The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ailada Srisamlee [KOI], 2021-03-21 05:49:54

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 48

2.4.29 กำรจัดกำรเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรู้ ตำมโครงกำรบ้ำน
นักวิทยำศำสตร์นอ้ ย ประเทศไทย

โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้ใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อ
สง่ เสริมให้เด็กได้สังเกต สารวจ ค้นคว้า ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จกั คิด มีความคดิ สร้างสรรค์
ให้โอกาสเด็กได้ใช้ความคิดของตนเองได้มากที่สุด ผ่านกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ในโครงการ
“บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” ซงึ่ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน คือ
การสร้างความสนใจ (Engagement) การสารวจและค้นหา (Exploration) การอธิบาย (Explanation)
การขยายความรู้ (Elaboration) และการประเมินผล (Evaluation) ทง้ั นก้ี จิ กรรมที่จะให้นักเรยี นสารวจ
ตรวจสอบ จะต้องเช่ือมโยงกับความคิดเดิม และนาไปสู่การแสวงหาความรู้ใหม่และได้ใช้กระบวนการ
และทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม์) ได้ประยุกต์ขั้นตอนของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพ่ือให้เหมาะสมกับสาหรับเด็กปฐมวัย
ดงั น้ี

ขน้ั ที่ 1 ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการต้งั คาถามเชิงวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่ายๆ
ขนั้ ท่ี 2 ผู้เรียนทาการสารวจตรวจสอบเก็บรวบรวมข้อมลู โดยการสงั เกต สารวจ สบื คน้
หรอื ทดลอง และ บนั ทกึ ผลการสารวจตรวจสอบดว้ ยวธิ ีทเ่ี หมาะสมกบั วัย
ขัน้ ท่ี 3 ผู้เรยี นตอบคาถามที่ตั้งขึ้นโดยใชผ้ ลจากการสารวจตรวจสอบมาสร้างคาอธบิ าย
ท่ีมเี หตุผล
ขน้ั ที่ 4 การนาเสนอผลการสารวจตรวจสอบใหก้ ับผอู้ น่ื ดว้ ยวิธีท่เี หมาะสมกบั วยั และ
ความสามารถ
2.4.30 สอ่ื พฒั นำกำรเรยี นรู้
โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดให้มีส่ือเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้
ของเด็ก ส่ือประกอบการจัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญา โดยจัดให้มีส่ือท้ังที่เป็นประเภท 2 มิติ และ 3 มิติ ท่ีเป็นสื่อของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่ือท่ี
อยู่ใกล้ตัวเด็ก ส่ือสะท้อนวัฒนธรรม สื่อท่ีปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุก
ด้าน ส่ือที่เอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้ส่ือเริ่มต้นจาก สื่อของจริง
ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ใช้สื่อเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความสนใจและความต้องการของเดก็ ทีห่ ลากหลาย โรงเรียนวัดชนิ วรารามเจรญิ ผลวิทยาเวศม์) มุ่งเน้น
ให้เด็กๆได้เรียนรู้จากส่ือท่ีมีความหลากหลายและได้เรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียนและในชุมชน เพื่อ
เน้นให้เด็กสร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการได้ลงมือปฏิบัติจริง ท้ังน้ี โรงเรียนได้จัดสื่อสาหรับเด็กปฐมวัย
ดงั นี้
1) สอ่ื ท่ีได้จากการจดั ซ้ือ จัดหา เชน่ หนงั สอื นิทาน เกมการศึกษา ของเล่น เครอื่ ง

ดนตรี เครื่องกฬี า
2) ส่ือประเภททคี่ รผู ูส้ อนจดั ทา เช่น ส่อื ประจาหน่วยการเรียนรู้
3) สื่อทไ่ี ดร้ บั การบรจิ าคจากผู้ปกครอง เชน่ ตกุ๊ ตา เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ เส้ือผา้ ท่เี ป็น

ของจริง
4) ส่ือวัสดุธรรมชาติจากชุมชน
5) สื่อประเภทเทคโนโลยี อาทิ เครอ่ื งเล่นเทป วดี ทิ ศั นค์ อมพวิ เตอร์

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 49

6) สอ่ื ทเ่ี ป็นภูมิปัญญาท้องถนิ่
ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวรารามเจริญผล
วิทยาเวศม)์ กาหนดให้มกี ารใช้ส่ือในกจิ กรรมและมุมประสบการณ์ตา่ ง ๆ ดงั นี้
2.4.31 กจิ กรรมเสริมประสบกำรณ์ /กิจกรรมในวงกลม สอื่ มีดงั นี้
1) สือ่ ของจริงทีอ่ ยูใ่ กล้ตวั และสอ่ื จากธรรมชาติหรอื วสั ดทุ ้องถ่นิ เชน่ ตน้ ไม้ ใบไม้
เปลือกหอย เส้อื ผา้ ฯลฯ
2) สื่อทีจ่ า ลองข้ึน เชน่ ลกู โลก ตุ๊กตาสตั ว์ ฯลฯ
3) สอื่ ประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนงั สอื ภาพ ฯลฯ
4) สอื่ เทคโนโลยี เชน่ วิทยุ เครอื่ งบันทึกเสียง เคร่ืองขยายเสียง โทรศพั ท์ ฯลฯ
กจิ กรรมสรำ้ งสรรค์ มวี สั ดุ อุปกรณ์ ดงั นี้
(1) การวาดภาพและระบายสี

- สีเทยี นแท่งใหญ่ สไี ม้ สีชอล์ก สนี ้า
- พูก่ นั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ 12)
- กระดาษ
- เสอ้ื คลุม หรอื ผา้ กนั เป้ือน
(2) การเลน่ กบั สี
- การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี ้า
- การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กนั สีน้า
- การพบั สี มี กระดาษ สีน้า พกู่ ัน
- การเทสี มี กระดาษ สีนา้
- การละเลงสี มี กระดาษ สีนา้ แปง้ เปยี ก
(3) การพิมพภ์ าพ
- แมพ่ มิ พ์ต่าง ๆ จากของจรงิ เช่น นว้ิ มือ ใบไม้ ก้านกลว้ ย ฯลฯ
- แม่พิมพ์จากวสั ดุอ่ืน ๆ เชน่ เชอื ก เส้นด้าย ตรายาง ฯลฯ
- กระดาษ ผา้ เชด็ มอื สโี ปสเตอร์ (สีนา้ สีฝนุ่ ฯลฯ)
(4) การปั้น เช่น ดินน้ามัน ดินเหนียว แป้งโดว์ แผ่นรองป้ัน แม่พิมพ์รูปต่าง ๆ ไม้นวม
แปง้
(5) การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆท่ีจะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกร
ขนาดเล็กปลายมน กาวนา้ หรอื แปง้ เปยี ก ผา้ เช็ดมอื
(6) การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุต่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า
เศษไหม กาว กรรไกร สี ผา้ เชด็ มือ
(7) การรอ้ ย เชน่ ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ
(8) การสาน เชน่ กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ
(9) การเล่นพลาสติกสรา้ งสรรค์ พลาสตกิ ชนิ้ เล็ก ๆ รปู ทรงต่าง ๆ สามารถนามาต่อ
เปน็ รปู แบบต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ
(10) การสรา้ งรูป เชน่ จากกระดานปกั หมดุ จากแป้นตะปทู ใี่ ชห้ นงั ยางหรือเชอื กผูกดึง
ให้เป็นรูปรา่ งต่าง ๆ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 50

กจิ กรรมกลำงแจง้ สื่อมีดังนี้

(1) เคร่อื งเลน่ สนาม เช่น เคร่อื งเล่นสา หรับปนี ปา่ ย เคร่ืองเลน่ ประเภทล้อเลือ่ น ฯลฯ

(2) ที่เลน่ ทราย มที รายละเอียด เครื่องเล่นทราย เคร่อื งตวง ฯลฯ

(3) ทีเ่ ล่นนา้ มภี าชนะใสน่ ้าหรืออา่ งน้าวางบนขาต้ังท่ีมัน่ คง ความสูงพอทีเ่ ด็กจะยนื ได

พอดี เส้ือคลุมหรือผ้ากันเปื้อนพลาสติก อุปกรณ์เล่นน้า เช่น ถ้วยตวง ขวดต่างๆสายยาง กรวยกรอกน้า

ตกุ๊ ตายาง

เกมกำรศกึ ษำ สอื่ ประเภทเกมการศกึ ษามีดังน้ี

(1) เกมจบั คู่

- จับคู่รปู รา่ งทีเ่ หมอื นกัน - จับคู่ภาพเงา

- จับคภู่ าพที่ซอ่ นอยู่ในภาพหลกั - จบั คสู่ งิ่ ทมี่ ีความสมั พนั ธ์กนั สงิ่ ทใี่ ช้คกู่ ัน

- จบั คู่ภาพส่วนเตม็ กับสว่ นยอ่ ย - จบั คูภ่ าพกับโครงร่าง

- จับคู่ภาพช้ินสว่ นท่หี ายไป - จบั คภู าพทเี่ ป็นประเภทเดยี วกนั

- จบั คภู่ าพทซ่ี ่อนกัน - จบั คู่ภาพสมั พนั ธแ์ บบตรงกนั ขา้ ม

- จบั คภู่ าพที่สมมาตรกนั - จับค่แู บบอุปมาอุปไมย

- จบั ค่แู บบอนุกรม

(2) เกมภาพตดั ต่อ

- ภาพตดั ตอ่ ทสี่ ัมพันธก์ ับหนว่ ยการเรียนตา่ ง ๆ เชน่ ผลไม้ ผัก ฯลฯ

(3) เกมจดั หมวดหมู่

- ภาพสิง่ ต่าง ๆ ทนี่ ามาจัดเปน็ พวก ๆ

- ภาพเกี่ยวกับประเภทของใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

- ภาพจัดหมวดหมตู่ ามรูปรา่ ง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต

(4) เกมวางภาพตอ่ ปลาย (โดมิโน)

- โดมโิ นภาพเหมือน

- โดมิโนภาพสัมพนั ธ์

(5) เกมเรยี งลาดบั

- เรียงลาดบั ภาพเหตุการณ์ต่อเนอ่ื ง

- เรียงลาดับขนาด

(6) เกมศกึ ษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต)

(7) เกมจบั คู่แบบตารางสมั พนั ธ์ (เมตรกิ เกม)

(8) เกมพืน้ ฐานการบวก

กิจกรรมเสรี /กำรเล่นตำมมมุ มสี อื่ ประกอบการเรยี นรู้ในมมุ ประสบการณ์

ประกอบด้วย

(1) มมุ บทบาทสมมติ จดั เปน็ มมุ เล่น ดังน้ี

(1.1) มุมบา้ น

- ของเล่นเครื่องใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจา ลอง เช่น เตา กระทะ ครก

กาน้าเขียง มีดพลาสติก หม้อ จาน ชอ้ น ถ้วยชาม กะละมัง ฯลฯ

- เครอื่ งเลน่ ตุก๊ ตา เสือ้ ผา้ ต๊กุ ตา เตยี ง เปลเดก็ ตุ๊กตา

- เครือ่ งแตง่ บา้ นจาลอง เช่น ชุดรบั แขก โตะ๊ เคร่ืองแป้ง หมอนองิ กระจก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 51

ขนาดเหน็ เตม็ ตัว หวี ตลับแปง้ ฯลฯ
- เคร่ืองแต่งกายบุคคลอาชีพต่าง ๆ ท่ีใช้แล้ว เช่น ชุดเคร่ืองแบบทหาร

ตารวจชุดเส้ือผา้ ผ้ใู หญ่ชายและหญงิ รองเทา้ กระเป๋าถือทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ฯลฯ
- โทรศัพท์ เตารีดจาลอง ท่ีรีดผา้ จาลอง
- ภาพถ่ายและรายการอาหาร

(1.2) มุมหมอ
- เครอ่ื งเลน่ จาลองแบบเคร่ืองมอื แพทย์และอุปกรณ์การรักษาผปู้ ่วย เชน่ หูฟงั
เสื้อคลมุ หมอ ฯลฯ
- อปุ กรณ์สาหรับเลยี นแบบการบนั ทกึ ขอ้ มูลผปู้ ว่ ย เชน่ กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ

(1.3) มมุ ร้านค้า
- กลอ่ งและขวดผลิตภณั ฑต์ า่ งๆท่ีใช้แล้ว
- อุปกรณ์ประกอบการเล่น เชน่ เคร่ืองคิดเลข ลกู คดิ ธนบตั รจาลอง ฯลฯ

(2) มมุ บล็อก
- ไมบ้ ล็อกหรือแทง่ ไม้ท่ีมขี นาดและรปู ทรงต่างๆกนั จานวนตง้ั แต่ 50 ชิน้ ขน้ึ ไป
- ของเล่นจาลอง เช่น รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ คน สตั ว์ ต้นไม้ ฯลฯ
- ภาพถา่ ยต่างๆ
- ท่ีจัดเก็บไม้บล็อกหรือแท่งไม้อาจเป็นชั้น ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรูปทรง

ขนาด
(3) มมุ หนังสอื
- หนังสือภาพนิทาน สมดุ ภาพ หนังสือภาพท่ีมคี า และประโยคสั้น ๆพรอ้ มภาพ
- ชัน้ /ทวี่ างหนังสอื
- อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ที่ใชใ้ นการสร้างบรรยากาศการอา่ น เช่น เสอื่ พรม หมอน ฯลฯ
- สมดุ เซ็นยมื หนงั สอื กลับบา้ น
- อปุ กรณ์สาหรับการเขยี น
- อุปกรณเ์ สรมิ เช่น เคร่อื งเล่นเทป ตลบั เทปนิทานพร้อมหนังสือนิทาน หฟู ัง ฯลฯ
(4) มุมวิทยาศาสตร์ หรอื มมุ ธรรมชาติศกึ ษา
-วสั ดตุ ่าง ๆ จากธรรมชาติ เชน่ เมล็ดพชื ตา่ ง ๆ เปลอื กหอย ดนิ หนิ แร่ ฯลฯ
- เคร่อื งมือเครื่องใช้ในการสารวจ สงั เกต ทดลอง เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก เข็มทิศ
เครอ่ื งชงั่ ฯลฯ

2.4.32 แหลง่ เรียนรสู้ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั
โรงเรียนวัดชินวรารา (เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้

สาหรับเด็กปฐมวัย แบ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ซึ่ง
ประกอบด้วยบุคคลและสถานที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย
โรงเรียนมีวัตถุประสงค์ในการใชแ้ หลง่ เรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยดังนี้

1) เพอ่ื ขยายความคิดในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ให้กว้างขวางขน้ึ
2) เพือ่ สนับสนนุ ให้จัดประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ หส้ อดคล้องกบั หลักสตู รและเปน็ การ
จดั การเรยี นรู้ตามแนวปฏิรูปการเรยี นรู้
3) เพื่อสนับสนุนการใชแ้ หลง่ เรียนรูท้ ม่ี ีอยู่แล้วใหเ้ กิดคณุ ค่าต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 52

อย่างแท้จริง

4) เพอื่ กระตุน้ และพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ทสี่ อดคลอ้ งกบั ท้องถิ่นและ

เป็นระบบมากขึน้

5) เพือ่ ส่งเสริมความสัมพนั ธ์ทดี่ รี ะหวา่ งโรงเรยี นและชมุ ชนแหล่งเรยี นรู้สาคัญที่

โรงเรียนใชจ้ ัดประสบการณก์ ารเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยมดี ังนี้

2.4.33 แหลง่ เรยี นรูภ้ ำยในโรงเรียน

1) หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 2) สวนเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3) ปา้ ยนเิ ทศ 4) หอ้ งสมดุ

5) สวนสมุนไพร 6) หอ้ งเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

7) ตกึ เจริญผล จริยศึกษา 8) หอ้ งนาฏศิลป์

แหล่งเรยี นรูภ้ ายนอกโรงเรยี น

1) วัดชนิ วรารามวรวหิ าร

2) โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบางขะแยง

3) สถานทอ่ี นรุ กั ษพ์ นั ธป์ ลา

4) บา้ นทาขนมเปยี๊ ะ

5) บริษทั ไทยนา้ ทพิ ย์

6) บริษัทเสริมสขุ

7) บริษทั พาโก้

8) วัดเจตวงศ์

2.4.34 กำรจดั สภำพแวดลอ้ มและบรรยำกำศกำรเรียนรู้

โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) .ตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัด

สภาพแวดลอ้ มที่ส่งเสรมิ บรรยากาศการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวยั เป็นอยา่ งย่ิง เนอื่ งจากธรรมชาติของเดก็ ใน

วัยน้ีสนใจท่ีจะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียม

สง่ิ แวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสาคัญท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการ

เรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็นประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วยประสาท

สมั ผัสทัง้ ห้า จึงจาเป็นต้องจัดส่ิงแวดล้อมในโรงเรียนให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการ เพ่ือส่งผล

ใหบ้ รรลจุ ุดหมายในการพฒั นาเดก็

การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญ

ผลวิทยาเวศม์)คานึงถงึ สงิ่ ต่อไปนี้

1) ความสะอาด ความปลอดภยั

2) ความมีอสิ ระอย่างมขี อบเขตในการเล่น

3) ความสะดวกในการทา กจิ กรรม

4) ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น หอ้ งเรยี น หอ้ งนา้ หอ้ งส้วม สนามเด็กเล่น ฯลฯ

5) ความเพียงพอเหมาะสมในเรอ่ื งขนาด นา้ หนกั จานวน สีของสื่อและเคร่ืองเล่น

6) บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ทเ่ี ลน่ และมมุ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ

โรงเรยี นวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม)์ จึงกาหนดหลกั การจัดสภาพแวดลอ้ มและ

บรรยากาศการเรียนรภู้ ายในและภายนอกหอ้ งเรียนไว้ดงั นี้

2.4.35 สภำพแวดล้อมและบรรยำกำศกำรเรียนร้ภู ำยในหอ้ งเรียน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 53

จัดบรรยากาศท่ีเน้นความเป็นระเบียบ สะอาด สวยงาม ปลอดภัย มีมุมประสบการณ์
ต่างๆเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาการและการจัดการเรียนรู้ของเด็ก จัดให้มีที่ว่างให้เด็กๆ สามารถทา
กิจกรรมได้อย่างสะดวก เน้นให้ห้องเรียนมีแสงสว่างและสีสันสบายตา มีตู้สาหรับเก็บของใชส้ ่วนตัวของ
เด็กแตค่ นเพอื่ ปลูกฝังความมีวนิ ัย ความเป็นระเบียบ และการรู้จักเก็บรกั ษาของใช้ของตนเอง ซ่ึงจัดแบ่ง
พ้ืนท่ีใหเ้ หมาะสมกบั การประกอบกิจกรรมตามหลกั สตู ร ดังนี้

1) พน้ื ท่อี านวยความสะดวกเพือ่ เดก็ และผู้สอน
1.1) ทแ่ี สดงผลงานของเด็ก จัดเปน็ แผน่ ป้าย หรอื ทแี่ ขวนผลงาน
1.2) ทเ่ี ก็บแฟม้ ผลงานของเดก็ จัดทาเปน็ กล่องหรอื จดั ใส่แฟม้ รายบุคคล
1.3) ที่เก็บเครอ่ื งใช้สว่ นตัวของเด็ก ทาเปน็ ชอ่ งตามจานวนเด็ก
1.4) ทีเ่ กบ็ เครอ่ื งใช้ของผสู้ อน เช่น อปุ กรณ์การสอน ของส่วนตัวผูส้ อน ฯลฯ
1.5) ป้ายนเิ ทศตามหน่วยการสอนหรือสิง่ ที่เด็กสนใจ

2) พ้ืนทป่ี ฏบิ ัติกจิ กรรมและการเคลื่อนไหว
จดั พ้ืนที่ทเี่ ด็กสามารถจะทางานได้ดว้ ยตนเอง และทากิจกรรมด้วยกนั ในกลุ่มเล็ก หรือ
กลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคล่ือนไหวได้อยา่ งอิสระจากกิจกรรมหนง่ึ ไปยงั กจิ กรรมหน่งึ โดยไมร่ บกวนผู้อ่นื
3) พนื้ ที่จัดมุมเล่นหรอื มมุ ประสบการณ์
จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเงยี บออกจากกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุม
บทบาทสมมติอยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตรอ์ ยู่ใกล้มุมศิลปะ ฯลฯ จัดให้มีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ใน
มุมอย่างเพยี งพอต่อการเรยี นรขู้ องเด็ก
2.4.36 สภำพแวดล้อมและบรรยำกำศกำรเรยี นรู้ภำยนอกหอ้ งเรยี น
จัดสภาพภายนอกห้องเรียนตามแนวโรงเรียนน่าดู น่าอยู่ น่ามอง มีการจัดสวนหย่อม
ประเภทสวนผักสวนครวั เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เดก็ และชมุ ชน มีแปลงเกษตรพืชสมนุ ไพร มีตน้ ไม้การเรยี นรู้
ฝาผนังพดู ได้ มีมมุ บ้านหลังน้อย สนามเด็กเล่นเพ่อื สนบั สนุนให้เดก็ เรียนรูอ้ ยู่กลางธรรมชาติ เรียนรู้อย่าง
มีความสุข สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย ซ่ึงจัดแบ่งพ้ืนที่ให้เหมาะสมกับการประกอบกิจกรรมตาม
หลกั สตู ร ดังน้ี

1) บรเิ วณสนามเด็กเล่น จัดพ้ืนผิวของสนามที่ไม่เป็นอันตรายต่อเด็ก มีพื้นที่สาหรับ
เล่นของเลน่ ทีม่ ีลอ้ รวมท้งั ที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง พืน้ ดนิ สาหรบั ขุด ที่เลน่ น้าบอ่ ทรายพรอ้ มอปุ กรณ์ประกอบการ
เล่น เครื่องเล่นสนามสาหรับปีนป่าย ทรงตัว ฯลฯ ทั้งน้ีไม่ติดกับบริเวณที่มีอันตราย และหม่ันตรวจตรา
เคร่อื งเล่นใหอ้ ยใู่ นสภาพแขง็ แรง ปลอดภยั อยู่เสมอ และหมน่ั ดูแลเรอื่ งความสะอาด

2) ทน่ี ัง่ เล่นพักผ่อน จัดทีน่ ัง่ ไว้ใต้ตน้ ไมม้ ีร่มเงา สาหรบั ใช้จัดกจิ กรรมกลุม่ ย่อย ๆ
หรือกิจกรรมท่ตี อ้ งการความสงบ หรือจัดเปน็ ลานนทิ รรศการใหค้ วามรแู้ กเ่ ด็กและผู้ปกครอง

3) บริเวณธรรมชาติ ปลูกไมด้ อก ไม้ประดบั และพืชผักสวนครัว
2.4.37 กำรประเมินพัฒนำกำร

โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ถือว่าการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
เป็นกระบวนการต่อเนื่องและเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมปกติตามตารางกิจกรรมประจาวันและ
ครอบคลุมพัฒนาการของเดก็ ทุกดา้ น ได้แก่ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา เพ่อื นาผล
มาใช้ในการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ์พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน โดยยึดหลักการ
และข้ันตอนการประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ซึ่งมีรายละเอียด
ดงั น้ี

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 54

2.4.38 หลักกำรประเมนิ พฒั นำกำร
1) ประเมินพฒั นาการของเด็กครบทุกด้านและนา ผลมาพฒั นาเดก็
2) ประเมนิ เป็นรายบคุ คลอย่างสม่าเสมอตอ่ เน่ืองตลอดปี
3) สภาพการประเมนิ ควรมีลกั ษณะเช่นเดยี วกับการปฏิบัตกิ จิ กรรมประจา วนั
4) ประเมินอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เคร่ืองมือและจดบันทึกไว้เป็น

หลักฐาน
5) ประเมินตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลายเหมาะกับเดก็ รวมทง้ั ใชแ้ หล่งข้อมลู

หลายๆด้าน ไม่ใชก้ ารทดสอบ
2.4.39 ขน้ั ตอนกำรประเมนิ พัฒนำกำร
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั มขี ั้นตอนตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี
1) ศึกษาและทาความเข้าใจพฒั นาการของเด็กในแตล่ ะชว่ งอายุทุกดา้ น ไดแ้ ก่ ด้าน

รา่ งกายอารมณ์ จติ ใจ สังคม และ สติปัญญา
2) วางแผนเลอื กใช้วิธกี ารและเครือ่ งมือที่เหมาะสมสาหรับใชบ้ นั ทึกและประเมิน

พฒั นาการ
3) ดาเนินการประเมินและบนั ทึกพัฒนาการ
4) ประเมินและสรปุ
5) รายงานผล
6) ให้ผูป้ กครองมีส่วนรว่ มในการประเมิน

2.4.40 วธิ กี ำรประเมิน
จดั ให้มีการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ทุกด้านโดยใชว้ ธิ ีการประเมินทห่ี ลากหลาย เน้นการ

ประเมินตามสภาพจริง โดยมวี ิธีการประเมินพฒั นาการดงั นี้
1) การสังเกตและบนั ทกึ พฤติกรรมของเด็ก
2) การสัมภาษณ์ สนทนา ซกั ถามเด็ก
3) การสมั ภาษณ์ สนทนา ซกั ถามผ้ปู กครอง
4) การตรวจผลงาน ประเมินชิน้ งานอย่างต่อเนอ่ื ง
5) การรวบรวมผลงานทีแ่ สดงความก้าวหนา้ ของเดก็ รายบคุ คล (portfolio)
6) การประเมินการเจริญเติบโต

2.4.41 เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นกำรประเมนิ
1) แบบสารวจรายการพฤตกิ รรมของเดก็
2) แบบบนั ทกึ การเลือกเลน่ ตามมุม
3) การบันทกึ สขุ ภาพ
4) แบบสมั ภาษณ์
5) แบบสังเกตพฤติกรรม
6) แบบบันทึกคาพูด

2.4.42 เกณฑก์ ำรประเมนิ
ใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ 3 ระดับ ดงั นี้
ระดับ 3 หมายถงึ ดี ปรากฏพฤติกรรมตามช่วงอายุ เปน็ ไปตามสภาพท่ีพงึ ประสงค์

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 55

ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ปรากฏพฤติกรรมตามช่วงอายุ เป็นไปตามสภาพที่พึง
ประสงค์ โดยมกี ารกระตุ้น

ระดบั 1 หมายถึง ควรสง่ เสริม ไม่ปรากฏพฤตกิ รรมตามชว่ งอายุทีเ่ ปน็ ตามสภาพทพี่ ึง
ประสงค์

ระยะเวลาประเมนิ
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ กาหนดการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ไว้ดังน้ี
1) การประเมินระหว่างการเรียนรู้ ให้ครูผู้สอนประเมินพัฒนาการตามจุดประสงค์การ
เรียนรขู้ องแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้
2) การประเมินรายภาคเรียน ให้ครูผู้สอนประเมินพัฒนาการตามมาตรฐาน
คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ปีการศึกษาละ 2 คร้งั และสรปุ ผล
3) การประเมินเมอื่ จบหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย
เอกสาร/หลักฐานแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการ
1) สมุดบันทึกพฒั นาการ (อบ.1)
2) สมดุ บันทึกพฒั นาการ (อบ.2)

2.4.43 กำรบริหำรจัดกำรหลักสตู รสถำนศกึ ษำปฐมวยั
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) กาหนดภารกิจการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวยั ไวด้ งั นี้

1) กำรเตรียมควำมพร้อมของสถำนศึกษำ การเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษาใน
การ
บริหารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่

1.1) สร้างความตระหนักให้แก่บุคคล ซ่ึงประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้บรหิ าร ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน ทั้งน้ีเพอ่ื ให้เห็นความสาคัญ ความจาเป็นที่ตอ้ งร่วมมือกัน
บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา โดยมีข้อมูลที่แสดงความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีเอกสารและหลักฐานเผยแพร่
ความรู้เก่ียวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องมีความสนใจ และกระตือรือร้นท่ีจะ
หาความรูเ้ ก่ียวกับหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

1.2) พฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษาให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การพฒั นา
หลักสูตรสถานศึกษา โดยมีคณะทางานที่รับผิดชอบเอกสารหลักสูตร มีข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ
พัฒนาความรู้เก่ียวกับการศึกษาปฐมวัยของบุคลากรในสถานศึกษา และมีบัญชีรายชื่อสถานศึกษาและ
แหลง่ เรียนรู้

1.3) ดาเนินการแต่งต้ังคณ ะกรรมการของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการการศึกษาปฐมวัย และคณะกรรมการอื่น ๆ ตามความ
จาเป็น และช้ีแจงให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเข้าใจบทบาทหน้าท่ีของตนเองสอดคล้องกับ
นโยบายของสถานศกึ ษา

1.4) จัดทาระบบสารสนเทศของสถานศึกษา มีการจัดทาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน
ชุมชน และข้อมูลการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีข้อมูลเก่ียวกับการจัดทาหลักสูตรทั้งในอดีต

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 56

ปัจจุบัน และอนาคต และจะต้องเป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีมีคุณภาพทั้งในด้านความถูกต้อง เชื่อถือได้มี
ความเปน็ ปัจจุบัน สามารถตอบสนองผ้ใู ชไ้ ดท้ ันเหตุการณ์

1.5) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โดยนาข้อมูลสารสนเทศของ
สถานศึกษา ชุมชน มาใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีความสอดคล้องกับสภาพของ
สถานศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท้ังระบบท่ัวทั้งองค์กร
กาหนดเปน็ แผนพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยทุกกจิ กรรมท่ีเป็นองค์ประกอบหลกั ของระบบการจัดการศึกษา
ไดแ้ ก่ หลักสูตร การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ การประเมนิ พฒั นาการ การบริหารจดั การ การปกครอง
การพัฒนาวิชาชีพ บุคลากร การบริหารงบประมาณ และการมีส่วนรว่ มของผูป้ กครอง ชุมชน จัดทาเป็น
เอกสารให้ทุกคนรบั ทราบและดาเนนิ การตามแผนพฒั นาทก่ี าหนดข้นึ

1.6) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้กับผู้ปกครอง นักเรียน หน่วยงาน องค์กรใน
ชุมชนทุกฝ่ายได้รับทราบด้วยวิธีการที่หลากหลาย และขอความร่วมมือ โดยมีการประชาสัมพันธ์
หลักสูตร ความเคล่อื นไหวของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยใหก้ บั บุคลากรในสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน
ทราบ และบคุ ลากรทุกฝา่ ยอาสาท่ีจะชว่ ยเผยแพร่ประชาสมั พันธ์

2) กำรจดั ทำหลักสตู รสถำนศกึ ษำปฐมวัย
2.1) ศกึ ษา วิเคราะห์ขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วข้อง
2.2) กาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมายของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใน

ระดบั ปฐมวัย
2.3) กาหนดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
2.4) กาหนดโครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย สาระการเรยี นรรู้ ายปี
2.5) กาหนดการจัดประสบการณ์
2.6) กาหนดการสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้
2.7) กาหนดการประเมินพัฒนาการ
2.8) กาหนดส่อื และแหลง่ เรียนรู้
2.9) กาหนดการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร การนาหลักสูตรไปใช้ การจดั งบประมาณ

อาคารสถานที่ วัสดอุ ุปกรณ์ และบุคลากรให้สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รสถานศึกษา
3) กำรวำงแผนดำเนนิ กำรใชห้ ลักสตู ร
3.1) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมท่ีดีในโรงเรียน เช่น

สะอาดปลอดภัย สะดวกสบาย และส่งเสริมการใฝร่ ู้ สนองความสนใจทีจ่ ะเรียนรู้ คน้ คว้า ทดลอง และ
สัมผัสของเด็ก จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมกับความต้องการของเด็ก รวมถึงสอดคล้องกับ
สภาพและความตอ้ งการของหลกั สตู ร เพอื่ ส่งผลให้บรรลจุ ุดหมายในการพัฒนาเดก็

3.2) จัดหา เลือกใช้ ทาและพัฒนาสื่อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช
2560และหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง พัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ใช้สื่ออย่างเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล ความสนใจและความตอ้ งการของเดก็ ทห่ี ลากหลาย โดยมีแนวทางดงั นี้

3.2.1) จดั ทาและจัดหาสอ่ื ทม่ี ีอยู่ในท้องถนิ่ มาประยกุ ต์ใช้เปน็ ส่ือการเรยี นรู้
3.2.2) ศกึ ษา คน้ คว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสอื่ การเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการ
เรียนร้ขู องผเู้ รียน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 57

3.2.3) จัดทาและจัดหาสื่อ สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน และสาหรับ
เสรมิ ความร้ขู องผสู้ อน

3.2.4) ศึกษาวิธกี ารเลือกและการใช้สือ่ การเรยี นร้อู ย่างมปี ระสิทธิภาพเหมาะสม
หลากหลายและสอดคลอ้ งกับวิธกี ารเรียนรู้ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

3.2.5) ศึกษาวิเคราะห์และประเมินคุณภาพมาตรฐานสื่อการเรียนรู้ท่ีจัดทาข้ึน
เองและทเ่ี ลอื กนามาใช้ประกอบการเรียนรู้

3.2.6) จัดหาและจัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ที่ประสิทธิภาพใน
สถานศึกษาและในชุมชน เพื่อศกึ ษาคน้ คว้า แลกเปล่ียนประสบการณก์ ารเรยี นรู้

3.2.7) จัดให้มีเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
ระหว่างสถานศึกษา ทอ้ งถิน่ ชุมชนและสังคมอื่น

3.2.8) จัดให้มีการกับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานเก่ียวกับส่ือ และ
การใช้ส่อื การเรียนรู้เป็นระยะ ๆ

3.3) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการ
เรียนรู้ของเด็ก ใช้หลักการบูรณาการ โดยจัดประสบการณ์ผ่านการเล่น พัฒนาเด็กโดยองค์รวม จัด
เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และบริบทท่ีเด็กอาศัยอยู่ ให้เด็กได้เรียนรู้ทั้งกระบวนการและผลผลิตผ่านสื่อและแหล่ง
เรียนร้ทู ี่หลากหลาย โดยจัดการประเมนิ พัฒนาการเป็นกระบวนการอย่างตอ่ เนอื่ ง และให้ผปู้ กครองและ
ชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

4) กำรดำเนินกำรบริหำรหลักสูตร(กำรใชห้ ลักสตู ร)
การดาเนนิ การบริหารหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั คือการใชห้ ลักสูตรตามทศิ ทางท่ี

สถานศึกษากาหนดให้บรรลุผลสาเร็จ จัดการเรียนการสอนและดาเนินกิจกรรมต่างๆตามแผนปฏิบัติ
การของสถานศึกษา การดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นวิธีการท่ีดีสามารถใช้บริหาร
จดั การหลักสตู รได้ประสบผลสาเรจ็

5) กำรกำกับ ติดตำม ประเมนิ ผลและรำยงำน
5.1) การนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการหลักสูตรและงาน

วิชาการภายในสถานศึกษา โดยจัดระบบการกากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานคุณภาพการจัด
การศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบมองเห็นภาพความสาเรจ็ ปัญหา อุปสรรค
ตลอดจนการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนการวางแผนการดาเนินงานจัดการศึกษา
ปฐมวยั ให้มคี ุณภาพอยา่ งแท้จรงิ ดี

2.4.45 กำรเชอ่ื มตอ่ ของกำรศึกษำระดับปฐมวัยกับระดับประถมศกึ ษำปที ี่ 1
การเช่ือมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มีความสาคัญ
อย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับธรรมชาตกิ ารเรียนรู้และพัฒนาการ
ของเด็กแต่ละคน เพ่ือให้เด็กทุกคนสามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย โรงเรียนวัด
ชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) มีนโยบายให้บุคลากรทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องให้ความสนใจต่อการลด
ช่องว่างของความไม่เข้าใจในการจัดการศึกษาท้ังสองระดับ คือ ระดับการศึกษาปฐมวัย และ ระดับ
ประถมศึกษา ซ่ึงจะส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน ตัวเด็ก ผู้สอน ผู้ปกครองและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาอนื่ ๆท้ังระบบ โดยกาหนดใหผ้ ้สู อนระดบั ปฐมวัย กับผู้สอนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 สร้างความ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 58

เข้าใจร่วมกัน ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเป็นผู้ให้การ
สนับสนุนและช่วยเหลือทีเ่ หมาะสม เพอื่ ให้เดก็ สามารถปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงในช่วงรอยเช่ือมต่อ
ได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างราบร่ืนและ ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายหลักสูตรที่
กาหนดไว้

2.5. กำรประเมินหลักสูตร
2.5.1 รปู แบบกำรประเมนิ หลกั สูตร
ในเร่ืองรูปแบบของการประเมินหลักสูตร ได้มีนักวิชาการซึ่งเช่ียวชาญทางด้านหลักสูตร

และการประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกัน ซ่ึงสามารถนามาศึกษาเพ่ือเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ความต้องการ ในปัจจุบนั รูปแบบของการประเมนิ หลกั สตู รสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

2.5.1.1 รูปแบบของการประเมินหลักสูตรท่ีสร้างเสร็จใหม่ ๆ เป็นการ
ประเมินผลก่อนนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งในกลุ่มน้ีจะเสนอรูปแบบท่ีเด่น ๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตร
ดว้ ยเทคนคิ การวเิ คราะหแ์ บบปยุ แซงค์(Puissance Analysis Technique)

2.5.1.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตร ซ่ึงใน
กลุม่ น้ีสามารถแบ่งเปน็ กล่มุ ยอ่ ย ๆ ได้เป็น 3 กลุ่มดงั นี้

1) รูปแบบการประเมินหลักสูตรท่ียึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal
Attainment Model)

2) รูปแบบการประเมินหลักสูตรท่ีไม่ยึดเป้าหมาย (Goal Free
Evaluation Model)

3) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสินใจ (Decision
Making Model)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 59

บทที่ 3
วธิ กี ำรดำเนินกำรศกึ ษำ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วิทยาเวศม์) สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพ่ือจัดทารายงานการใช้
และพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) การประเมินหลักสูตรในคร้ังน้ี
คณะผูศ้ กึ ษาได้ดาเนนิ การ ดงั น้ี

วิธีดาเนินการศกึ ษาคน้ คว้าเรอื่ ง ศกึ ษาความพึงพอใจของคุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษา
ปฐมวัย ของหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ใน 3 ด้าน ดังน้ี

1. คุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัด
ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์

2. ด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
สาระการเรยี นร้รู ายปีของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)

3. องค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัดสภาพแวดล้อม ส่ือ
และแหลง่ เรียนรู้ของหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์

โดยการศึกษาความพึงพอใจของคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ของหลักสูตร
สถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ใน 3 ด้านตามลาดบั ดงั ต่อน้ี

1. ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
2. เครื่องมอื และวิธีการสร้างเครือ่ งมอื
3. การเกบ็ รวมรวมขอ้ มลู
4. การจดั กระทาขอ้ มลู
5. การวเิ คราะห์ข้อมูล
6. สถิติท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

1. ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง
ประชำกร ทใี่ ช้ในการศกึ ษาค้นคว้าครงั้ น้ี ไดแ้ ก่ ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ครผู ู้สอน นักเรยี น

โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ และผปู้ กครอง
กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ได้แก่ผู้บริหารโรงเรียน

คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และครูระดับชั้นปฐมวัย จานวน
20 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยใช้ตารางของทาโรยามาเน ( Toro Ymane)
ของ จานวน 20 คน ที่ระดับความเช่ือมั่น 95 % ยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน 10% รายละเอียด
ดังตารางท่ี 2

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 60

ตำรำงที่ 2 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ และสาระครูระดบั ชนั้ ปฐมวยั จานวน 20 คน แยกตามสถานภาพ

ตาแหน่ง/สถานภาพ ผ้บู รหิ ารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย
หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มและสาระ

ครรู ะดับช้นั ปฐมวยั จานวน 20 คน

ประชากร กลุ่มตวั อย่าง

ผบู้ ริหาร 22

คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย 8 8

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 8

ครูประจาช้ันระดบั ปฐมวยั 2 2

รวมทั้งสน้ิ 20 20

2. เครอื่ งมือและวธิ ีกำรสรำ้ งเคร่อื งมือ
เครอื่ งมือ

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในคร้ังน้ี เป็นแบบประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั ของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์) ทผ่ี ศู้ ึกษาสรา้ งขึ้นเอง เป็น
แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) แบง่ ออกเปน็ 2 ตอน คอื

ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ มลี ักษณะเปน็ แบบสารวจรายการ
(Check – List)

ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
ตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ และสาระครรู ะดบั ช้ันปฐมวยั จานวน 20 คน ดังน้ี

1. แบบสอบถามเพ่ือประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรและกิจกรรมของโรงเรียนวัด
ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ โดยประเมิน 3 ดา้ น ดังน้ี

1.1 ประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
วัดชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์

1.2 ประเมินด้านวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย มาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ ึง
ประสงค์สาระการเรยี นรรู้ ายปขี องหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 61

1.3 ประเมินองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัด
สภาพแวดล้อม ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม์)

2. รวบรวมข้อมูลจากการประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) และ
ข้อเสนอแนะเพื่อเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสมบูรณ์ยิ่งๆ
ข้ึนไป

เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่ามี 3 ระดับ คือ ระดับความพึงพอใจมาก ปานกลาง น้อยที่สุด

โดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนนดังนี้

พึงพอใจมาก ได้ 3 คะแนน
พงึ พอใจปานกลาง ได้ 2 คะแนน
พึงพอใจน้อยทีส่ ุด ได้ 1 คะแนน

วิธกี ำรสร้ำงเครอื่ งมือ

การสรา้ งเคร่ืองมือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ความพึงพอใจเกี่ยวกบั ประเมินการบริหารและ
การจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผู้ศกึ ษาได้สร้างขน้ึ เอง ตามข้นั ตอนดังน้ี

1. ศึกษาหลักการทฤษฎจี ากตารา เอกสาร บทความทางวชิ าการและงานวจิ ัย

2. นาข้อมลู ทีไ่ ด้มากาหนดกรอบแนวความคิดในการวิจัย

3. สร้างเครอ่ื งมอื เป็นแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale)

3 ระดับ คือ น้อยที่สุด ปานกลาง มากที่สุด จานวน 39 ข้อ ให้ข้อคาถามมีความเท่ียงตรงใน
เน้ือหาและครอบคลุม

4. นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเพ่ือหาความเท่ียงตรงตามเนื้อหา
(Validity) ใชด้ ัชนคี วามสอดคลอ้ ง (Index of congruence: IOC) โดยกาหนดคะแนนไวด้ งั นี้

ถ้าเห็นว่า สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน +1

ถ้าเหน็ วา่ ไมแ่ นใ่ จ ให้คะแนน 0

ถ้าเห็นวา่ ไม่สอดคลอ้ ง ให้คะแนน -1

ถา้ ค่าดัชนีความสอดคล้องสูงกวา่ 0.5 ถือวา่ อยู่ในเกณฑ์ใช้ได้อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ ถ้าต่ากว่าน้ัน
จะตอ้ งนามาปรับปรุง แก้ไข ตามข้อเสนอแนะ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 62

5. นาแบบสอบถามท่ีปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียนท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 20 คน แล้วนามาหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธ์แอลฟ่า
(Alpha Cofficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) มีคา่ เท่ากับ 0.92

6. นาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ นาไปใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการวจิ ัยตอ่ ไป

3. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. ผู้ศึกษาขอหนังสือจากโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ถึงผู้บริหารโรงเรียน

คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ และสาระครูระดบั ชั้นปฐมวัย จานวน 20
คน เพือ่ ขอความอนเุ คราะหใ์ หเ้ กบ็ ข้อมลู ในการศึกษา

2. ผู้ศึกษานาหนังสือเรียนขออนุญาตจากผู้อานวยการโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม)์ เพ่ือขอความร่วมมือให้ผู้บริหาร คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
และสาระครูระดับชัน้ ปฐมวัย จานวน 20 คน

3. ผู้ศึกษาสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากผู้บริหาร คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้ 8 กลุ่มและสาระครูระดับชั้นปฐมวัย จานวน 20 คน โดยคิดจากจานวนที่มีอยู่จริง โดยคิดเป็น
รอ้ ยละ 100

4. ผู้ศึกษาชี้แจงวัตถุประสงค์ของการศึกษาและวิธีการตอบแบบสอบถาม แล้วรอรับ
แบบสอบถามกลบั คืนในวันเดียวกนั

4. กำรจัดกระทำขอ้ มลู

ผู้ศกึ ษาไดด้ าเนนิ การจัดกระทาข้อมูล โดยดาเนินการตามข้ันตอนดังนี้

1. นาแบบสอบถามที่ได้รบั คืนมาตรวจความถูกต้องของแบบสอบถามท้งั หมด แล้ว

นบั จานวนและคดิ เป็นร้อยละ จาแนกตามตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง

2. นาแบบสอบถามตอนท่ี 2 แบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale )

แบง่ ระดบั การประมาณคา่ ออกเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี

พงึ พอใจมาก ได้ 3 คะแนน

พงึ พอใจปานกลาง ได้ 2 คะแนน

พึงพอใจน้อยทสี่ ดุ ได้ 1 คะแนน

5. กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล
ผศู้ ึกษาได้ดาเนินการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี

1. แบบสอบถามตอนท่ี 1 เปน็ แบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพของประชากร ใช้วิธี

คานวณหาค่าความถ่แี ละร้อยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ไดแ้ ก่ เพศ อายุ
ตาแหนง่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 63

2. แบบสอบถามตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกยี่ วกบั ประเมินการบริหารและการจัดการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาตามเครื่องมือของกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงาน

เขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บรหิ ารโรงเรยี น

คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มและสาระครูระดับชน้ั ปฐมวยั จานวน 20

คน วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการหาค่าเฉลยี่ ( X ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.)

แปลความหมายของคา่ เฉลย่ี โดยถอื เกณฑ์ดังน้ี

คะแนนเฉล่ีย 2.50-3.00 หมายความว่า พงึ พอใจมาก

คะแนนเฉลย่ี 1.50-2.49 หมายความวา่ พึงพอใจปานกลาง

คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.49 หมายความว่า พึงพอใจน้อยท่สี ุด

3. นาคะแนนทีไ่ ด้มาหาคา่ สถิติด้วยเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรปู Microsoft

office Excel

6. สถติ ทิ ใี่ ช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู

1. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ เพ่ือความเชื่อม่ันของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยวิธีหา
ค่าสัมประสิทธแิ อลฟ่า (Alpha Coeffcient) ตามวิธขี องครอนบาค (Cronbach)

2. หาค่าร้อยละ (Percentage) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ % ใช้สูตร (ธานินทร์ ศิลป์จารุ
,2549 : 153 )

ร้อยละ (%) = χ 100
Ν

เมื่อ X คือ จานวนขอ้ มูลท่ตี ้องการนามาหาคา่ รอ้ ยละ

N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด

3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean, X ) ใช้สูตร (ธานินทร์ ศิลป์จารุ , 2549 :
152)

เม่ือ X X =  



แทน คา่ เฉลี่ยของกลุ่มประชากร

  แทน ผลรวมของขอ้ มลู ทั้งหมด

N แทน จานวนประชากร

4. ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation, S.D.) สตู ร (ธานนิ ทร์ ศลิ ป์จารุ , 2549 :
167)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 64

S.D.     2



เมอื่ S.D. แทน คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

X แทน ขอ้ มลู แต่ละจานวน

X แทน ค่าเฉลย่ี ของกล่มุ ประชาชน

N แทน จานวนประชากร

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 65

บทท่ี 4
วิธกี ำรดำเนนิ กำรศกึ ษำ

การประเมินหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ผู้ศึกษาได้นาข้อมูลที่ได้ มาทาการวิเคราะห์ และนาเสนอตามลาดับ
ดังตอ่ ไปนี้

การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเร่ืองการศึกษาความพึงพอใจของ การ
บริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียน
คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และครูระดับปฐมวัยผู้ศึกษาได้
เสนอการวิเคราะหข์ ้อมลู และการแปรผลตามลาดับดังนี้

1. สัญลกั ษณท์ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
2. ขน้ั ตอนการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู
S.D แทน คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน ขอ้ มลู แต่ละจานวน
 แทน คา่ เฉลยี่ ของกลมุ่ ประชาชน
N แทน จานวนประชากร

ขนั้ ตอนกำรนำเสนอผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 2 ตอน ตามวัตถุประสงค์ของ

การศึกษา ดังน้ี
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของประชากร ใช้วิธีคานวณหาค่าความถ่ี

และรอ้ ยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหน่ง
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4

ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มและสาระครูระดับชั้นปฐมวัย จานวน 20 คน ในการบริหาร
และการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เป็นรายดา้ นและภาพรวม

ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของประชากร ใช้วิธีคานวณหาค่าความถี่
และรอ้ ยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหนง่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 66

ในตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทว่ั ไปเกยี่ วกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถามวิเคราะห์
ข้อมูลโดยหาค่ารอ้ ยละ (Percentage) ไดผ้ ลการวิเคราะห์ ดังตารางที่ 4

ตำรำงท่ี 4 แบบสอบถามตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพของประชากร ใช้วิธี
คานวณหาค่าความถแ่ี ละร้อยละและจาแนกตามสถานภาพของบุคลากร ไดแ้ ก่ เพศ อายุ
ตาแหนง่

ข้อมูลพ้นื ฐำน จำนวน ร้อยละ

เพศ

ชาย 2 10.00

หญิง 18 90.00

อำยุ

7-9 ปี - 0.00

12-10 ปี 2 10.00

40 -20 ปี 7 35.00

50-41 ปี 5 25.00

51-60 ปี 3 15.00

60 ปขี ้ึนไป 3 15.00

สถำนะตำแหนง่ หนำ้ ที่/

ผู้บริหารสถานศกึ ษา 1 5.00

ผู้แทนครู 2 10.00

ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 2 10.00

ครู 7 35.00

ผู้แทนผปู้ กครอง 2 10.00

ผู้แทนชมุ ชน 2 10.00

ผู้แทนนักเรยี น 2 10.00

ผแู้ ทนคณะกรรมการสถานศึกษา 2 10.00

จากตารางท่ี 4 ผกู้ รอกแบบสอบถามจานวนท้ังสน้ิ 20 คน เป็นชายรอ้ ยละ 10 เป็นผูห้ ญงิ

ร้อยละ 90 ช่วงอายุ 10-12 ปี 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 10 ช่วงอายุ 20- 40 ปี 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35

ชว่ งอายุ 41-50 ปี 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 25 ช่วงอายุ 51-60 ปี 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ชว่ งอายุ 60 ปี

ขน้ึ ไป คิดเป็นร้อยละ 15 สถานะ/ตาแหนง่ หน้าท่ี ผู้บริหารสถานศกึ ษาจานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5

ผูแ้ ทนครู 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10 ผู้ทรงผทู้ รงคุณวุฒิ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ครจู านวน 7 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 35 ผแู้ ทนผปู้ กครอง 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ผูแ้ ทนชมุ ชน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ผู้แทน

นกั เรยี น 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 10 ผแู้ ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหร์ ะดบั ความพึงพอใจของผบู้ รหิ ารโรงเรยี นคณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย หวั หน้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ และสาระครรู ะดับชน้ั ปฐมวัย จานวน 20 คน ในการบรหิ ารและการจดั การ
หลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สานกั งาน
เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เป็นรายด้านและภาพรวม

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 67

ตำรำงที่ 5 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผบู้ ริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝา่ ย หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ และสาระครูระดบั ชัน้ ปฐมวัย ในการ

บริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ในภาพรวม ดังน้ี

รำยกำรประเมนิ และตวั ชวี้ ัด  S.D. ระดบั ควำมพึงพอใจ
1. ดา้ นคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา 0.35 มาก
2.86

ปฐมวยั การบรหิ ารจดั การหลักสตู ร

2. ดา้ นวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย 2.84 0.37 มาก

จดุ ม่งุ หมาย มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึง

ประสงคส์ าระการเรียนรูร้ ายปี

3. ดา้ นองคป์ ระกอบการจดั เวลาเรยี น 2.89 0.30 มาก

การจดั ประสบการณ์ การจดั

สภาพแวดล้อม สอื่ และแหลง่ เรียนรู้

พฒั นาการ

รวม 2.86 0.34 มำก

จากตารางที่ 5 แสดงถงึ ความพึงพอใจของผบู้ รหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย

หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดบั ช้ันปฐมวยั พบวา่ ในภาพรวมอยูใ่ นมคี วามพึง

พอใจอยู่ใน ระดับมาก (คา่ เฉลย่ี = 2.86 ) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายด้านมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก

ที่สุด เรยี งลาดบั ค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดงั น้ี ดา้ นวิสยั ทัศน์ พันธกจิ เปา้ หมาย จุดมุง่ หมาย

มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคส์ าระการเรยี นรู้รายปี คา่ เฉล่ีย = 2.84 ดา้ นคุณภาพหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวัย การบริหารจดั การหลกั สตู ร ค่าเฉล่ีย = 2.86 ด้านองคป์ ระกอบการจดั เวลาเรยี น

การจัดประสบการณ์ การจดั สภาพแวดลอ้ ม สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ พฒั นาการ คา่ เฉลยี่ = 2.89

ตำรำงที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดับช้ันปฐมวัย ในการบริหารและการ

จัดการหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การบริหารจัดการหลักสูตร

ดังนี้

รำยกำรประเมนิ และตวั ชี้วดั  S.D. ระดับควำมพึงพอใจ
คณุ ภำพหลกั สูตรสถำนศกึ ษำปฐมวัย

1. แสดงแนวคดิ และความเชอ่ื ในการ 2.9 0.30 มาก

จัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาเด็กปฐมวยั

ชดั เจน ครบถว้ น

2. มคี วามสอดคล้องกบั หลักสตู ร 2.8 0.41 มาก
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 68

รำยกำรประเมินและตวั ชีว้ ดั  S.D. ระดบั ควำมพึงพอใจ
คณุ ภำพหลกั สูตรสถำนศกึ ษำปฐมวัย
2.8 0.41 มาก
3. มีความเชอ่ื มโยงกับความเชอื่ ในการจัด 2.85 0.37 มาก
การศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวยั 2.8 0.41 มาก
2.9 0.30 มาก
4. ผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ 2.9 0.30 มาก
กาหนดปรัชญาการศึกษา 2.9 0.30 มาก
2.9 0.30 มาก
5. มีความพร้อมด้าน ครู บคุ ลากร และ
ข้อมูลสารสนเทศ 2.85 0.36 มาก

6.มงี บประมาณและทรัพยากรสนบั สนุน 2.9 0.30 มาก
เพียงพอ
2.85 0.36 มาก
7.มกี ารวางแผนการประเมินหลักสูตร
สถานศึกษา

8.มีแผนการนเิ ทศ ตดิ ตามการนาหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวัยสูก่ ารปฏบิ ัติ

9.ผบู้ รหิ ารมีการวางแผนและสรา้ งความ
เข้าใจแก่ ผสู้ อนปฐมวยั ผูส้ อนประถมศึกษา
ที่เก่ยี วขอ้ ง พ่อแม่ ผปู้ กครอง และชุมชน ใน
การสรา้ งรอยเช่ือมตอ่ ของหลกั สูตรทั้งสอง
ระดับ

10.ครูผ้สู อนปฐมวยั และประถมศกึ ษา มีการ
แลกเปลย่ี นและกาหนดแนวทางการทางาน
รว่ มกนั

11. มแี นวทางการจัดกจิ กรรมให้เดก็ ปฐมวยั
มคี วามพรอ้ มในการเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี 1 ของครูผู้สอนรว่ มกันด้วยวธิ กี าร
หลากหลาย

12.มีการจัดเตรยี มข้อมูลสารสนเทศของเดก็
ปฐมวยั รายบคุ คลสง่ ต่อชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี
1 เพอ่ื การวางแผนพฒั นาเดก็ ร่วมกัน

รวม 2.86 0.35 มำก

จากตารางที่ 6 แสดงถงึ ความพึงพอใจของผ้บู ริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดบั ช้ันปฐมวัย พบวา่ ในภาพรวมอยใู่ นมีความพึง

พอใจอยใู่ น ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 2.86 ) เม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

เรียงลาดบั ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังน้ี แสดงแนวคิดและความเช่ือในการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นา

เด็กปฐมวัย ชัดเจน ครบถ้วน ค่าเฉลี่ย = 2.9 มงี บประมาณและทรพั ยากรสนับสนุนเพียงพอ ค่าเฉล่ีย

= 2.9 มีการวางแผนการประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา ค่าเฉลี่ย = 2.9 มแี ผนการนิเทศ ตดิ ตามการ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 69

นาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยสูก่ ารปฏบิ ตั ิ คา่ เฉลย่ี = 2.9 ด้านผูบ้ ริหารมีการวางแผนและสร้าง
ความเขา้ ใจแก่ ผสู้ อนปฐมวยั ผู้สอนประถมศึกษา ทเี่ ก่ยี วข้อง พ่อแม่ ผู้ปกครอง และชมุ ชน ในการสร้าง
รอยเชื่อมต่อของหลักสูตรทง้ั สองระดบั ค่าเฉลย่ี = 2.9 ด้านมแี นวทางการจัดกิจกรรมใหเ้ ด็กปฐมวยั
มีความพร้อมในการเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ของครผู ู้สอนรว่ มกันดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย คา่ เฉลยี่
= 2.9 ด้านผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนดปรัชญาการศึกษา ค่าเฉลีย่ = 2.85 ดา้ น
ครผู สู้ อนปฐมวัยและประถมศึกษา มีการแลกเปลี่ยนและกาหนดแนวทางการทางานร่วมกนั ค่าเฉลี่ย
= 2.85 ด้านมกี ารจัดเตรยี มข้อมูลสารสนเทศของเด็กปฐมวัยรายบุคคลสง่ ต่อช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 เพ่ือ
การวางแผนพฒั นาเด็กร่วมกัน คา่ เฉลย่ี = 2.85 ด้านมีความสอดคล้องกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช 2560 คา่ เฉลี่ย = 2.80 ด้านมคี วามเชื่อมโยงกบั ความเช่ือในการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นา
เด็กปฐมวยั ค่าเฉลี่ย = 2.80 ดา้ นมคี วามพรอ้ มดา้ น ครู บคุ ลากร และขอ้ มลู สารสนเทศ

ตำรำงที่ 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดับช้ันปฐมวัย ในการบริหารและการ

จัดการหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงคส์ าระการเรียนรรู้ ายปี ดังนี้

รำยกำรประเมินและตวั ชวี้ ดั  S.D. ระดบั ควำมพึงพอใจ
ด้ำนวิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้ำหมำย

จุดหมำย มำตรฐำนคุณลักษณะทีพ่ งึ

ประสงค์ สำระกำรเรียนรรู้ ำยปี

1. วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมาย 2.81 0.39 มาก

2. จุดหมาย 2.87 0.33 มาก

3. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึง 2.85 0.36 มาก
ประสงค์

4. สาระการเรยี นรู้รายปี 2.83 0.38 มาก

รวม 2.84 0.36 มำก

จากตารางท่ี 7 แสดงถึงความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดับช้ันปฐมวัย พบว่าในภาพรวมอยู่ในมีความพึง

พอใจอยู่ใน ระดับมาก (ค่าเฉลยี่ = 2.84 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านจุดหมาย ค่าเฉลี่ย = 2.87 ด้านมาตรฐาน

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ค่าเฉลี่ย = 2.85 ด้านสาระการเรียนรู้รายปี ค่าเฉลี่ย = 2.83 ด้าน

วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าหมาย ค่าเฉลยี่ = 2.81

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 70

ตำรำงท่ี 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดับช้ันปฐมวัย ในการบริหารและการ

จัดการหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัด

สภาพแวดล้อม ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ พัฒนาการ การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร ดังนี้

รำยกำรประเมนิ และตัวชี้วัด  S.D. ระดับควำมพึงพอใจ

ดา้ นองค์ประกอบการจดั เวลาเรยี น การจัด

ประสบการณ์ การจัดสภาพแวดลอ้ ม สือ่ และ

แหลง่ เรยี นรู้ พัฒนาการ

การบริหารจัดการหลักสูตร

1. การจัดเวลาเรียน 2.87 0.34 มาก

2. การจัดประสบการณ์ 2.83 0.35 มาก

3. การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และแหล่งเรยี นรู้ 2.88 0.33 มาก

4. การประเมินพัฒนาการ 2.88 0.34 มาก

รวม 2.88 0.32 มาก

จากตารางท่ี 8 แสดงถึงความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และสาระครูระดับช้ันปฐมวัย พบว่าในภาพรวมอยู่ในมีความพึง

พอใจอยูใ่ น ระดับมาก (ค่าเฉล่ีย = 2.88 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปาน

กลาง เรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังน้ี ด้านการจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และแหล่งเรียนรู้

ค่าเฉล่ีย = 2.88 ด้านการประเมินพัฒนาการ ค่าเฉลี่ย = 2.88 ด้านการจัดเวลาเรียน ค่าเฉล่ีย

= 2.87 ดา้ นการจัดประสบการณ์ คา่ เฉลี่ย = 2.83

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 71

ตำรำงที่ 9 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอในของผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ และสาระครูระดับชน้ั ปฐมวัย สรุปผลกำรประเมินจำก

กำรสำรวจขอ้ มลู ของผ้ใู หข้ ้อมลู หลัก ดงั น้ี

รำยกำรประเมินและตัวชี้วดั  S.D. ระดับควำมพึงพอใจ

สรปุ ผลกำรประเมินจำกกำรสำรวจขอ้ มลู ของ

ผู้ให้ข้อมลู หลกั

สรปุ ผลการประเมินการบรหิ ารและการ 2.87 0.34 มาก

จัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเคร่ืองมือของ

ก ลุ่ ม นิ เท ศ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร จั ด

การศึกษา สานักงานเขตพ้ื นที่การศึกษา

ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจาก

ผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระและ

ครูระดับช้ันปฐมวัย จานวน 20 คน นามา

วิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทารายงานผล

การใชแ้ ละพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ประจาปี

การศกึ ษา 2562

รวม 2.87 0.34 มาก

จากตารางท่ี 9 แสดงถึงความพึงพอใจของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ และสาระครรู ะดับชั้นปฐมวัย พบว่าในภาพรวมอยใู่ นมีความพึง

พอใจอย่ใู น ระดบั มาก (ค่าเฉล่ีย = 2.87) เมอ่ื พจิ ารณาสรุปผลการประเมนิ การบรหิ ารและการ

จดั การหลกั สูตรสถานศึกษาตามเครอ่ื งมือของกลุ่มนิเทศติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจากผูบ้ ริหารโรงเรียนคณะกรรมการ

ภาคี 4 ฝา่ ย หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระและครรู ะดับชั้นปฐมวัย จานวน 20 คน นามา

วิเคราะห์ ประมวลผล ในการจดั ทารายงานผลการใช้และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ประจาปี

การศกึ ษา 2562 ค่าเฉล่ีย = 2.87 มีการปฏิบตั ิครบถว้ นและชดั เจน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 72

บทท่ี 5
สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ

การศึกษาครั้งน้ีผู้ศึกษามุ่งท่ีจะประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วิทยาเวศม์) โดยมี วัตถปุ ระสงค์

1) ประเมนิ คุณภาพหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ของหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดชินวราราม
(เจริญผลวิทยาเวศม)์

2) ประเมินด้านวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาระ
การเรียนรู้รายปีของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์

3) ประเมินองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัดสภาพแวดล้อม ส่ือ
และแหลง่ เรียนรู้ของหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์

4) ประเมนิ การใช้และพฒั นาหลกั สูตรจากผู้บริหารและครผู ูส้ อน
5) จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เพ่ือ
สนองระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา

สรปุ ผลการประเมนิ
ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)
พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” โดยสรุปผลการประเมนิ ดงั นี้

5.1 สรุปผลการประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเครื่องมือของกลุ่ม
นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี
เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้ 8 กลุ่มและสาระครูระดับชั้นปฐมวัย จานวน 20 คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทา
รายงานผลการใชแ้ ละพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2562

ระดบั การปฏิบตั ิ 1 มีการปฏิบตั ไิ ม่ครบ และไม่ชัดเจน(น้อยทส่ี ดุ )
ระดบั การปฏบิ ตั ิ 2 มกี ารปฏิบัติครบถ้วน แต่ไมช่ ัดเจน(ปานกลาง)
ระดับการปฏบิ ัติ 3 มกี ารปฏิบตั คิ รบถว้ น และชดั เจน(มาก)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 73

ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมอืน่ ๆ
1. ควรมีการพัฒนาปรบั ปรุงสูห่ ลักสตู รท้องถนิ่ ให้นกั เรียนในระดับปฐมวัยได้เรยี นรู้
2. ควรจดั จานวนหอ้ งเรยี นใหเ้ พยี งพอต่อนักเรยี นเพ่ือการเรียนรู้ท่ีท่ัวถึง
3. การบริหารจดั การหลกั สตู ร ควรมีการนิเทศเพ่ือกากบั ติดตามการนาหลกั สูตรไปใช้อย่าง

ต่อเน่อื งเพื่อให้การจดั การบริหารหลักสตู รสถานศกึ ษาดาเนินไปอย่างถูกทศิ ถูกทางและถกู ต้อง ส่งผลให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผลในการใช้หลักสตู รทด่ี ียงิ่ ๆ ข้นึ ไป

อภปิ รำยผลกำรประเมนิ หลักสูตร
จากผลการประเมินการใช้หลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)

พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ประเมินการบริหารและการจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาตามเคร่ืองมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี
4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระและครูระดับช้ันปฐมวัย ตัวแทนนักเรียน จานวน 20
คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทารายงานผลการใช้และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ประจาปีการศึกษา 2562 ปรากฏผลของการ การจดั ประสบการณ์โดยใชห้ ลักการบูรณาการผ่านการเล่น
ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยของเด็ก ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย
เหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก เน้นให้เด็กลงมือปฏิบัติ ริเริ่มและมีส่วนร่วมในการออกแบบ
กจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ ปิดโอกาสใหเ้ ด็กมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับบคุ คล สื่อ และใชแ้ หล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะชีวิตและการปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาส่งเสริม
การพฒั นาการใหเ้ ด็กเป็นเด็กดี มวี นิ ัย และมคี วามเป็นไทย ในภาพรวมมกี ารปฏิบัติและมคี วามชดั เจน

ขอ้ เสนอแนะ
1. การประเมินการใชห้ ลกั สตู รคร้งั ตอ่ ไป ควรพัฒนาเครือ่ งมอื ให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมลู ได้

ครอบคลุมประเด็นมากย่ิงข้นึ
2. ควรประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษา ดว้ ยรูปแบบของการวิจัยเตม็ รปู แบบ ทุกๆ 3 ปี
3. ควรจัดการประเมินเมินหลกั สตู รแยกตามกจิ กรรมทจี่ ดั และตามแผนการจัดการเรยี นรู้จะทา

ให้ไดข้ ้อมลู เพ่ือการพัฒนาให้ดยี ่งิ ๆ ข้นึ ไป
4. โรงเรียนต้องนาข้อเสนอแนะจากทุกขัน้ ตอน มาดาเนนิ การแก้ไขปัญหา เชน่ ปัญหาดา้ นการ

จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถพัฒนางานการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ
ประสทิ ธิผลเพอ่ื ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 74

บรรณำนกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

จงฤดี ไสยสัตย.์ (2549). การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาของโรงเรยี น ในสังกัดสานักงานเขต
ใจทิพย์ เช้ือรตั นพงษ.์ (2539). การพัฒนาหลกั สูตร : หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพค์ รง้ั ที่
3.กรุงเทพฯ: อลนี เปรส.

ชวลิต ชูกาแพง. (2551). การพฒั นาหลกั สตู ร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ: คิวพ.ี
ทวีศักดิ์ จนิ ดานรุ ักษ์. (2549). “การพฒั นาหลักสูตร” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการประเมนิ หลกั สตู ร

และการเรียนการสอน หน่วยท่ี 2. นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราชสาขาวิชา
ศึกษาศาสตร.์
ธีรชยั เนตรถนอมศกั ด.์ิ (2550). “การพัฒนาหลักสูตร” ใน เอกสารประกอบการสอนวชิ า 230401.
ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
นิภารัตน์ ทพิ โชติ. (2550). การประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาช่วงช้นั ท่ี 1 และ 2 : กรณีศกึ ษา
โรงเรยี นวดั บงึ ทองหลาง เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธ์การศึกษา
มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวทิ ยาลยั ศรีนคริ
นทรวโิ รฒ.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2547). วิธกี ารทาสถิติสาหรบั การวิจัย. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ:สุรยิ าสาสน์ การ
พมิ พ์.117
บญุ ศรี พรหมมาพนั ธ.์ุ (2551). "สมั มนาการประเมนิ หลักสตู ร" ใน ประมวลสาระวิชาสมั มนาการ
ประเมินการศกึ ษา หนว่ ยท่ี 12. นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าชสาขาวิชา
ศึกษาศาสตร.์
ประชุม รอดประเสริฐ. (2539). การบรหิ ารโครงการ. พมิ พ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ: เนติกลุ การพมิ พ.์
เปรอื่ ง จันดา. (2549). การบรหิ ารจดั การหลกั สตู รสถานศึกษาของสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาในจังหวดั เพชรบูรณ์. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎบี ัณฑิต
สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.พยนต์ ง่วนทอง. (2553).
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
ไพโรจน์ เตมิ เตชาติพงศ.์ (2551). รปู แบบของหลักสตู ร ในการพฒั นาหลักสูตร หน่วยที่ 3.ขอนแกน่ :
คลงั นานาวิทยา.
เยาวดี รางชัยกลุ วิบูลย์ศร.ี (2553). การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏบิ ตั ิ. พมิ พ์ครัง้ ที่ 7.
กรุงเทพฯ: สานักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (24 สงิ หาคม 2550). ราชกจิ จานเุ บกษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 75

บรรณำนกุ รม (ต่อ)

เล่ม 124 ตอนท่ี 74 ก.
ลดั ดาวัลย์ เพชรโรจน์. (2549). ความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกับการประเมนิ หลกั สตู รและการเรียนการสอนใน

ประมวลสาระชุดวชิ าการประเมินหลกั สตู รและการเรียนการสอน หน่วยที่ 3. นนทบรุ ี:
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
วฒั นาพร ระงบั ทุกข.์ (2544). การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ .
วชิ ัย วงษ์ใหญ.่ (2535). การประเมินหลกั สตู รใน ประมวลสาระชดุ วชิ าการพัฒนาหลกั สูตรและ
วธิ ีทางการสอน หนว่ ยท่ี 13. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.118
ศรสี มร พมุ่ สะอาด. (2549). “การประเมนิ หลกั สตู รและการเรยี นการสอน” ใน ประมวลสาระ
ชุดวชิ าการประเมนิ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน หนว่ ยท่ี 13. นนทบรุ ี:
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
ศิริชยั กาญจนวาส.ี (2545). "ทฤษฎกี ารประเมนิ และการตัดสนิ ใจ" ใน ประมวลสาระชดุ วิชา
การประเมนิ และการจัดการโครงการประเมนิ หนว่ ยท่ี 2. นนทบุรี:
มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.
_______. (2551). หลกั การและแนวปฏบิ ตั ิในการประเมนิ นโยบาย แผนงาน โครงการและหลกั สตู ร
ในประมวลสาระชุดวชิ าการประเมนิ และการจดั การโครงการประเมิน หน่วยที่ 12. นนทบุรี :
มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.
______. (2552). เทคนิคการประเมนิ โครงการ. พิมพ์คร้ังที่ 6. นนทบุร:ี จตุพร ดีไซน์.
______. (2553). หลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั
ปรบั ปรงุ 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. ปทมุ ธานี : โรงเรียนวดั
ชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์ .
สมชาย วางหา. (2550). การประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรียนบา้ นใหม่ อาเภอวงั ช้นิ
จังหวดั แพร่. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑติ
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
เสาวนี ตรีพทุ ธรัตน.์ (2551). ความรู้พน้ื ฐานเก่ียวกบั การพัฒนาหลักสูตร ใน การพัฒนาหลกั สูตร
หน่วยที่ 1. ขอนแก่น: คลังนานาวทิ ยา.
เสาวนี ตรพี ทุ ธรตั น์. (2547). ปัจจยั องค์กรทีส่ ่งผลต่อความมีประสทิ ธิภาพในการนาหลักสูตร
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2544 ไปใช้ในโรงเรียนสงั กัดสานักงานการศึกษาข้ัน
พื้นฐานภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . วทิ ยานิพนธป์ ริญญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหาร
การศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
เสาวนี ตรพี ทุ ธรตั น์ และคณะ. (2548). รายงานการประเมินผล หลักสูตรประกาศนยี บัตร แนวคดิ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 76

บรรณำนกุ รม (ต่อ)

พนื้ ฐานเก่ยี วกับการจดั การความขดั แยง้ ด้านนโยบายสาธารณะโดยสันตวิ ิธี ร่นุ ท่ี 3.
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
สนุ ยี ์ ภพู่ นั ธ์. (2546). แนวคดิ พืน้ ฐานการสรา้ งและการพัฒนาหลักสตู ร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
Eisner, E. (1985). The educational imagination. New York : Teacher College Press.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill Book.
Reinmannand, P. & Mandl (1999). Implementation. Konstruktivistischer
LernumgebungenIn Johannes - Kepler University, Australia. Curriculum Implemention -
Limiting andfacilitating factors.
Stufflebeam, Daniel L. (1973). “Education Evaluation and Decision – Making,” in
Education Evaluation : Theory and Practice. Belmont California : Wadssorth
Company.

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 77

ภำคผนวก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 78

ตำรำงท่ี 10 แสดงค่ำเฉลีย่ สรปุ ระดับควำมคดิ เหน็ ของระดบั กำรปฏบิ ัตงิ ำน

ตอนที่ 2 กำรประเมินคณุ ภำพหลักสูตรสถำนศึกษำปฐมวัย

ท่ี รำยกำร ผลกำรประเมิน สรุประดับควำมคิดเห็น

3 2 1 ของระดับกำรปฏิบัตงิ ำน

1 ปรัชญำกำรศึกษำปฐมวยั ของสถำนศึกษำ X = .284
1.1 แสดงแนวคิดและความเช่ือในการจัดการศึกษาเพื่อ มีการปฏิบัติครบถ้วน และ
พัฒนาเด็กปฐมวยั ชัดเจน ครบถว้ น ชัดเจน
2.1 มีความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั
พุทธศักราช 2560 X = .281
3.1 มีความเชือ่ มโยงกบั ความเช่ือในการจดั การศึกษาเพ่ือ มีการปฏิบัติครบถ้วน และ
พัฒนาเด็กปฐมวัย ชดั เจน
4.1 ผ้มู สี ว่ นเกย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนด
ปรชั ญาการศกึ ษา X = .287
มกี ารปฏิบัติครบถ้วน และ
2 วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้ำหมำย ชดั เจน
1.2 มคี วามชัดเจนและสอดคล้องกบั ปรัชญาการศึกษา
ปฐมวยั ของสถานศึกษา X = .285
2.2 แสดงความคาดหวังและวิธกี ารพฒั นาเด็กปฐมวัยใน มกี ารปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ
อนาคตได้ชัดเจน ชดั เจน
3.2 แสดงถึงจดุ เน้น อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ทีต่ อ้ งการของ
สถานศกึ ษา
4.2 มีการกาหนดเป้าหมายที่ต้องการในเชงิ ปริมาณหรือ
เชงิ คณุ ภาพ

3 จุดหมำย
1.3 มคี วามสอดคลอ้ งและครอบคลุมจุดหมายของ
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560
2.3 มคี วามสอดคล้องกบั ปรัชญา วิสยั ทัศน์ การศึกษา
ปฐมวัยของสถานศึกษา
3.3 มีความเปน็ ไปได้ในการนาไปสู่การปฏบิ ัตติ าม
จุดหมายท่ีกาหนดในหลกั สตู ร

4 มำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1.4 นามาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์และสภาพท่ีพงึ
ประสงค์ มากาหนดในหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั
ครบถว้ น

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 79

ที่ รำยกำร ผลกำรประเมิน สรุประดับควำมคิดเห็น
3 2 1 ของระดับกำรปฏิบตั งิ ำน
2.4 นามาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์และสภาพท่ีพงึ
ประสงค์มาจัดแบง่ กลมุ่ อายุเด็ก และระดับช้นั เรียนได้ X = .287
ชัดเจน ครบถว้ น มกี ารปฏิบตั ิครบถ้วน และ
ชัดเจน
5 กำรจัดเวลำเรยี น
X = .283
1.5 มีการกาหนดเวลาเรียนตอ่ 1 ปกี ารศึกษาไมน่ ้อยน้อย มีการปฏบิ ัติครบถว้ น และ
กวา่ 180 วัน ชดั เจน

2.5 มีการกาหนดเวลาเรียนแต่ละวนั ไมน่ ้อยกว่า X = .298
มกี ารปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ
5 ชั่วโมง ชดั เจน

3.5 มกี ารกาหนดชว่ งเวลาการจัดกิจกรรมประจาวนั
เหมาะสมกับวยั และความสนใจของเด็ก

6 สำระกำรเรียนรูร้ ำยปี

1.6 มีความสอดคล้องกบั มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึง
ประสงคใ์ นแต่ละชว่ งวยั

2.6 มกี ารกาหนดครอบคลุมประสบการณ์สาคญั และสาระ
ที่ควรเรยี นรู้ ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช
2560

3.6 มกี ารจดั แบ่งสาระการเรียนรู้เหมาะสมกับชว่ งเวลาใน
การจัดหนว่ ยประสบการณ์

กำรจัดประสบกำรณ์
1.7 มีกาหนดการจัดประสบการณ์โดยใช้หลักการ
บูรณาการผ่านการเลน่ ทส่ี อดคลอ้ งกับพฒั นาการตามวยั
ของเด็ก
7 2.7 มรี ูปแบบการจดั ประสบการณ์สอดคล้องกับปรัชญา
วสิ ยั ทศั น์ และจุดหมายของการจดั การศึกษาปฐมวยั
3.7 มีกาหนดการจัดประสบการณ์แต่ละช่วงอายทุ ่ี
เหมาะสมกับวยั และความสนใจของเด็ก
4.7 มีกาหนดการจัดประสบการณ์เนน้ ให้เด็กลงมือปฏบิ ัติ
ริเริ่มและมีส่วนรว่ มในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 80

ที่ รำยกำร ผลกำรประเมนิ สรุประดับควำมคิดเห็น
3 2 1 ของระดับกำรปฏิบัติงำน
5.7 มกี าหนดการจดั ประสบการณ์เปิดโอกาสให้เดก็ มี
ปฏสิ มั พนั ธ์กับบคุ คล สือ่ และใชแ้ หล่งการเรยี นร้ทู ี่ X = .288
หลากหลาย มีการปฏิบัติครบถว้ น และ
6.7 มกี าหนดการจัดประสบการณส์ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมี ชดั เจน
ทักษะชีวติ และการปฏิบัตติ นตามแนวทางหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง X = .288
7.7 มกี าหนดการจดั ประสบการณ์ส่งเสรมิ การ มกี ารปฏิบตั คิ รบถว้ น และ
พฒั นาการใหเ้ ด็กเป็นเด็กดี มีวินัย และมคี วามเปน็ ชดั เจน
ไทย X = .288
กำรจดั สภำพแวดล้อม สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ มกี ารปฏิบัติครบถว้ น และ
1.8 ระบุแนวการจัดสภาพแวดล้อมภายในและ ชดั เจน
ภายนอกทีเ่ อื้อต่อการเรยี นร้ขู องเดก็
8 2.8 มีสอื่ ทห่ี ลากหลาย เหมาะสมและเพยี งพอ X = .288
3.8 มแี หลง่ เรียนรูใ้ นและนอกสถานศกึ ษาทส่ี ่งเสริม มกี ารปฏบิ ตั คิ รบถ้วน และ
พฒั นาการและการเรยี นรู้ของเดก็ ชดั เจน
9 กำรประเมนิ พฒั นำกำร
1.9 มีการประเมินพฒั นาการเดก็ ครอบคลุมมาตรฐาน
คุณลักษณะพึงประสงค์
2.9 มกี ารประเมินพัฒนาการตามสภาพจริง
กำรบรหิ ำรจดั กำรหลักสูตร
1.10 มคี วามพร้อมดา้ น ครู บุคลากร และข้อมลู
สารสนเทศ
10 2.10 มงี บประมาณและทรัพยากรสนบั สนนุ เพียงพอ
3.10 มีการวางแผนการประเมินหลักสตู รสถานศึกษา
4.10 มแี ผนการนเิ ทศ ตดิ ตามการนาหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวัยส่กู ารปฏิบัติ
การเช่อื มต่อของการศึกษา
11 1.11 ผูบ้ รหิ ารมกี ารวางแผนและสรา้ งความเข้าใจแก่
ผสู้ อนปฐมวยั ผู้สอนประถมศึกษา ทเี่ ก่ียวข้อง พ่อแม่
ผูป้ กครอง และชุมชน ในการสรา้ งรอยเชื่อมต่อของ
หลกั สตู รทั้งสองระดบั
2.11 ครูผู้สอนปฐมวยั และประถมศึกษา มีการ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 81

แลกเปลี่ยนและกาหนดแนวทางการทางานรว่ มกนั
3.11 มแี นวทางการจัดกจิ กรรมให้เด็กปฐมวยั มีความ
พรอ้ มในการเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ของ
ครผู สู้ อนรว่ มกนั ด้วยวิธีการหลากหลาย
4.11 มีการจดั เตรยี มข้อมูลสารสนเทศของเดก็ ปฐมวัย
รายบคุ คลส่งตอ่ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 เพื่อการ
วางแผนพฒั นาเดก็ รว่ มกัน

สรปุ ผลกำรประเมินจำกกำรสำรวจขอ้ มลู ของผใู้ ห้ข้อมูลหลัก

กลมุ่ ผใู้ ห้ขอ้ มลู หลัก สรุประดบั ควำมคิดเห็นโดยภำพรวม

สรุปผลการประเมินการบริหารและการจัดการ X = 2.87
หลักสูตรสถานศึกษาตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศติดตาม มีการปฏิบตั คิ รบถว้ นและชดั เจน
และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจาก
ผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระและครูระดับชั้นปฐมวัย
จานวน 20 คน นามาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทา
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ใช้ แ ล ะ พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า
ประจาปีการศกึ ษา 2562

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 82


Click to View FlipBook Version