้ ู้เรียนมคี ณุ ลักษณะตา่ งๆทพ่ี ึงประสงค์ตามจุดมงุ่ หมายของหลักสตู ร

วารีรัตน์ แก้วอไุ ร (2549) ใหค้ วามหมายของหลกั สูตรไวว้ ่า หลักสูตรสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย
การเรียนรู้และประสบการณ์อื่น ๆ ที่สถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนาผู้เรียน โดยจะต้องจัดทา
สาระการเรียนรู้ท้ังรายวิชาท่ีเป็นพื้นฐานและรายวิชาท่ีต้องการเรียนเพ่ิมเติมเป็นรายปีหรือรายภาคจัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละปีหรือภาคและกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากจุดหมายของ
หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

จากความหมาย สรุปได้ว่า หลักสูตร หมายถึง เน้ือหาสาระที่จัดไว้เป็นระบบ หรือมวล
ประสบการณ์ความรู้ต่าง ๆ ที่จัดให้ผู้เรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนท้ังในและนอกห้องเรียนซึ่ง
จัดให้กับผู้เรียนเพื่อให้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะคุณธรรมและ
พัฒนาการทางดา้ นตา่ ง ๆ ตามจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา

2.1.2 ควำมสำคัญของหลักสตู ร
หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอันสาคัญย่ิงอย่างหน่ึงของการจัดการศึกษา เพราะในการจัด
การศึกษาที่จะบรรลุเป้าหมายได้น้ันต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเคร่ืองมือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายโดยช้ีนา
ทางในการจัดความร้แู ละประสบการณ์แก่ผ้เู รยี นซึ่งครูตอ้ งปฏบิ ัตติ ามเพ่ือให้ผู้เรยี นได้รบั การศึกษาที่ม่งุ สู่
จดุ หมายเดยี วกันหลักสูตรจึงเป็นหวั ใจสาคัญของการศึกษา นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องชี้ถงึ ความเจริญของ
ชาติ เนื่องจากเป็นตัวกาหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศด้านอ่ืนๆ ซ่ึงมี
นกั วิชาการได้กลา่ ว ดังนี้
เสาวนี ตรพี ุทธรตั น์ (2551) ได้กล่าวว่า หลักสูตรเป็นแนวทางในการจดั การศึกษา และถือเป็น
เครื่องมือในการถ่ายทอดเจตนารมณ์หรือเป้าหมายของชาตสิ ู่การปฏิบัติดังนั้นหลักสูตรจึงเปรียบเสมือน
เข็มทิศท่ีคอยกาหนดและบอกทิศทางการศึกษาว่า ควรเดินไปในทิศทางใด และเดินอย่างไรจึงจะถึง
เปา้ หมายที่กาหนด

ดงั นัน้ หลักสตู รจงึ เป็นหวั ใจของการศึกษา ซ่งึ มีความสาคัญดังน้ี
1) หลกั สูตรเป็นเคร่อื งมอื ในการพฒั นาคน
2) หลักสตู รเปน็ เครื่องมือบ่งชี้ถงึ ความเจรญิ ของประเทศ
3) หลักสตู รเปน็ เกณฑม์ าตรฐาน
4) หลักสตู รเปน็ หลกั และแนวทางปฏิบตั ขิ องครู
5) หลกั สูตรมีความสาคญั ตอ่ การเรยี นการสอน

สุนีย์ ภพู่ ันธ์ (2546) ได้กล่าวถงึ ความสาคญั ของหลกั สตู ร สรปุ ไดด้ งั นี้
1) หลักสูตรเป็นแผนและแนวทางในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้บรรลุผลสาเร็จตาม

นโยบายและเป้าหมาย
2) หลักสูตรเป็นตัวกาหนดขอบเขตเนื้อหา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การ

ประเมินผลและแหล่งทรัพยากรในการจดั การศกึ ษา
3) หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและ

คุณภาพของผู้เรียนให้สอดคล้องตามนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติและความต้องการ
ท้องถิน่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 10

4) หลักสูตรเป็นแนวทางในการส่งเสริมความเจรญิ งอกงามและพัฒนาการของเด็กตาม
จดุ มุ่งหมายของการศึกษา

5) หลักสูตรเปน็ แนวทางในการจัดสรรงบประมาณ สถานท่ี นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
จาเป็นต้อการจัดการศกึ ษา

6) หลักสูตรเป็นตัวกาหนด ลักษณะของผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตของการศึกษาในด้าน
ความรู้ความสามารถ ความประพฤติทักษะ และเจตคติของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในสังคมและบาเพ็ญ
ตนให้เปน็ ประโยชนต์ ่อชุมชนและชาติบ้านเมือง

สรุปได้ว่า หลักสูตรเป็นหัวใจสาคัญในการจัดการศึกษา เพราะหลักสูตร เป็นแนวทาง
ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ทางดา้ นพฤติกรรมและเจตคตทิ ่ีดีงามใหเ้ กดิ กับผูเ้ รียนตามจดุ มุ่งหมายของการจดั การศึกษา

2.1.3 กำรพัฒนำหลกั สูตร
การพัฒนาหลักสูตรเป็นภารกิจที่สาคัญ ซง่ึ สุนีย์ ภู่พนั ธ์ (2546) ได้กล่าวเก่ียวกับเร่ืองนี้ว่า การ
พัฒนาหลักสูตรเกิดข้ึนได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปล่ียนแปลงหลักสูตร การปรับปรุงเป็น
การเปลีย่ นแปลงเพียงบางสว่ น เพือ่ ให้เหมาะสมกบั โรงเรียนหรือระบบโรงเรยี น จุดมุง่ หมายของการสอน
วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งประเมินผลโดยไม่เปลี่ยนแนวคิดพื้นฐานหรือรูปแบบหลักสูตร ส่วนการ
เปล่ียนแปลง หมายถึง การแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิมเป็นการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบ การ
พัฒนาหลักสูตรมีรูปแบบและขน้ั ตอน ตัง้ แต่ ศกึ ษาวิเคราะห์ความต้องการของผูเ้ รียนและสังคม กาหนด
จุดมุ่งหมาย การเลือกเน้ือหา สาระ การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ การคัดเลือกประสบการณ์ การเรียนรู้
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้และกาหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมินผล แนวทางการจัด
หลักสูตรของสถานศึกษา สามารถกาหนดเป็นขั้นตอนการดาเนินงานได้ตามลาดับ ดังน้ี (ธีรชัย เนตร
ถนอมศักด,์ิ 2544)

ข้นั ท1ี่ : ศกึ ษาขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ข้ันท2่ี : การกาหนดหรอื ทบทวนวิสัยทศั น์ภารกจิ เป้าหมาย
ข้ันท3่ี : กาหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ขัน้ ท4่ี : การกาหนดสัดสว่ นเวลาเรียน
ข้ันที่5 : วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีหรือรายภาคจากมาตรฐานการเรียนรู้
ช่วงชนั้
ขั้นท6ี่ : กาหนดสาระการเรยี นรใู้ นแตล่ ะกลมุ่ สาระเปน็ รายปีหรอื รายภาค
ขัน้ ท7ี่ : การจัดทาคาอธิบายรายวิชา
ขั้นท8ี่ : การจัดหนว่ ยการเรยี นรู้
ขน้ั ท9่ี : การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้
การพัฒนาหลกั สตู รเป็นส่ิงสาคัญท่ีนักวิชาการ หรือครู ต้องดาเนินการ เพื่อปรับพัฒนา
ให้เขา้ กับสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป และต้องดาเนินการอย่างมีขั้นตอน ซึ่งสามารถพัฒนาได้ทั้งก่อนการนา
หลกั สูตรไปใช้ระหว่างการดาเนินการใชห้ ลกั สูตร หรือหลงั การใชห้ ลักสตู รเสรจ็ สนิ้
2.1.4 กำรนำหลักสตู รไปใช้
การใช้หลักสูตรเป็นขั้นตอนของการน าหลักสูตรแกนกลางสู่การปฏิบัติโดยการนาอุดมการณ์
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เน้ือหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีกล่ันกรองอย่างดี แล้วไปสู่การ
พัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการนาจุดหมายหลักสูตร เน้ือหาประสบการณ์การเรียนรู้ที่จัดทาไว้ไปจัด

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 11

ประสบการณ์และกิจกรรมใหก้ ับผู้เรียน นักพฒั นาหลกั สตู รต่างยอมรบั และใหค้ วามสาคัญแกข่ น้ั ตอนการ
ใช้หลกั สูตรวา่ เป็นข้ันตอนทส่ี าคัญยิง่ ในกระบวนการพัฒนาหลกั สูตร (ร่งุ นภา นุตราวงศแ์ ละคณะ, 2552)

โบซอง (Beauchamp, 1962) กล่าวว่า การใช้หลักสูตรเป็นการนาหลักสูตรที่จัดทาแล้ว
สู่การปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ เป็นขั้นตอนท่ีท้าทายต่อ
ความสาเร็จของหลกั สตู ร

ศรีสมร พุ่มสะอาด (2544) กล่าวว่า การนาหลักสูตรไปใช้เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องท่ี
ครอบคลุมงานที่สาคญั 3 ดา้ น คือ

1) การวางแผนหรือเตรียมการก่อนการนาหลักสูตรไปใช้ซ่ึงต้องเกี่ยวข้องกันท้ัง
บุคคล กระบวนการทางาน ทรัพยากร ครูต้องมีทักษะในการใช้หลักสูตร รวมถึงทักษะเก่ียวกับ
ยทุ ธศาสตร์การเรียนการสอนการปกครองชั้นเรียน และการวัดและประเมินผลการเรียน และต้องเข้าใจ
ทฤษฎีท่เี ก่ยี วขอ้ งดว้ ย

2) การนาหลักสตู รไปใช้เป็นกิจกรรมสาคัญทกี่ ่อให้เกิดความสาเร็จของหลักสูตร
ทั้งน้ีต้องสนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การวดั และประเมินผล การแนะแนว การผลิตและใช้สอ่ื

3) การประเมินการนาหลักสูตรไปใชเ้ ป็นกจิ กรรมท่ีตอ้ งกระทา ต่อเน่อื งกันตง้ั แต่
การวางแผนจดั ทาหลกั สูตร จนกระทั่งได้หลักสูตรซึ่งเปน็ แม่บทจนถึงนาหลกั สูตรไปใช้ และมีการตดิ ตาม
ประเมินผลเพ่ือตรวจสอบสเตนเฮาส์ (Stenhouse, 1980) ผู้เช่ียวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรได้ให้
มุมมองเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรว่า เป็นกระบวนการที่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนแนวคิด และปฏิสัมพันธ์
ของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ และผู้ท่ีมีบทบาทอย่างแท้จริงในความสาเร็จของหลักสูตร คือ ผู้ใช้
หลักสูตรซึ่งจะต้องเป็นผู้ท่ีสามารถปรับใช้หลักสูตรให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทสภาพแวดล้อมของ
ตนเอง

สงดั อุทรานันท์ (2532) ไดแ้ สดงความคิดเกย่ี วกับการใช้หลกั สตู รว่าเปน็ ข้ันตอน
ท่ีมีความสาคัญในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร เพราะสามารถบ่งชี้ถึงความสาเรจ็ หรอื ความลม้ เหลวของ
หลักสูตรได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าหลักสูตรจะได้รับการออกแบบไว้อย่างดีเพียงใดก็ตาม ถ้าหากการใช้
หลักสูตรดาเนินไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ หรือไม่ดีเพียงพอ ความล้มเหลวของหลักสูตรก็จะบังเกิดข้ึน
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้กระบวนการใช้ หลักสูตรเป็นส่ิงที่มีความยุ่งยากซับซ้อน เพราะจะต้องมีการ
ดาเนินงานทเี่ กี่ยวข้องกบั หน่วยงานต่าง ๆ และบุคคลจานวนมาก

เคิร์ส และวอร์คเกอร์ (Kirst &Walker, 1971) กล่าวว่าการใช้หลักสูตรจะต้อง
เก่ียวข้องและประสานงานกับบุคคลต่าง ๆ ในหลายระดับท้ังระดับชาติระดับท้องถ่ิน และระดับ
สถานศึกษา ซึ่งต่างฝ่ายต่างมีความเข้าใจ ความคิดเห็นและมีบทบาทแตกต่างกันไป เช่น เดียวกับ ไอซ์
เนอร์และ ฮาสส์ (Eisner, 1985; Hass, 1987) ที่แสดงความเห็นว่าในการนาหลักสูตรที่จัดทาเสร็จ
เรียบร้อยแล้วไปใช้น้ัน จนต้องดาเนินงานร่วมกันหลายฝ่าย ทั้งหน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับ
ท้องถ่ิน และสถานศึกษา การจะดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายจึงไม่ใช่เรื่องง่าย และมีหลายกรณีท่ีพบว่า
ผใู้ ช้หลักสูตรนน้ั ดาเนินการไปในทศิ ทางท่ีแตกต่างไป จากเจตนารมณ์ของคณะผอู้ อกแบบจดั ทาหลักสูตร
(Reinmannand & Mandl, 1999) ดังน้ันจะเห็นได้ว่าขั้นตอนในการนาหลักสูตรไปใช้นั้น เป็นขั้นตอนท่ี
สาคัญและมีความซับซ้อน จะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลต่าง ๆ เป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการวางแผน
และเตรียมการในเร่ืองต่าง ๆ เป็นอย่างดีมีระยะเวลาท่ีเพียงพอในการดาเนินการ และท่ีสาคัญ คือ
ผ้เู ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยจะต้องมคี วามความเขา้ ใจอยา่ งชัดเจน จึงจะทาให้การใชห้ ลักสตู รประสบความสาเรจ็

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 12

2.1.5 กำรบรหิ ำรหลกั สตู ร
การบรหิ ารหลักสูตรเป็นกิจกรรมสาคัญ เป็นการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี นเกี่ยวกับการ
ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดีและมปี ระสิทธิภาพสูงสุด

วิชัย วงษใ์ หญ่ (2535) กล่าวถึงการบรหิ ารหลกั สูตรไว้วา่ เป็นกระบวนการต่อเน่ืองของ
วงจรการพัฒนาหลักสูตรอัน ได้แก่ การดาเนินการตามแผนการต่าง ๆ เช่น การจัดโปรแกรมการเรียน
การสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเตรียมคู่มอื สาหรับการเรียน การเตรียมความพรอ้ มของ
ครู การนิเทศกากับดูแล และการประเมินผลการเรียนซึ่งสอดคล้องกับ นักวิชาการศึกษาหลายท่านท่ีได้
เสนอขอบเขตการบรหิ ารหลกั สูตรที่สอดคล้องกนั สามารถสรุปได้ ดังน้ี

1) งานบริหารและการบริการหลักสตู ร ซงึ่ เก่ยี วกับงานเตรยี มบุคลากร การจัด
ครูเข้าทาการสอนตามหลักสูตร การบริหารและบริการวัสดุ หลักสูตรการบริหารหลักสูตรภายใน
โรงเรยี น

2) งานดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ประกอบด้วย การปรับปรุง
หลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น การจัดทาแผนการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน

3) งานสนับสนุนสง่ เสรมิ การใช้หลักสตู ร การนเิ ทศการศกึ ษา และการตั้งศูนย์
การบรกิ ารเพ่อื สนับสนนุ การศึกษา

2.2. สำระสำคัญเกี่ยวกบั หลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน พุทธศักรำช 2551
กระทรวงศึกษาธิการ (2552) ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช

2551 เพื่อให้ท้องถ่ินและสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้มี
คุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหา
ความรเู้ พือ่ พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ มีรายละเอยี ดโดยสรปุ ดังน้ี

2.2.1 วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น
มนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล
โลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความรู้และ
ทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดย
มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ
2.2.2 หลักกำร
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มีหลักการท่ีสาคญั ดงั นี้

1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเปน็ ไทยควบค่กู บั ความเปน็ สากล

2) เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รบั การศกึ ษาอย่าง
เสมอภาค และมีคุณภาพ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 13

3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น

4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้เวลาและการ
จดั การเรียนรู้

5) เปน็ หลักสูตรการศึกษาทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรแู้ ละประสบการณ์

2.2.3 จุดหมำย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีปัญญามีความสุขมี
ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ดงั นี้

1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

2) มีความร้คู วามสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี
ทกั ษะชวี ติ

3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดมี สี ุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4) มคี วามรกั ชาติ มีจติ สานกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชวี ิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มคี วามสขุ
2.2.4 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซง่ึ จะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดงั น้ี
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้
1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน
การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรอง
เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสงั คม
2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์
ความรู้หรอื สารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 14

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ตา่ งๆ ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศเข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน
ตอ่ ตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม

4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง การทางาน และการอยู่
รว่ มกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้ง
ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อม และการรู้จัก
หลีกเลยี่ งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้
การส่อื สาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอัน
พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก (world
citizen) ดงั นี้

1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของ
ชาตดิ ารงไวซ้ ึง่ ความเป็นชาติไทย ศรทั ธา ยึดมนั่ ในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์

2) ซ่ือสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง
ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผูอ้ ืน่ ทั้งทางกาย วาจา ใจ

3) มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และ
ระเบยี บข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรียนและสงั คม

4) ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียน
แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรูท้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

5) อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่าง
พอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีและปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ

6) มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความต้ังใจและรับผิดชอบ
ในการทาหน้าท่ี การงาน ดว้ ยความเพียรพยายาม อดทน เพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

7) รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า
ร่วมอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ
สื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

8) มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือ
สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้นโดยไม่หวัง
ผลตอบแทนสถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบรบิ ทและ
จดุ เน้นของตนเอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 15

2.2.5 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน จงึ กาหนดใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนร้พู ืน้ ฐาน ได้แก่
ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กา หนดมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมาย สาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งท่ีผู้เรยี นพึงรู้
ปฏิบัติได้มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากนั้น
มาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการ
เรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไรและประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือใน
การตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ซง่ึ รวมถึงการทดสอบระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ
2.2.6 ตวั ชีว้ ดั
ตัวชี้วัดระบุส่ิงที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นซ่ึง
สะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนด
เน้ือหาจัดทาหน่วยการเรียนรู้จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพื่อ
ตรวจสอบคณุ ภาพผเู้ รียน

1) ตัวชี้วัดชั้นปีเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับการศึกษาภาค
บังคบั (ประถมศึกษาปีท่ี 1 – ประถมศกึ ษาปีท่ี 6)

2.7 กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือ
ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลูกฝงั และสรา้ งจติ สานึกของการทาประโยชน์เพือ่ สงั คมสามารถจัดการตนเอง
ไดแ้ ละอยู่รว่ มกบั ผอู้ น่ื อยา่ งมีความสุข กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น แบ่งเปน็ 3 ลักษณะ ดงั น้ี

1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์
ส่ิงแวดล้อมสามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และ
อาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็น
กิจกรรมท่ชี ่วยเหลือและใหค้ าปรกึ ษาแกผ่ ้ปู กครองในการมีสว่ นร่วมพัฒนาผเู้ รียน

2) กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นา และ
ผู้ตามท่ีดีความรับผิดชอบการทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล
การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน
ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม
และสอดคล้องกบั วุฒภิ าวะของผ้เู รยี นบริบทของสถานศกึ ษาและท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย

(1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์และนักศึกษา
วิชาทหาร

(2) กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 16

(3) กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้
ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร
เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสา
พัฒนาตา่ งๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม
2.3. หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวรำรำม (เจริญผลวิทยำเวศม์) พุทธศักรำช 2562 (ฉบับปรับปรุง
2561)

2.3.1 หลกั การ
หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้พัฒนาข้ึนจากหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตรท้องถ่ินของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพท่ีสุจริต ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดย
มุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จาเป็น
สาหรับการดารงชีวิตตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้การจัด
การศึกษาข้ันพื้นฐานสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม
และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคนของชาติ ให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 ในโลก
ศตวรรษที่ 21 และทัดเทยี มกับนานาชาติ ผู้เรยี นมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวติ อย่างสร้างสรรค์
ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แทนมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เงอื่ นไขและระยะเวลาการใช้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ให้เปน็ ไปดงั น้ี
1. ปีการศึกษา 2561 ให้ใชใ้ นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 และชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 และ 4
2. ปกี ารศกึ ษา 2562 ให้ใชใ้ นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1,2,4 และ 5 และชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1,2
4,5
3. ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป ให้ใช้ในทุกชั้นเรียน ดังนั้น โรงเรียนวัดชินวราราม
(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ จงึ มกี ารพัฒนาปรับปรงุ หลักสูตร ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551
2.3.2 จุดหมำย
หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุข มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึง
กาหนดเป็นจดุ หมายเพือ่ ให้เกิดกับผู้เรยี น เมอื่ จบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ดังนี้

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 17

2.3.2.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม ตามโครงสร้างเวลา
เรียนทหี่ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด

2.3.2.2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด

2.3.2.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด

2.3.2.4 ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด

2.3.2.5 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด

สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง
การศกึ ษาสาหรับผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ การศึกษาทางเลือก การศกึ ษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตาม
อัธยาศัย ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สาหรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ

2.3.3 วิสัยทศั น์โรงเรียน
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) เป็นแหล่งเรียนรู้ ปลูกฝังการอนุรักษ์

ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้ผูเ้ รียนเป็นคนดมี ีคุณธรรม จริยธรรม มีวิชาความรู้ท่ีได้มาตรฐานการทนั กระแสโลก
ปจั จุบนั สามารถอย่ใู นสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.3.4 สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2562 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั น้ี

2.3.4.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและ
ส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ัง
การเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อ
ตนเองและสังคม

2.3.4.2 ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การ
สร้างองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

2.3.4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและ
อปุ สรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 18

ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อ
ตนเอง สังคม และส่งิ แวดล้อม

2.3.4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนา
กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ
ทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา
และความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ื่น

2.3.4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และ
ใช้เทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ใน
ดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสม และมคี ุณธรรม

2.3.5 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
ดงั น้ี

1) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2) ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต
3) มวี นิ ัย
4) ใฝเ่ รียนรู้
5) อยู่อย่างพอเพยี ง
6) มุ่งมนั่ ในการทางาน
7) รกั ความเป็นไทย
8) มีจิตสาธารณะ
ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1) มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2) ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในส่งิ ทีด่ งี ามเพ่ือส่วนรวม
3) กตัญญตู อ่ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4) ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรียน ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม
5) รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม
6) มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีต่อผอู้ นื่ เผื่อแผ่และแบ่งปัน
7) เขา้ ใจเรียนรกู้ ารเปน็ ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขอันถกู ต้อง
8) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผ้ใู หญ่
9) มีสติ ร้ตู ัว รู้คิด รูท้ า ร้ปู ฏิบัตติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
10) รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย
จาหนา่ ย และพร้อมที่จะขยายกิจการเม่อื มีความพร้อม เมื่อมีภมู ิค้มุ กันทด่ี ี
11) มีความเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มี
ความละอายเกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 19

12) คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวมและของชาติ มากกวา่ ผลประโยชน์ของตนเอง
2.3.6 กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียนโรงเรยี นวัดชินวรำรำม(เจรญิ ผลวิทยำเวศม์)
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นเป็นกิจกรรมทีส่ ถานศกึ ษาจดั ไว้ใหผ้ ู้เรียนเขา้ รว่ มตามความถนัดและความ
สนใจตามศักยภาพของตนเอง โดยเน้นการพัฒนาแบบองค์รวมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาครอบคลุมท้ัง
ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เพื่อส่งเสริมสนับสนุนความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และ
สามารถบริหารการจัดการตนเองได้กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น แบง่ เป็น 3 ลักษณะ ดังน้ี

1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับ
ความสามารถความถนัดและความสนใจโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยกระบวนการทาง
จติ วิทยาการแนะแนวให้ครอบคลุมด้านการศึกษา อาชีพส่วนตัวและสังคม กิจกรรมสาคัญในการพัฒนา
ได้แก่ กิจกรรมการรู้จักเข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน กิจกรรมการปรับตัวและดารงชีวิต
กจิ กรรมแสวงหาและใชม้ ูลสารสนเทศกิจกรรมการตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา เปน็ ต้น

2) กจิ กรรมนกั เรียน
(1) กิจกรรมชุมนุม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับ

ความสามารถความถนัด และความสนใจ โดยเน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยตนเองต้ังแต่การศึกษาวิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มกิจกรรม
สาคัญในการพัฒนา ได้แก่ชุมนุมหรือชมรมต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้นตามความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับวฒุ ิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาและท้องถนิ่

(2) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีเป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย
ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดีความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม
ความมเี หตุผล การช่วยเหลือแบง่ ปนั กัน การประนีประนอม เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นเจรญิ เตบิ โตเป็นผูใ้ หญ่
ที่มคี วามสมบรู ณ์พร้อมทงั้ ด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณส์ ังคมและสติปัญญา เป็นต้น

3) กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ และให้ผเู้ รียนได้ทา
ประโยชน์ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพ่ือแสดงถึงความ
รับผิดชอบ ความดีงามความเสียสละต่อสังคม มีจิตใจมุ่งทาประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม
กิจกรรมสาคัญได้แก่ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมดารงรักษา สืบสาน
ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม กิจกรรมพฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสงั คมเปน็ ตน้

2.3.7 กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือการ
ประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้
ประสบผลสาเร็จนั้นผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลัก ใน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขต
พ้ืนที่การศึกษาและระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จ
ทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและ
เรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้น
เรียน ระดับสถานศกึ ษา ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอียด ดงั น้ี

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 20

1) การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจดั การเรยี นการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/
ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผเู้ รียน
ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพ่ือน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวช้ีวัดให้มีการสอนซ่อม
เสรมิ การประเมินระดับช้ันเรยี นเป็นการตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงที่จะต้องได้รับการ
พฒั นาปรับปรุงและส่งเสรมิ ในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลใหผ้ ู้สอนใช้ปรบั ปรุงการเรียนการสอนของ
ตนดว้ ย ทงั้ นโี้ ดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ดั

2) การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตัดสิน
ผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากน้ี เพื่อให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้ง
สามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติผลการประเมินระดับ
สถานศกึ ษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพอื่ การปรบั ปรงุ นโยบาย หลักสูตรโครงการ หรอื วิธกี ารจดั การ
เรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการ
ประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจดั การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ผูป้ กครองและชมุ ชน

3) การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขต
พ้ืนที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูล
พ้ืนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบสามารถ
ดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทา และดาเนินการโดย
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหนว่ ยงานต้นสังกัด ในการดาเนนิ การจัดสอบ นอกจากนี้ยัง
ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา

4) การประเมินระดับชาติเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรยี นในชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ
เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศข้อมูลการประเมินใน
ระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม
สนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรยี นได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบคุ คลที่จาแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แกก่ ลุ่มผเู้ รียนทว่ั ไป กลุ่มผูเ้ รยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรยี นท่ี
มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนต่า กลุม่ ผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวนิ ัยและพฤติกรรม กลมุ่ ผู้เรียนท่ีปฏิเสธโรงเรียน
กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจาก
การประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาและประสบความสาเรจ็ ในการเรียนสถานศึกษาในฐานะผู้รบั ผิดชอบจัดการศึกษา
จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไป

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 21

ตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้
บคุ ลากรทเ่ี กี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยถอื ปฏิบัติร่วมกัน

3.8 เกณฑก์ ำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรียน
3.8.1 กำรตัดสนิ กำรให้ระดับและกำรรำยงำนผลกำรเรยี น
1) การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้

การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้อง
คานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและ
ต่อเนือ่ งในแต่ละภาคเรยี นรวมทงั้ สอนซ่อมเสริมผูเ้ รียนให้พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพระดับประถมศึกษา

(1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
ทงั้ หมด

(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากาหนด

(3) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตาม
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รยี น
3.8.2 เกณฑก์ ำรจบกำรศกึ ษำ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบ
การศึกษาเป็น 1 ระดบั คอื ระดับประถมศกึ ษา
1) เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม ตามโครงสร้าง
เวลาเรยี นทีห่ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานกาหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐานผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
การประเมินตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู้เรียนมีผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 22

โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดชนิ วราราม(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ โครงสร้างเวลาเรยี น ระดับประถมศึกษา

เวลำเรียน : ช่ัวโมง/ปี

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้/รำยวชิ ำ/กจิ กรรม ระดับประถมศึกษำ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้/วิชำพื้นฐำน

ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160

คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80

-หน้าที่พลเมือง

ประวตั ิศาสตร์ 40 40 40 40 40 40

สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40

ศิลปะ 80 80 80 80 80 80

การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40

ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 160 160 160

รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) 840 840 840 840 840 840

 รำยวิชำเพ่มิ เติม

ภาษาต่างประเทศ 80 80 80 40 40 40

เทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) 40 40 40 40 40 40

รวมเวลาเรียน (รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ) 120 120 120 80 80 80

 กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น

 กจิ กรรมแนะแนว* 40 40 40 40 40 40

 กิจกรรมนักเรยี น

 ลูกเสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 40

 ชมุ นมุ ** 30 30 30 30 30 30

 กิจกรรมเพ่ือสังคม

และสาธารณประโยชน์*** 10 10 10 10 10 10

รวมเวลา (กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น) 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาทัง้ หมด 1,080 ชั่วโมง 1,040 ชัว่ โมง

*ตา้ นทจุ ริตศึกษา **กจิ กรรมชมุ นุมนักเรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ ไดแ้ ก่

1. ชมุ นมุ ห้องสมดุ หรรษา 2. ชมุ นุมพัฒนาความเป็นเลิศวิชาการ

3. ชมุ นมุ กฬี า 4. ชุมนุมส่ิงประดษิ ฐ์

5. ชุมนมุ การงานอาชีพ

***กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ บูรณาในกจิ กรรมชมุ นุม

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับกำรประเมินหลักสูตร

ไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ (2544) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินหลักสูตรเป็นส่วนท่ีมี

ความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อคุณภาพของหลักสูตร ทั้งน้ีเพราะการประเมินหลักสูตรจะทาให้รู้

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 23

คุณค่าของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไร ข้อมูลที่ได้จากการประเมินหลักสูตรจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการ
ปรับปรงุ หลักสูตรใหม้ ีคุณค่าสูงข้ึนอันจะเป็นผลในการนาหลกั สูตรไปส่คู วามสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีวางไว้
โดยสะดวก

2.4.1 ความหมายของการประเมินหลกั สตู ร
ได้มีนักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรไว้ต่าง ๆ กัน

ดงั นี้ คอื
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551) ได้ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรไว้ว่า

หมายถึง การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน เพื่อพิจารณา
เก่ียวกับคุณค่าของหลักสูตรและการเรียนการสอนว่ามีคุณภาพดีหรือไม่อย่างไร มีส่วนใดบ้างที่ต้อง
ปรับปรงุ

ใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์ (2539) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตร เป็นการรวบรวมและ
วิเคราะห์ข้อมูลแล้วนาข้อมูลมาใช้ในการตัดสินหาข้อบกพร่องหรือปัญหา เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไข
สว่ นประกอบทุกสว่ นของหลกั สูตรใหม้ คี ุณภาพดยี ่งิ ข้ึน หรอื ตดั สินหาคุณคา่ ของหลักสตู รนัน้ ๆ

ประชุม รอดประเสริฐ (2539) กล่าวว่า การประเมินนั้นเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาท้ังน้ี
เพราะว่าคนเราจะต้องประสบกับการตัดสินใจอยู่ตลอด และในการตัดสินใจน้ันจาเป็นจะต้องอาศัย
ข้อมูล กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ช่วยในการตัดสินใจเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด อย่างไรก็ตามการประเมินใน
ลักษณะเช่นน้ียังเป็นการประเมินแบบท่ีไม่มีระบบ หรือแบบแผนท่ีแน่นอน การตัดสินใจมักจะใช้
ประสบการณ์เดิมของตนเองเป็นเกณฑ์ ดังนั้น ถ้าการตัดสินใจเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีมีความสลับซับซ้อนมี
ผลกระทบจากการตัดสินใจสูงและเก่ียวข้องกับบุคคล หรือกลุ่มคนเป็นจานวนมาก การตัดสินใจน้ัน
จะต้องมีประสทิ ธิภาพและเป็นระบบ มีความน่าเชื่อถือและไดร้ ับการยอมรบั จากทุกฝา่ ย จึงจะทาให้การ
ตัดสินใจถกู ต้อง วิธีการ เช่นน้ี เรยี กวา่ การประเมินผลอย่างมรี ะบบ

เยาวดี รางชัยกุล (2553) สรุปว่า การประเมินผลค่าที่ใช้ในการอธิบายและตัดสิน
คุณสมบัติบางอย่างของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล รวมท้ังกระบวนการและโครงการต่าง ๆ นั้นคือ
กระบวนการประเมนิ ผล ประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขัน้ ตอน คอื

1. การเลือกสิ่งที่ต้องการประเมิน
2. การพัฒนาและใช้กระบวนการเพ่ืออธิบายสิ่งท่ีต้องการประเมินนั้นอย่าง
ถกู ต้อง
3. การสังเคราะห์หลักฐานท่ีเป็นผลจากกระบวนการเหล่านี้ไปสู่การตดั สินใจข้ัน
สุดทา้ ย
ลัดดาวลั ย์ เพชรโรจน์ (2549) ได้ใหค้ วามหมายของการประเมนิ หลักสตู รไว้วา่ เป็น
กระบวนการหาคาตอบว่า หลักสูตรมีผลสัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้หรือไม่และมากน้อย
เพียงใด โดยมีการจัดการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลจากหลายองค์ประกอบได้แก่
การวิเคราะหจ์ ากกระบวนการการนาหลกั สูตรไปใช้วิเคราะห์ผล จากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
เม่ือวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจะต้องนาเสนอข้อมูลเพื่อตัดสินใจหรือควรเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือเลือก
วิธีใหม่
กูด๊ (Good, 1973) กล่าววา่ การประเมินหลักสูตร คือ การประเมินผลของกิจกรรม
การเรียนภายในขอบข่ายของการสอนท่ีเน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจในความถูกต้องของ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 24

จุดหมาย ความสัมพันธ์และความต่อเน่ืองของเนื้อหา และผลสัมฤทธ์ิของวัตถุประสงค์เฉพาะซึ่งนาไปสู่
การตัดสนิ ใจในการวางแผน

จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมินหลักสูตร หมายถึง การประเมิน
องค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด และเม่ือได้นาหลักสูตรไปใช้แล้ว
บรรลวุ ัตถุประสงคต์ ามท่ีต้องการหรือไม่ โดยในการประเมนิ หลักสตู รจะใช้เคร่ืองมือชนิดต่างๆ ท่ีมีความ
เหมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เช่น แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสนทนากลมุ่ เป็นต้น ท้ังน้ี
ผลท่ีไดจ้ ากการประเมินจะถูกนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู รให้มคี วามเหมาะสมยิ่งขนึ้ ต่อไป

2.4.2 จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร โดยทั่วไป การประเมินหลักสูตรใด ๆ ก็ตาม
จะมีจดุ มุ่งหมายสาคัญท่ีคลา้ ยคลึงกัน ดงั น้ี (ไพโรจน์ เตมิ เตขาตพิ งศ,์ 2544)

2.4.2.1 เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขส่ิงบกพร่องที่พบในองค์ประกอบต่างๆ ของ
หลักสูตรเพ่ือท่ีจะพิจารณาว่าองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรมีความเหมาะสมและสอดคล้องหรือไม่
มีปัญหาอุปสรรคอะไร จะได้เป็นประโยชน์แก่นักพัฒนาหลักสูตรและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการปรับปรุง
เปลย่ี นแปลงองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลกั สตู รให้มคี ุณภาพดขี ึน้ ไดท้ ันท่วงที

2.4.2.2 เพื่อหาทางปรับปรงุ แก้ไขระบบการบรหิ ารหลักสตู ร
2.4.2.3 เพ่ือช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือ
ควรยกเลิกการใช้หลกั สูตรเพียงบางส่วนหรอื ยกเลิกทงั้ หมด
2.4.2.4 เพื่อต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซ่ึงเป็นผลผลิตของหลักสูตรว่ามี
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมไปตามความมุ่งหวงั ของหลักสูตรหรอื ไม่
2.4.3 ระยะของการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรท่ีดจี ึงต้องตรวจสอบเป็นระยะ
เพอื่ ลดปัญหาท่ีอาจเกิดขน้ึ โดยท่ัวไปจะแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
2.4.3.1 การประเมินหลักสตู รก่อนนาหลักสตู รไปใช้
2.4.3.2 การประเมนิ หลกั สูตรระหว่างการดาเนนิ การใช้หลกั สูตร
2.4.3.3 การประเมนิ หลักสูตรหลังการใช้หลกั สูตร
2.4.4 สิ่งท่ีต้องประเมินในเร่ืองหลักสูตร การประเมินความก้าวหน้า เพ่ือมุ่งการปรับปรุง
แก้ไขหลักสูตรในช่วงเวลาต่างๆ กันเป็นสาคัญ หรือจะเป็นการประเมินผลสรุป เพื่อมุ่งการตัดสินว่า
หลักสูตรนั้นควรดาเนินต่อหรือยกเลิก ควรมีการประเมินให้ต่อเนื่องกัน ดังนั้น การประเมินหลักสูตรจึง
ประกอบด้วยการประเมนิ สิง่ ดงั ตอ่ ไปนี้
2.4.4.1 การประเมินเอกสารหลักสูตร เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ
องค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรว่าจุดหมายจุดประสงค์ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ และวิธีการวัดและ
ประเมินผลนักเรียนมีความสอดคล้องเหมาะสม ครอบคลุม และถูกต้องตาม หลักการพัฒนาหลักสูตร
หรือไม่ ภาษาที่ใช้สามารถสื่อให้เข้าใจและมีความชัดเจนในการนาไปสู่การปฏิบัติหรือไม่การประเมิน
เอกสารหลักสูตรเป็นการการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรว่ามีความเหมาะสมดีและถูกต้องกับ
หลักการพัฒนาหลักสูตรเพียงใด การตรวจสอบเอกสารหลักสตู รอาจทาได้โดยวธิ กี ารดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การตรวจสอบโดยคณะพัฒนาหลักสตู ร
2) การตรวจสอบโดยผเู้ ช่ียวชาญ
3) การทดลองใชห้ ลกั สตู ร
การประเมินเอกสารหลักสูตรมักใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา และใช้วิธีให้ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่
เก่ียวข้องดาเนินการประเมิน นอกจากน้ียังสามารถใช้วิธีอื่นๆ เช่น การใช้การสัมภาษณ์การตอบ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 25

แบบสอบถาม โดยกาหนดรายการและระดับที่ต้องการประเมิน เป็นต้น แนวทางในการพิจารณา
ตรวจสอบหลักสูตรในการตรวจสอบหลักสูตรก่อนนาไปใช้อาจจะดาเนินการโดยสร้างเกณฑ์ในการ
ประเมินหลักสูตรข้ึนมาก่อน แล้วจึงนาเอาเกณฑ์ท่ีต้ังไว้นั้นไปทาการตรวจสอบคุณภาพของเอกสาร
หลักสูตรต่อไป แนวทางในการประเมินหลักสูตรทเี่ สนอโดยแพร็ท (Pratt, 1980)

1) จุดมุ่งหมายทว่ั ไป
2) เหตุผลและความจาเป็น
3) จุดมุ่งหมายเฉพาะ
4) เกณฑใ์ นการวดั พฤตกิ รรม
5) การประเมนิ ผลเพอื่ ใหค้ ะแนน
6) เน้อื หาสาระ
7) ลกั ษณะของผเู้ รยี น
8) การเรียนการสอน
9) การจัดการเกย่ี วกบั ความแตกตา่ งของผเู้ รยี น
10) รายละเอยี ดในการปฏบิ ัติ
11) การทดลองหลักสตู ร
12) การนาหลักสตู รไปใช้
13) ผลผลิต
2.4.4.2 การประเมินการใช้หลักสูตรเป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถ
นาไปใช้ได้ดีกับสถานการณ์จริงเพียงใดการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรทาอย่างไร มีปัญหา
อุปสรรคอะไรในการใช้หลักสูตร เพ่ือจะได้แก้ไขปรับปรุงให้ดีข้ึนและสามารถใช้หลักสูตรได้อย่างมี
ประสิทธผิ ลและประสิทธิภาพ
2.4.4.3 การประเมินผลสัมฤทธ์ิของหลักสูตรเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของ
ผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการและผลสัมฤทธิ์ท่ีไม่ใช่วิชาการ การประเมินผลสัมฤทธิ์
ของหลักสูตรเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วยสัมฤทธิผลทางวิชาการและ
สัมฤทธผิ์ ลท่ีไม่ใชท่ างวิชาการ
2.4.4.4 การประเมินระบบหลักสูตร เป็นการประเมินหลักสูตรในลักษณะที่มี
ความสมบูรณ์และมคี วามซับซ้อนมากการประเมินระบบหลักสูตรจะมีความเกยี่ วขอ้ งกับองค์ประกอบอื่น
ท่ีมีส่วนเกย่ี วข้องกบั หลักสูตรดว้ ย
2.4.5 ประโยชน์ของการประเมนิ หลกั สตู ร
2.4.5.1 ทาใหท้ ราบถงึ จุดดจี ุดเสียหลักสตู รท่ีสรา้ งหรือพฒั นาข้ึน
2.4.5.2 ชว่ ยสง่ เสรมิ และปรับปรงุ การสอนให้ดขี ้ึน
2.4.5.3 ชว่ ยในการส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
2.4.5.4 ช่วยในการปรบั ปรงุ การบรหิ ารในสถานศกึ ษา
2.4.5.5 ชว่ ยในการแนะแนวท้งั ดา้ นการเรยี นและอาชพี แกผ่ ูเ้ รยี น
2.4.5.6 ช่วยช้ใี ห้เห็นถึงคุณค่าของหลกั สูตรท่พี ฒั นา
2.4.6 ขน้ั ตอนในการประเมินหลักสตู ร
สมคิด พรมจุ้ย (2551) และบุญศรี พรหมมาพันธ์ุ (2551) ได้เสนอแนวคิด
เกี่ยวกบั ขัน้ ตอนการประเมนิ หลกั สตู ร ดังนี้

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 26

2.4.6.1 ข้ันกาหนดเป้าหมาย ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกาหนดส่ิงท่ีจะประเมิน
วัตถุประสงค์เป้าหมายของการประเมิน วิเคราะห์และทาความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายในการประเมินผู้
ประเมินต้องกาหนดว่า ตอ้ งการนาขอ้ มลู มาทาอะไร

2.4.6.2 ข้ันการวางแผนและออกแบบประเมิน การวางแผนเปรียบเสมือนเข็ม
ทิศท่ีจะนาไปสู่เป้าหมายการประเมิน หลังจากศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และผลงานประเมินที่
เก่ียวข้องแลว้ ผู้ประเมินต้องกาหนด กลมุ่ ตวั อย่าง แหลง่ ข้อมลู การเลือกเครื่องมอื วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูล
และกาหนดเกณฑใ์ นการประเมิน รวมทง้ั กาหนดเวลาในการดาเนินการขน้ั ต่างๆ

2.4.6.3 ขั้นดาเนินการ ผู้ประเมินเก็บรวบรวมข้อมูลตามกรอบการประเมินและ
ระยะเวลาทกี่ าหนดไว้

2.4.6.4 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ประเมินกาหนดวิธีการจัดระบบข้อมูล และ
พจิ ารณาเลอื กใชส้ ถิติใน การวิเคราะหท์ ่ีเหมาะสม โดยพิจารณาจุดประสงค์ของการประเมนิ และลกั ษณะ
ของข้อมลู โดยเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ทกี่ าหนดว่าสอดคล้องกันหรือไม่

2.4.6.5 ขัน้ รายงานผลการประเมิน เป็นการตีความหมายขอ้ มลู ทว่ี ิเคราะห์ และ
นาเสนอผลการประเมินโดยช้ีให้เห็นว่าหลักสูตรท่ีนาไปใช้มีคุณภาพหรือไม่ มีส่วนใดท่ีแก้ไขปรับปรุง
หรือยกเลิก

2.4.7 ปญั หาในการประเมินหลักสูตร
2.4.7.1 ปัญหาด้านการวางแผนการประเมนิ หลักสูตร
2.4.7.2 ปญั หาดา้ นเวลา
2.4.7.3 ปญั หาดา้ นความเชย่ี วชาญของคณะกรรมการการประเมินหลักสตู ร
2.4.7.4 ปัญหาด้านความตรงของของขอ้ มลู
2.4.7.5 ปญั หาด้านวิธกี ารประเมนิ
2.4.7.6 ปญั หาด้านการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ
2.4.7.7 ปัญหาดา้ นการประเมินหลักสตู รอย่างตอ่ เนื่อง
2.4.7.8 ปัญหาด้านเกณฑก์ ารประเมิน

2.4.8 แนวทางสาหรับการประเมนิ หลกั สตู ร มี 3 ลกั ษณะ คอื
2.4.8.1 การประเมินสัมฤทธ์ิผลของหลักสูตรเป็นแนวทางสาหรับการประเมิน

หลักสตู รทีม่ งุ่ เนน้ สมั ฤทธผิ์ ลทไี่ ดจ้ ากการใช้หลักสตู ร
2.4.8.2 การประเมินคุณค่าของหลักสูตร เป็นการประเมินเพ่ือดูว่าหลักสูตร

สามารถนาไปใช้ในสถานการณท์ ก่ี าหนดได้เพียงใดและไดผ้ ลตอบแทนท่ีคุ่มค่าหรือไม่
2.4.8.3 การประเมินในลักษณะการตัดสิน รูปแบบการประเมินหลักสูตรแบบนี้

จะมีความเช่อื พนื้ ฐานอยวู่ ่าหลักสูตรทีด่ คี วรจะสง่ ผลกระทบต่อการกระทาในอนาคต
2.5. กำรประเมินหลักสูตร

2.5.1 รูปแบบการประเมินหลกั สตู ร
ในเรื่องรูปแบบของการประเมินหลักสูตร ได้มีนักวิชาการซึ่งเชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตร
และการประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งสามารถนามาศึกษาเพ่ือเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ความต้องการ ในปัจจุบันรูปแบบของการประเมินหลักสูตรสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 27

2.5.1.1 รูปแบบของการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ ๆ เป็นการ
ประเมินผลก่อนนาหลักสูตรไปใช้ซ่ึงในกลุ่มน้ีจะเสนอรูปแบบที่เด่น ๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตร
ด้วยเทคนคิ การวิเคราะห์แบบปุยแซงค์(Puissance Analysis Technique)

2.5.1.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตร ซึ่งใน
กลมุ่ น้ีสามารถแบ่งเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย ๆ ไดเ้ ป็น 3 กล่มุ ดังนี้

1) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal
Attainment Model)

2) รูปแบบการประเมินหลักสูตรท่ีไม่ยึดเป้าหมาย (Goal Free
Evaluation Model)

3) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสินใจ (Decision
Making Model)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 28

บทที่ 3
วธิ ีกำรดำเนินกำรศกึ ษำ

การศกึ ษาครั้งนม้ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประเมนิ หลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์)
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพ่ือจัดทารายงานการใช้และพัฒนา
หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) การประเมินหลักสูตรในคร้ังน้ี คณะผู้ศึกษาได้
ดาเนินการ ดงั นี้

วธิ ีดาเนินการศกึ ษาคน้ คว้าเร่อื ง ศกึ ษาความพึงพอใจของคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัย ของหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ใน 3 ด้าน ดงั นี้

1. ประเมินด้านองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญ
ผลวิทยาเวศม)์

2. ประเมินด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรระดับกลุ่ม
สาระการเรียนร)ู้

3. ประเมนิ การใชแ้ ละพัฒนาหลกั สตู รจากผู้บรหิ ารและครผู สู้ อน
โดยรวบรวมความพึงพอใจของคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาข้อมูลจากการประเมิน
หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) และข้อเสนอแนะเพ่ือเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ
หลักสูตรไปใชใ้ นการพัฒนาหลักสตู รใหม้ ีความสมบูรณ์ยงิ่ ๆ ข้นึ ไปใน 3 ดา้ นตามลาดับ ดังตอ่ น้ี

1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
2. เคร่อื งมือและวิธกี ารสร้างเครื่องมือ
3. การเก็บรวมรวมข้อมูล
4. การจัดกระทาข้อมลู
5. การวิเคราะหข์ ้อมูล
6. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง
ประชำกร ท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าครงั้ นี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย

กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการและหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ ตัวแทนนกั เรยี น
กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน

คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทน
นักเรียน จานวน 25 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยใช้ตารางของทาโรยามาเน
(Toro Ymane) ของ จานวน 25 คน ท่ีระดับความเช่ือม่ัน 95 % ยอมให้เกิดความคลาดเคล่ือน
10% รายละเอียดดงั ตารางที่ 2

ตำรำงที่ 2 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของ ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน แยก
ตามสถานภาพ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 29

ตำแหนง่ /สถำนภำพ ผบู้ ริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
และหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ ตวั แทนนักเรียน
ผูบ้ ริหาร
คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย จานวน 25 คน
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ครปู ระจาช้ันระดบั การศึกษาขัน้ ประชำกร กลมุ่ ตัวอย่ำง

พ้ืนฐาน 11
ผแู้ ทนนักเรยี น
88
รวมท้ังสนิ้
88

22

66
25 25

2. เคร่อื งมือและวิธีกำรสร้ำงเครื่องมือ
เคร่อื งมือ

เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ เป็นแบบประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั ของหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) ทีผ่ ้ศู ึกษาสร้างขนึ้ เอง เป็น
แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งออกเปน็ 2 ตอน คือ

ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบ มีลักษณะเปน็ แบบสารวจรายการ
(Check – List)

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับประเมินความพึงพอใจ ของผู้บริหารโรงเรียน
คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทน
นกั เรียน จานวน 25 คน ดงั น้ี

1. แบบสอบถามเพ่ือประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรและกิจกรรมของโรงเรียนวัด
ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) โดยประเมนิ 2 ด้าน ดังน้ี

1.1 ประเมินด้านองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชิน
วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์)

1.2 ประเมินด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (หลักสูตร
ระดับกลุ่มสาระการเรียนร)ู้

2. ประเมนิ การใชแ้ ละพัฒนาหลกั สตู รจากผบู้ รหิ ารและครูผู้สอน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 30

3. รวบรวมข้อมูลจากการประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม์) และข้อเสนอแนะเพื่อเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ
สมบรู ณย์ ง่ิ ๆ ข้นึ ไป

เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่ามี 3 ระดับ คือ ระดับความพึงพอใจมาก ปานกลาง น้อยท่ีสุด

โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้

พงึ พอใจมาก ได้ 3 คะแนน
พงึ พอใจปานกลาง ได้ 2 คะแนน
พงึ พอใจน้อยทสี่ ดุ ได้ 1 คะแนน

วธิ กี ำรสรำ้ งเคร่ืองมือ

การสร้างเคร่ืองมือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ความพึงพอใจเก่ียวกับประเมินการบริหารและ
การจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ผศู้ ึกษาไดส้ รา้ งขน้ึ เอง ตามขนั้ ตอนดังน้ี

1. ศึกษาหลักการทฤษฎจี ากตารา เอกสารบทความทางวิชาการและงานวิจัย

2. นาขอ้ มูลทีไ่ ดม้ ากาหนดกรอบแนวความคดิ ในการวจิ ยั

3. สรา้ งเคร่ืองมอื เป็นแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)

3 ระดับ คือ น้อยท่ีสุด ปานกลาง มากท่ีสุด จานวน 28 ข้อ ให้ข้อคาถามมีความเท่ียงตรงใน
เนื้อหาและครอบคลุม

4. นาแบบสอบถามท่ีสร้างขึ้นให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเพื่อหาความเท่ียงตรงตามเน้ือหา
(Validity) ใชด้ ัชนคี วามสอดคลอ้ ง (Index of congruence: IOC) โดยกาหนดคะแนนไว้ดังนี้

ถา้ เหน็ วา่ สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน +1

ถ้าเห็นว่า ไม่แนใ่ จ ให้คะแนน 0

ถ้าเหน็ ว่า ไม่สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน -1

ถ้าค่าดัชนีความสอดคล้องสูงกว่า 0.5 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ใช้ได้อยู่ในเกณฑ์ท่ีใช้ได้ ถ้าต่ากว่าน้ัน
จะต้องนามาปรับปรงุ แกไ้ ข ตามขอ้ เสนอแนะ

5. นาแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 20 คน แล้วนามาหาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธ์แอลฟ่า
(Alpha Cofficient) ตามวธิ ขี องครอนบาค (Cronbach) มคี า่ เทา่ กับ 0.92

6. นาแบบสอบถามฉบับสมบรู ณ์ นาไปใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการวิจยั ต่อไป

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 31

3. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ผู้ศึกษาขอหนังสือจากโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ถึงผู้บริหารโรงเรียน

คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทน
นกั เรยี น จานวน 25 คน เพ่ือขอความอนเุ คราะหใ์ ห้เก็บข้อมลู ในการศกึ ษา

2. ผู้ศึกษานาหนังสือเรียนขออนุญาตจากผู้อานวยการโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม์) เพ่ือขอความร่วมมือให้ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและ
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ ตวั แทนนักเรียน จานวน 25 คน

3. ผู้ศึกษาสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหาร
วิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน โดยคิดจาก
จานวนทมี่ อี ยจู่ รงิ โดยคิดเปน็ รอ้ ยละ 100

4. ผู้ศึกษาชี้แจงวัตถุประสงค์ของการศึกษาและวิธีการตอบแบบสอบถาม แล้วรอรับ
แบบสอบถามกลับคนื ในวันเดียวกัน

4. กำรจัดกระทำขอ้ มูล

ผู้ศกึ ษาได้ดาเนินการจดั กระทาขอ้ มูล โดยดาเนินการตามขนั้ ตอนดังน้ี

1. นาแบบสอบถามที่ได้รบั คืนมาตรวจความถูกตอ้ งของแบบสอบถามท้งั หมด แลว้

นับจานวนและคดิ เป็นร้อยละ จาแนกตามตัวแปรอิสระ ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง

2. นาแบบสอบถามตอนที่ 2 แบบมาตราส่วนประมาณคา่ ( Rating Scale )

แบง่ ระดับการประมาณค่าออกเปน็ 3 ระดับ ดังน้ี

พึงพอใจมาก ได้ 3 คะแนน

พึงพอใจปานกลาง ได้ 2 คะแนน

พงึ พอใจน้อยท่สี ดุ ได้ 1 คะแนน

5. กำรวิเครำะห์ข้อมลู
ผศู้ ึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี
1. แบบสอบถามตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกับสถานภาพของประชากร ใชว้ ิธี

คานวณหาคา่ ความถแ่ี ละรอ้ ยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ไดแ้ ก่ เพศ อายุ
ตาแหน่ง

2. แบบสอบถามตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกยี่ วกบั ประเมนิ การบริหารและการจดั การ
หลักสตู รสถานศกึ ษาตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานักงาน
เขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานีเขต 1 สอบถามจากผบู้ ริหารโรงเรยี น คณะกรรมการภาคี 4
ฝา่ ย กลุ่มบรหิ ารวชิ าการและหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรยี น จานวน 25 คน
วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการหาค่าเฉล่ยี (X ) และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 32

แปลความหมายของคา่ เฉล่ยี โดยถือเกณฑ์ดงั น้ี

คะแนนเฉลย่ี 2.50-3.00 หมายความว่า พงึ พอใจมาก

คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 หมายความว่า พงึ พอใจปานกลาง

คะแนนเฉลยี่ 1.00-1.49 หมายความว่า พึงพอใจน้อยทส่ี ดุ

3. นาคะแนนทไ่ี ด้มาหาคา่ สถติ ิดว้ ยเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป Microsoft

office Excel

6. สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู

1. สถิติท่ีใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ เพื่อความเช่ือม่ันของแบบสอบถามท้ังฉบับโดยวิธีหา
คา่ สมั ประสทิ ธิแอลฟา่ (Alpha Coeffcient) ตามวธิ ขี องครอนบาค (Cronbach)

2. หาค่าร้อยละ (Percentage) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ % ใช้สูตร (ธานินทร์ ศิลป์จารุ
,2549 : 153 )

รอ้ ยละ (%) = χ 100
Ν

เมื่อ X คอื จานวนข้อมลู ทต่ี อ้ งการนามาหาคา่ รอ้ ยละ

N คือ จานวนขอ้ มลู ทงั้ หมด

3. ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean, X ) ใช้สูตร (ธานินทร์ ศิลป์จารุ , 2549 :
152) X =  



เมือ่ X แทน คา่ เฉลีย่ ของกลุ่มประชากร

  แทน ผลรวมของขอ้ มูลทัง้ หมด

N แทน จานวนประชากร

4. ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation, S.D.) สูตร (ธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ , 2549 :

167) S.D.     2



เมอื่ S.D. แทน ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

X แทน ข้อมูลแต่ละจานวน

X แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชาชน

N แทน จานวนประชากร

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 33

บทท่ี 4
ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล

การประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2562
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ผู้ศึกษาได้นาข้อมูลท่ีได้ มาทาการวิเคราะห์ และนาเสนอตามลาดับ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเรื่องการศึกษาความพึงพอใจของ การ
บริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียน
คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทน
นกั เรียน จานวน 25 คน ผู้ศึกษาไดเ้ สนอการวเิ คราะห์ขอ้ มลู และการแปรผลตามลาดับดังน้ี

1. สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู
2. ขน้ั ตอนการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู
3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

สญั ลักษณท์ ่ีใช้ในกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
S.D แทน ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน ข้อมูลแต่ละจานวน
 แทน ค่าเฉลยี่ ของกลุ่มประชาชน
N แทน จานวนประชากร

ขัน้ ตอนกำรนำเสนอผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 2 ตอน ตามวัตถุประสงค์ของ

การศึกษา ดังนี้
ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของประชากร ใช้วิธีคานวณหาค่าความถ่ี

และร้อยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหนง่
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4

ฝา่ ย กลุ่มบริหารวชิ าการและหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน
ในการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นรายด้านและ
ภาพรวม

ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพของประชากร ใช้วิธีคานวณหาค่าความถี่
และร้อยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหนง่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 34

ในตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลท่วั ไปเกี่ยวกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามวิเคราะห์
ข้อมลู โดยหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) ไดผ้ ลการวเิ คราะห์ ดงั ตารางท่ี 4

ตำรำงที่ 4 แบบสอบถามตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของประชากร ใชว้ ธิ ี
คานวณหาคา่ ความถแี่ ละร้อยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ไดแ้ ก่ เพศ อายุ
ตาแหน่ง

0 จานวน ร้อยละ

เพศ

ชาย 5 20.00

หญงิ 20 80.00

อำยุ

7-9 ปี - 0.00

10-12 ปี 8 32.00

20-40 ปี 6 24.00

41-50 ปี 5 20.00

51-60 ปี 3 12.00

60 ปีขนึ้ ไป 3 12.00

สถำนะ/ตำแหน่งหนำ้ ที่

ผู้บริหารสถานศกึ ษา 1 4.00

ผแู้ ทนครู 2 8.00

ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 8.00

ครู 6 24.00

ผแู้ ทนผู้ปกครอง 2 8.00

ผแู้ ทนชุมชน 2 8.00

ผู้แทนนักเรยี น 6 24.00

ผู้แทนกรรมการนกั เรยี น 2 8.00

ผู้แทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา 2 8.00

จากตารางที่ 4 ผู้กรอกแบบสอบถามจานวนทง้ั ส้ิน 25คน เป็นชายรอ้ ยละ 20 เป็นผหู้ ญงิ

ร้อยละ 80 ชว่ งอายุ 10-12 ปี 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 32 ช่วงอายุ 20- 40 ปี 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24

ช่วงอายุ 41-50 ปี 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 20 ชว่ งอายุ 51-60 ปี 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12 ช่วงอายุ 60 ปี

ขน้ึ ไป 3 คน คิดเป็นร้อยละ 12 สถานะ/ตาแหน่งหน้าท่ี ผู้บรหิ ารสถานศึกษาจานวน 1 คน คิดเป็นร้อย

ละ 4 ผู้แทนครู 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8 ผู้ทรงผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8 ครจู านวน 6 คน คิด

เป็นรอ้ ยละ 24 ผู้แทนผปู้ กครอง 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8 ผแู้ ทนชมุ ชน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8 ผู้แทน

นกั เรยี น 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 24 ผู้แทนกรรมการนักเรยี น 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 8 ผูแ้ ทน

คณะกรรมการสถานศึกษา 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 8

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 35

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหร์ ะดับความพึงพอใจของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย กล่มุ

บรหิ ารวชิ าการและหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ สาระ ตัวแทนนกั เรยี น จานวน 25 คน ในการ

บริหารและการจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามเคร่ืองมือของกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั

การศึกษา สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เป็นรายดา้ นและภาพรวม

ตำรำงท่ี 5 คา่ เฉลี่ย และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการและหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระ ตัวแทน

นักเรยี น ในการบรหิ ารและการจดั การหลกั สูตรสถานศึกษา ในภาพรวม ดังนี้

รำยกำรประเมนิ และตวั ชวี้ ดั  S.D. ระดบั ควำมพึงพอใจ
1. ดา้ นองคป์ ระกอบของหลักสตู ร
2.81 0.42 มาก

สถานศกึ ษา

2. ดา้ นการนาหลกั สตู รสถานศึกษาสู่ 2.77 0.45 มาก

การจัดการเรียนรู้ (หลกั สูตรระดับ

กลุม่ สาระการเรียนร)ู้

รวม 2.78 0.43 มำก

จากตารางที่ 5 แสดงถึงความพงึ พอใจของผู้บรหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลมุ่

บรหิ ารวิชาการและหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนกั เรียน พบว่าในภาพรวมอย่ใู นมี

ความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั มาก (ค่าเฉลย่ี = 2.78 ) เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายด้านมีความพึงพอใจอยใู่ น

ระดบั มากทสี่ ดุ เรยี งลาดบั คา่ เฉลยี่ จากมากไปหาน้อยได้ดงั นี้ ดา้ นองคป์ ระกอบของหลกั สูตรสถานศึกษา

คา่ เฉล่ีย = 2.81 ดา้ นการนาหลักสูตรสถานศึกษาส่กู ารจดั การเรียนรู้ (หลกั สูตรระดบั กล่มุ สาระการ

เรยี นร้)ู คา่ เฉลย่ี = 2.77

ตำรำงท่ี 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน ในการ

บริหารและการจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา ในดา้ นที่ ๑ องค์ประกอบของหลกั สตู รสถานศึกษา ดงั นี้

รำยกำรประเมนิ และตวั ชี้วดั  S.D. ระดับควำมพึงพอใจ

ดำ้ นองค์ประกอบของหลกั สูตร

สถำนศกึ ษำ

1. ส่วนนา 2.78 0.42 มาก

2. โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา 2.86 0.40 มาก

3. คาอธบิ ายรายวิชา 2.76 0.43 มาก

4. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 2.84 0.47 มาก

5. เกณฑ์การจบการศึกษา 2.84 0.47 มาก

รวม 2.80 0.42 มำก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 36

จากตารางท่ี 6 แสดงถึงความพงึ พอใจของผบู้ ริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย กลุ่ม
บริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน พบว่าในภาพรวมอยู่ในมี
ความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 2.80 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดงั น้ี ด้านโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา ค่าเฉล่ีย =
2.86 ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ,ด้านเกณฑ์การจบการศึกษา ค่าเฉลย่ี = 2.84 ดา้ นส่วนนา ค่าเฉลี่ย
= 2.78 ดา้ นคาอธบิ ายรายวชิ า คา่ เฉล่ีย = 2.76

ตำรำงที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน ในการ

บริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านที่ 2 ด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการ

เรยี นรู้ (หลักสูตรระดบั กลุ่มสาระการเรยี นร้)ู ดงั นี้

รำยกำรประเมินและตวั ชีว้ ดั  S.D. ระดับควำมพึงพอใจ

ด้ำนองค์ประกอบของหลักสูตร

สถำนศกึ ษำ

1. โครงสรา้ งรายวิชา 2.78 0.43 มาก

2. หน่วยการเรยี นรู้ 2.78 0.40 มาก

3. แผนการจัดการจดั การเรียนรู้ 2.72 0.49 มาก

4. พฒั นาหลักสตู รการศึกษาอยา่ ง 2.82 0.42 มาก
ยงั่ ยืน

รวม 2.77 0.45 มำก

จากตารางที่ 7 แสดงถึงความพงึ พอใจของผบู้ รหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่ม

บริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรยี น พบว่าในภาพรวมอยู่ในมี

ความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 2.77 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีความพึงพอใจอยู่ใน

ระดับมาก เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอย่างยั่งยืน

ค่าเฉลี่ย = 2.82 ด้านหน่วยการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย = 2.78 ด้านโครงสร้างรายวิชา ค่าเฉลี่ย = 2.78

ดา้ นแผนการจัดการจดั การเรียนรู้ ค่าเฉลย่ี = 2.72

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 37

ตำรำงท่ี 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน ในการ

บริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษา สรุปผลกำรประเมินจำกกำรสำรวจข้อมูลของผู้ให้ข้อมูล

หลกั ดงั น้ี

รำยกำรประเมนิ และตัวช้วี ดั  S.D. ระดบั ควำมพึงพอใจ

สรุปผลกำรประเมนิ จำกกำรสำรวจข้อมูลของ

ผู้ให้ข้อมูลหลกั

สรปุ ผลการประเมินการบรหิ ารและการ 2.87 0.44 มาก

จัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเครื่องมือของ

ก ลุ่ ม นิ เท ศ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร จั ด

การศึกษา สานักงานเขตพ้ื นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1(ภาคผนวก (

สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทน

นักเรียน จานวน 25 คน นามาวิเคราะห์

ประมวลผล ในการจัดทารายงานผลการใช้และ

พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา

2562

รวม 2.87 0.44 มาก

จากตารางท่ี 8 แสดงถึงความพงึ พอใจของผูบ้ ริหารโรงเรยี น คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย กลุ่ม

บรหิ ารวิชาการและหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ ตัวแทนนักเรยี น ในการบรหิ ารและการ

จัดการหลกั สูตรสถานศึกษา พบวา่ ในภาพรวมอยู่ในมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก (คา่ เฉลีย่ = 2.87)

เมือ่ พิจารณาสรุปผลการประเมนิ การบริหารและการจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามเครื่องมือของกลุ่ม

นเิ ทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต

1 สอบถามจากผบู้ ริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการและหัวหนา้ กลุม่ สาระ

การเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระ ตวั แทนนกั เรยี น จานวน 25 คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทา

รายงานผลการใช้และพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 คา่ เฉล่ีย = 2.87 มีการ

ปฏบิ ตั คิ รบถ้วนและชัดเจน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 38

บทท่ี 5
สรุป อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ

การศึกษาครั้งน้ีผู้ศึกษามุ่งท่ีจะประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วทิ ยาเวศม)์ โดยมี วตั ถปุ ระสงค์

1) ประเมินด้านองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม์)

2) ประเมินด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (หลักสูตรระดับกลุ่มสาระการ
เรียนร)ู้

3) ประเมินการใช้และพฒั นาหลักสตู รจากผูบ้ รหิ ารและครผู ้สู อน
4) จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เพ่ือ
สนองระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

สรุปผลกำรประเมนิ
ผลการประเมินบริบทของหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)
พบวา่ ภาพรวมอยูใ่ นระดับ “มาก” โดยสรุปผลการประเมนิ ดงั นี้

5.1 สรุปผลการประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่ม
นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี
เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ ตัวแทนนักเรยี น จานวน 25 คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล
ในการจดั ทารายงานผลการใช้และพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562

ระดับการปฏิบตั ิ 1 มกี ารปฏิบตั ิไม่ครบ และไม่ชัดเจน(น้อยทีส่ ดุ )
ระดับการปฏิบตั ิ 2 มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน แตไ่ ม่ชัดเจน(ปานกลาง)
ระดับการปฏบิ ตั ิ 3 มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ น และชดั เจน(มาก)

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมอนื่ ๆ
1. ควรมกี ารพัฒนาปรับปรุงสูห่ ลักสตู รท้องถ่นิ ใหม้ ีความชัดเจนและจดั การประชุมเพือ่ สร้าง

ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลกั สูตรสถานศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง
2. ควรระบคุ ะแนนในการสอบของแตล่ ะเทอมให้เป็นไปในทิศทางเดยี วกัน
3. การบริหารจัดการหลกั สูตร ควรมกี ารนเิ ทศเพ่ือกากบั ติดตามการนาหลกั สตู รไปใช้อยา่ ง

ต่อเนอื่ งเพื่อให้การจัดการบริหารหลักสูตรสถานศกึ ษาดาเนินไปอย่างถกู ทิศถูกทางและถูกต้อง สง่ ผลให้
เกิดประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลในการใช้หลกั สูตรที่ดียง่ิ ๆ ข้นึ ไป

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 39

อภิปรำยผลกำรประเมินหลกั สตู ร
จากผลการประเมินการใช้หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช

2562 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ด้วยการประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตาม
เครื่องมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน
นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทารายงานผลการใช้และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจาปี
การศึกษา 2562 ปรากฏผลของการนิเทศ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาในภาพรวมมีการปฏิบตั ิและมคี วามชัดเจน ท้ังนีเ้ กิดจากการบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรียน
มีการร่วมคิดร่วมทามีการจัดทาหลักสูตรที่สนองเจตนารมณ์และนโยบายต่างๆ อย่างรอบด้าน
สนองตอบความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง สอดคล้องกับบริบทของสังคม รวมท้ังมีการนิเทศ
ติดตามของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการพัฒนาห้องเรียน
คณุ ภาพอยา่ งต่อเนื่อง มีการระบุรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิม่ เติม ระบุรหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา พร้อมทง้ั ระบุ
เวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิต มีการระบุกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนไว้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน รายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติมท่ีกาหนดสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียนออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกับตัวช้ีวัด/มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ ได้สอดคล้องกับตัวชี้วดั /มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีการนาเอาแผนการจดั การ
เรยี นรู้ทีป่ รับปรงุ แลว้ ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรจู้ ริง

ขอ้ เสนอแนะ
1. การประเมินการใช้หลักสูตรคร้ังต่อไป ควรพัฒนาเครื่องมือให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ได้

ครอบคลมุ ประเด็นมากย่ิงขึน้
2. ควรประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา ดว้ ยรปู แบบของการวิจยั เต็มรปู แบบ ทุกๆ 3 ปี
3. ควรจัดการประเมินเมินหลักสูตรแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และตามแผนการจัดการ

เรยี นรู้จะทาให้ไดข้ อ้ มลู เพอ่ื การพฒั นาใหด้ ยี ่งิ ๆ ขึ้นไป
4. โรงเรียนต้องนาข้อเสนอแนะจากทุกข้ันตอน มาดาเนินการแก้ไขปัญหา เช่น ปัญหาด้านการ

จดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้สามารถพัฒนางานการจดั กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลเพ่ือความเปน็ เลิศทางวชิ าการ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 40

บรรณำนกุ รม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2552). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

จงฤดี ไสยสตั ย.์ (2549). การประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขต
ใจทพิ ย์ เชอ้ื รตั นพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสตู ร : หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครง้ั ท่ี
3.กรงุ เทพฯ: อลนี เปรส.

ชวลติ ชกู าแพง. (2551). การพฒั นาหลักสตู ร. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ: คิวพ.ี
ทวีศักดิ์ จินดานุรกั ษ์. (2549). “การพฒั นาหลักสูตร” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมนิ หลักสตู ร

และการเรียนการสอน หน่วยท่ี 2. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราชสาขาวิชา
ศึกษาศาสตร์.
ธรี ชยั เนตรถนอมศกั ด.ิ์ (2550). “การพฒั นาหลักสตู ร” ใน เอกสารประกอบการสอนวชิ า 230401.
ขอนแก่น: คลังนานาวทิ ยา.
นิภารัตน์ ทิพโชต.ิ (2550). การประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาชว่ งช้ันท่ี 1 และ 2 : กรณีศึกษา
โรงเรียนวัดบึงทองหลาง เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษา
มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการวิจยั และสถติ ิทางการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี คริ
นทรวโิ รฒ.
บุญชม ศรสี ะอาด. (2547). วิธีการทาสถติ ิสาหรับการวจิ ัย. พมิ พ์คร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ:สุริยาสาสน์ การ
พมิ พ์.117
บญุ ศรี พรหมมาพันธุ.์ (2551). "สมั มนาการประเมนิ หลักสตู ร" ใน ประมวลสาระวชิ าสัมมนาการ
ประเมินการศึกษา หน่วยท่ี 12. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราชสาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร์.
ประชุม รอดประเสริฐ. (2539). การบรหิ ารโครงการ. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: เนติกุลการพมิ พ.์
เปรือ่ ง จันดา. (2549). การบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศึกษาของสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษาในจงั หวดั เพชรบรู ณ.์ วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.พยนต์ ง่วนทอง. (2553).
การประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
ไพโรจน์ เตมิ เตชาติพงศ์. (2551). รปู แบบของหลักสตู ร ในการพัฒนาหลักสูตร หน่วยท่ี 3.ขอนแก่น:
คลังนานาวิทยา.
เยาวดี รางชัยกุล วิบลู ยศ์ รี. (2553). การประเมนิ โครงการ แนวคิดและแนวปฏิบตั ิ. พิมพค์ ร้งั ที่ 7.
กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (24 สงิ หาคม 2550). ราชกิจจานุเบกษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 41

บรรณำนุกรม(ตอ่ )

เล่ม 124 ตอนที่ 74 ก.
ลดั ดาวลั ย์ เพชรโรจน์. (2549). ความรพู้ ้นื ฐานเกย่ี วกับการประเมนิ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนใน

ประมวลสาระชุดวชิ าการประเมนิ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน หน่วยที่ 3. นนทบรุ :ี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วฒั นาพร ระงับทุกข.์ (2544). การจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ .
วิชยั วงษ์ใหญ.่ (2535). การประเมนิ หลักสตู รใน ประมวลสาระชดุ วิชาการพัฒนาหลักสูตรและ
วิธีทางการสอน หนว่ ยที่ 13. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.118
ศรีสมร พมุ่ สะอาด. (2549). “การประเมนิ หลักสูตรและการเรียนการสอน” ใน ประมวลสาระ
ชดุ วิชาการประเมินหลักสูตรและการเรียนการสอน หน่วยท่ี 13. นนทบุร:ี
มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.
ศิรชิ ยั กาญจนวาส.ี (2545). "ทฤษฎกี ารประเมินและการตัดสินใจ" ใน ประมวลสาระชดุ วชิ า
การประเมนิ และการจัดการโครงการประเมนิ หน่วยท่ี 2. นนทบรุ ี:
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.
_______. (2551). หลักการและแนวปฏบิ ัติในการประเมนิ นโยบาย แผนงาน โครงการและหลักสตู ร
ในประมวลสาระชดุ วิชาการประเมนิ และการจัดการโครงการประเมิน หนว่ ยที่ 12. นนทบุรี :
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
______. (2552). เทคนคิ การประเมนิ โครงการ. พิมพ์คร้ังที่ 6. นนทบุรี: จตพุ ร ดไี ซน์.
______. (2553). หลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับ
ปรบั ปรุง 2561 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. ปทุมธานี : โรงเรยี นวดั
ชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์).
สมชาย วางหา. (2550). การประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโรงเรยี นบา้ นใหม่ อาเภอวังช้ิน
จงั หวดั แพร่. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ.์
เสาวนี ตรพี ุทธรตั น์. (2551). ความรูพ้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สตู ร ใน การพัฒนาหลักสตู ร
หน่วยที่ 1. ขอนแกน่ : คลงั นานาวิทยา.
เสาวนี ตรีพุทธรตั น.์ (2547). ปัจจยั องค์กรที่สง่ ผลต่อความมปี ระสิทธภิ าพในการนาหลักสตู ร
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2544 ไปใชใ้ นโรงเรียนสงั กัดสานกั งานการศึกษาขั้น
พื้นฐานภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
เสาวนี ตรพี ุทธรัตน์ และคณะ. (2548). รายงานการประเมินผล หลักสตู รประกาศนียบัตร แนวคดิ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 42

บรรณำนุกรม(ต่อ)

พ้นื ฐานเกยี่ วกับการจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสันตวิ ธิ ี รุน่ ที่ 3.
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ .
สนุ ีย์ ภู่พนั ธ.์ (2546). แนวคดิ พ้นื ฐานการสรา้ งและการพัฒนาหลกั สตู ร. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
Eisner, E. (1985). The educational imagination. New York : Teacher College Press.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill Book.
Reinmannand, P. & Mandl (1999). Implementation. Konstruktivistischer
LernumgebungenIn Johannes - Kepler University, Australia. Curriculum Implemention -
Limiting andfacilitating factors.
Stufflebeam, Daniel L. (1973). “Education Evaluation and Decision – Making,” in
Education Evaluation : Theory and Practice. Belmont California : Wadssorth
Company.

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 43

ภำคผนวก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 44

ตารางท่ี 9 แสดงผล ผลการประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของ
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต
1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทา
รายงานผลการใช้และพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562

ขอ้ ตอนท่ี 1
คน 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 3 4 5

1 333333333
2 333333332
3 323233233
4 232323323
5 333333333
6 223333332
7 333323233
8 333333323
9 222233233
10 2 3 3 3 1 2 3 3 3
11 2 3 3 3 3 3 2 3 3
12 3 3 3 3 3 3 3 3 2
13 3 2 3 3 3 3 3 1 3
14 3 3 3 3 3 3 2 3 3
15 3 3 3 2 3 2 3 3 3
16 2 3 2 3 3 3 3 3 3
17 3 3 3 3 3 3 3 3 3
18 3 3 3 3 3 3 3 3 2
19 2 2 3 2 3 2 2 3 3

ข้อ ตอนท่ี 1
คน 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 3 4 5

20 3 3 3 3 3 3 3 3 3

21 3 3 3 3 3 3 3 3 3

22 3 3 2 3 3 3 3 3 3

23 3 3 3 3 3 3 3 3 3

24 3 3 3 3 3 3 3 3 3

25 3 3 2 2 3 3 3 3 3

ค่าเฉล่ยี 2.72 2.80 2.80 2.80 2.84 2.88 2.76 2.84 2.84
S.D. 0.46 0.41 0.41 0.41 0.47 0.33 0.44 0.47 0.37

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 45

ข้อ ตอนท่ี 2
คน 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 4.1 4.2 4.3

1 3322332333322333333
2 3233133333333233333
3 2333322332323333333
4 3333333233332233323
5 3332233333333333333
6 3323332333333333333
7 2333323322322213333
8 3333333333333333333
9 3332232333233332333
10 3 3 2 3 3 2 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2
11 2 3 3 3 3 3 3 2 2 2 3 2 3 2 2 3 3 3 3
12 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3
13 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3
14 2 3 2 3 3 2 3 3 3 3 2 3 3 2 3 3 2 3 3
15 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 2 2 3 2 3 3 2 3
16 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 2
17 2 3 3 2 3 3 3 2 3 3 3 1 3 3 3 3 2 3 3
18 3 3 2 3 3 2 2 3 3 3 2 3 2 2 2 3 3 3 3
ขอ้ ตอนที่ 2
คน 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 4.1 4.2 4.3
19 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 1 3
20 3 3 3 3 3 3 3 3 3 1 3 3 3 2 3 3 2 3 3
21 3 2 3 2 3 3 2 3 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 2
22 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 2 3 3 3 3 3
23 3 3 2 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
24 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 1 3 2 1 2 3 2 3 2
25 3 3 3 2 3 3 2 2 3 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3

คา่ เฉลย่ี 2.80 2.84 2.76 2.72 2.80 2.76 2.64 2.84 2.88 2.76 2.80 2.60 2.64 2.60 2.72 2.92 2.84 2.80 2.84
S.D. 0.41 0.37 0.44 0.46 0.50 0.44 0.49 0.37 0.33 0.52 0.50 0.58 0.49 0.58 0.54 0.28 0.37 0.50 0.37

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) : ประถมศึกษา 46

ตารางที่ 10 แสดงค่าเฉลยี่ สรปุ ระดบั ความคดิ เห็นของระดับการปฏบิ ตั งิ าน

ตอนที่ 1 องค์ประกอบของหลักสตู รสถำนศกึ ษำ

รำยกำร ระดับกำรปฏิบัติ สรุประดับควำมคิดเห็น
321 ของระดับกำรปฏิบัตงิ ำน
X = 2.72
1. ส่วนนำ มีการปฏิบตั ิครบถว้ น และ
ชัดเจน
1.1 ควำมนำ
X = 2.80
แสดงความเชือ่ มโยงระหวา่ งหลักสตู รแกนกลาง มีการปฏบิ ตั ิครบถว้ น และ
ชดั เจน
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลกั สตู ร
X = 2.80
ระดับท้องถิ่นจุดเน้น และความตอ้ งการของโรงเรยี น มกี ารปฏิบัตคิ รบถว้ น และ
ชัดเจน
1.2 วสิ ัยทัศน์ X = 2.80
มีการปฏบิ ัตคิ รบถว้ น และ
แสดงภาพอนาคตที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียนท่ี ชัดเจน

สอดคล้องกบั วิสัยทัศน์ของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน X = 2.84
มีการปฏิบัติครบถว้ น และ
พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างชดั เจน สอดคล้องกบั ชัดเจน

กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถิ่น ครอบคลมุ สภาพความต้องการของ X = 2.88
มกี ารปฏบิ ตั คิ รบถ้วน และ
โรงเรยี น ชุมชน ท้องถิ่น มีความชดั เจนสามารถปฏบิ ัติได้ ชดั เจน

1.3 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

มีความสอดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา

ข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

1.4 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

มคี วามสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา

ขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย

จดุ เน้น กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถน่ิ สอดคล้องกบั วิสัยทัศน์

ของโรงเรียน

2. โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศกึ ษำ

2.1 โครงสร้ำงเวลำเรียน

มีการระบุเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จานวน 8 กลุ่ม

สาระการเรียนรู้ ทเ่ี ป็นเวลาเรียนพืน้ ฐาน และเพิ่มเติมจาแนก

แตล่ ะชั้นปีอย่างชดั เจน ระบุเวลาการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

จาแนกแตล่ ะชัน้ ปีอย่างชดั เจน เวลาเรยี นรวมของหลกั สูตร

สถานศึกษาสอดคลอ้ งกับโครงสร้างเวลาเรยี นตามหลกั สูตร

แกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

2.2 โครงสรำ้ งหลักสตู ร

มีการระบรุ ายวิชาพืน้ ฐาน รายวชิ าเพิ่มเติม ระบรุ หัส

วิชา ชือ่ รายวชิ า พร้อมทง้ั ระบุเวลาเรียน และ/หรือหนว่ ยกิต มี

การระบุกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน พร้อมทง้ั ระบเุ วลาเรียนไวอ้ ยา่ ง

ถูกต้อง ชดั เจน รายวชิ าเพ่ิมเติม / กจิ กรรมเพ่ิมเติมที่กาหนด

สอดคล้องกับวสิ ยั ทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 47

รำยกำร ระดับกำรปฏบิ ัติ สรุประดับควำมคิดเห็น
321 ของระดับกำรปฏิบัติงำน
3. คำอธิบำยรำยวิชำ X = 2.76
มีการระบุรหัสวิชา ชือ่ รายวชิ า และชอ่ื กลมุ่ สาระการ มกี ารปฏิบตั ิครบถ้วน และ
ชัดเจน
เรียนรู้ ชน้ั ปที ส่ี อน จานวนเวลาเรยี น และ/หรือหนว่ ยกิต ไว้
อยา่ งถูกต้องชดั เจน X = 2.84
มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และ
การเขยี นคาอธิบายรายวชิ าไดเ้ ขยี นเปน็ ความเรยี งโดย ชดั เจน
ระบุองคค์ วามรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะหรือเจต
คติทีต่ อ้ งการและครอบคลุมตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง X = 2.84
มกี ารปฏิบัติครบถ้วน และ
ระบรุ หสั ตัวชว้ี ดั ในรายวชิ าพ้ืนฐานและจานวนรวม ชดั เจน
ของตวั ช้วี ดั และระบผุ ลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพ่มิ เตมิ และ
จานวนรวมของผลการเรยี นรู้ถูกต้อง

มีการกาหนดสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน สอดแทรกอยู่ใน
คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐานหรือรายวชิ าเพ่ิมเติม
4. กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รยี น

ในโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาและโครงสร้าง
หลักสูตรช้ันปีได้ระบุกจิ กรรม และจดั เวลา สอน ตามท่ี
กาหนดไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐานและ
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน

มีการจัดทาโครงสร้างและแนวการจดั กิจกรรม แนว
ทางการวัดและประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนท้งั 3 กิจกรรมที่
ชัดเจน
5. เกณฑ์กำรจบกำรศกึ ษำ

ระบุเวลาเรียน/หนว่ ยกติ ท้ังรายวิชาพื้นฐานและ
รายวิชาเพิม่ เติมตามเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรยี น
ชดั เจน

ระบุเกณฑก์ ารประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียนไว้อย่างชัดเจน

ระบุเกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ไว้
อย่างชัดเจน

ระบุเกณฑก์ ารผา่ นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนไว้อย่างชัดเจน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 48

ตอนท่ี 2 กำรนำหลกั สตู รสถำนศกึ ษำส่กู ำรจดั กำรเรียนรู้ (หลกั สตู รระดบั กลุ่มสำระกำรเรียนร้)ู

รำยกำร ผลกำรประเมิน สรุประดับควำมคิดเห็น
3 2 1 ของระดับกำรปฏบิ ตั งิ ำน

1. โครงสร้ำงรำยวิชำ X = 2.80

1.1 กำรจัดกลุม่ มำตรฐำนกำรเรยี นรู/้ ตัวชี้วดั มีการปฏบิ ตั คิ รบถ้วน และ

จัดกลมุ่ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ทม่ี ี ชดั เจน

ความสัมพนั ธก์ นั และเวลา ในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้

เหมาะสม

1.2 กำรจดั ทำสำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด X = 2.84

ได้วเิ คราะห์แก่นความรู้ของทกุ ตัวช้ีวัดในแต่ละ มกี ารปฏบิ ัติครบถว้ น และ

หน่วยการเรยี นรู้ มาจัดทาสาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ชดั เจน

ชดั เจนเหมาะสมและครบทุกหน่วยการเรยี นรู้

1.3 กำรต้งั ชื่อหน่วยกำรเรยี นรขู้ องแต่ละหน่วยกำร X = 2.76

เรียนรู้ มีการปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ

สะท้อนให้เหน็ สาระสาคัญ หรอื ประเดน็ หลักใน ชัดเจน

หน่วยการเรียนรนู้ ้ันๆ น่าสนใจเหมาะสมกับวัย ความสนใจ

ความสามารถของผู้เรียน

1.4 กำรกำหนดสดั ส่วนเวลำเรยี น X = 2.72

กาหนดสัดสว่ นเวลาเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ มกี ารปฏบิ ัติครบถ้วน และ

เหมาะสม และรวมทุกหนว่ ยต้องเท่ากับเวลาเรียนตาม ชดั เจน

หลกั สตู ร

1.5 กำรกำหนดสดั ส่วนน้ำหนกั คะแนน X = 2.80

กาหนดสดั สว่ นน้าหนกั คะแนนแต่ละหนว่ ยการ มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และ

เรยี นรเู้ หมาะสมและรวมตลอดป/ี ภาคเรียนเท่ากับ 100 ชัดเจน

คะแนน

2. หน่วยกำรเรยี นรู้ X = 2.76

2.1 กำรวำงแผนจดั ทำหนว่ ยกำรเรียนรู้ มกี ารปฏบิ ตั คิ รบถว้ น และ

มกี ารวางแผนออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ครบทุก ชดั เจน

หนว่ ย การเรียนรู้ และทกุ กลุ่มสาระฯ

2.2 กำรจดั ทำหน่วยกำรเรยี นรู้ : กำรกำหนด X = 2.64

เป้ำหมำย มีการปฏบิ ตั ิครบถ้วน และ

กาหนดมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วดั สาระสาคญั / ชดั เจน

ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั ของ

ผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคถ์ กู ต้อง เหมาะสมมีความ

สอดคลอ้ งกัน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 49

รำยกำร ผลกำรประเมิน สรุประดับควำมคิดเห็น
32 1
2.3 กำรจัดทำหนว่ ยกำรเรียนรู้ : กำรกำหนด ของระดับกำรปฏิบตั ิงำน
หลักฐำนกำรเรียนรู้
X = 2.84
กาหนดชน้ิ งาน /ภาระงาน การวดั และประเมนิ ผล มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ น และ
สอดคล้องกับตัวช้วี ดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ ชดั เจน

2.4 กำรจัดทำหน่วยกำรเรียนรู้ : ออกแบบกิจกรรม X = 2.88
กำรเรยี นรู้ มีการปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ
ชดั เจน
ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้สอดคล้องกับ
ตวั ช้ีวดั /มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั X = 2.76
มกี ารปฏบิ ัติครบถ้วน และ
3. แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ชดั เจน
3.1 เขียนแผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ค่ี รบตำม
X = 2.80
องคป์ ระกอบที่สำคญั ทกุ หน่วยกำรเรยี นรู้ มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และ
3.2 มกี ำรใชเ้ ทคโนโลยที ำงกำรศกึ ษำในกำรจัด ชดั เจน

กระบวนกำรเรียนรู้ X = 2.60
มีการปฏบิ ัตคิ รบถว้ น และ
3.3 สอดคลอ้ งจดุ เนน้ สกู่ ำรพัฒนำผู้เรียน ชดั เจน
ควำมสำมำรถและทักษะของผู้เรยี นศตวรรษท่ี 21 (3Rs
x8Cs x2Ls) X = 2.64
มีการปฏบิ ตั ิครบถ้วน และ
3.4 สอดคลอ้ งกำรบูรณำกำรตำมพระรำชบญั ญัติ ชัดเจน
กำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี2)
พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่3) พ.ศ. 2553 X = 2.60
มีการปฏบิ ัติครบถว้ น และ
บรู ณาการหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล ชัดเจน
(Worldclass Standard School)
X = 2.72
บรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีการปฏบิ ัติครบถ้วน และ
บรู ณาการกบั ประชาคมอาเซียน
บรู ณาการกับคา่ นยิ ม 12 ประการ
บูรณาการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ
บูรณาการโรงเรียนต้านทจุ ริต
บูรณาการโรงเรียนคุณธรรม
บรู ณาการโรงเรียนสจุ ริต
บรู ณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
3.5 ใช้กระบวนกำรวจิ ัยในชนั้ เรียนมำใชใ้ นกำรจัด
กระบวนกำรเรียนรขู้ องครู แก้ไขปัญหำและพัฒนำผ้เู รยี น

3.6 กำรประเมินแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ทุกแผนกอ่ น
กำรนำไปใชจ้ รงิ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ประถมศึกษา 50

รำยกำร ผลกำรประเมิน สรุประดับควำมคิดเห็น
3 2 1 ของระดับกำรปฏบิ ตั ิงำน

ชดั เจน

3.7 มีกำรนำเอำแผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ปี่ รับปรุงแล้ว X = 2.92
ไปใชใ้ นกำรจัดกำรเรียนรจู้ รงิ มกี ารปฏิบตั ิครบถ้วน และ
ชัดเจน
4. พฒั นำหลักสตู รกำรศกึ ษำอยำ่ งยั่งยืน
4.1 มีกำรนิเทศกำรใชห้ ลกั สตู รสถำนศกึ ษำอยำ่ ง X = 2.84
มีการปฏิบตั ิครบถว้ น และ
ต่อเนื่อง ชัดเจน
4.2 มกี ำรประเมินกำรใช้หลักสูตรสถำนศกึ ษำอยำ่ ง
X = 2.80
ต่อเนอื่ ง มกี ารปฏิบัตคิ รบถ้วน และ
ชดั เจน
4.3 นำผลกำรประเมินกำรใช้หลกั สูตรสถำนศกึ ษำ
มำวำงแผนในกำรพฒั นำหลักสตู รสถำนศกึ ษำอย่ำงต่อเน่อื ง X = 2.84
มกี ารปฏบิ ัติครบถ้วน และ
ชัดเจน

ตำรำงท่ี 11 สรปุ ผลกำรประเมนิ จำกกำรสำรวจขอ้ มลู ของผู้ใหข้ ้อมูลหลกั

กลุม่ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู หลกั สรปุ ระดับควำมคิดเห็นโดยภำพรวม

สรุปผลการประเมินการบริหารและการจัดการ

หลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศติดตาม

และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1(ภาคผนวก (

สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย X = 2.78

กลุ่มบริหารวิชาการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 มกี ารปฏบิ ตั ิครบถว้ นและชัดเจน

กลุ่มสาระ ตัวแทนนักเรียน จานวน 25 คน นามา

วิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทารายงานผลการใชแ้ ละ

พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2562


Click to View FlipBook Version