The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ailada Srisamlee [KOI], 2021-03-21 05:49:54

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562

รายงานประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ปี2562 รร.วัดชินวรารามฯ สพป.ปทุมธานีเขต 1

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 1

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั ก1

คำนำ

การประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) เป็นกระบวนการในการวัด
และเก็บรวบรวม ข้อมลู เพอ่ื นามาวิเคราะหพ์ ิจารณาตดั สินคุณคา่ ของหลักสูตรว่า หลักสูตรสถานศึกษามี
ประสิทธิภาพเพียงใด เม่ือนาไปใช้แล้ว บรรลุตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดหรือไม่เพียงใด มีอะไรต้องแก้ไข
เพื่อนาผลมาใช้ในการ ตัดสนิ ใจหาทางเลือกที่ดีกว่า จุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลักสูตร เพื่อหาคุณค่า
ของหลักสูตรน้ัน โดยดูว่า หลักสูตรท่ีจัดทาขึ้นนั้นสามารถสนองวัตถุประสงค์ ท่ีหลักสูตรนั้นต้องการ
หรือไม่ สนองความต้องการของ ผู้เรียนและสังคมอย่างไร และเพ่ืออธิบายหรือพิจารณาว่าลักษณะของ
ส่วนประกอบต่างๆ ของหลักสูตรในแง่ต่างๆ เช่น หลักการ จุดมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอน และการวัดผลว่าสอดคล้องต้องกันหรือไม่ หรือสนอง
ความต้องการหรือไม่รวมทั้งเพื่อตัดสินว่า การบริหารงาน ด้านวิชาการ และบริหารงานด้านหลักสูตร
เป็นไปในทิศทางท่ีถูกต้องหรือไม่ เพ่ือหาทางแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ให้มี
ประสิทธิภาพ การประเมินผลหลักสูตรเป็นส่ิงสาคัญและมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ท่ีจะทาให้เราทราบถึง
คุณภาพและประสิทธิภาพของหลักสูตร การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษา การจัดทาหรือ
พัฒนาหลกั สตู รต้องอาศยั ผลจากการประเมินผลเป็นสาคัญ ทาใหท้ ราบวา่ หลกั สตู รที่สรา้ งหรือพัฒนาข้ึน
นั้น มีจุดดีหรือจุดเสียตรงไหน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงให้ถูกจุด ส่งผล ให้หลักสูตร
มีคุณภาพดียิ่งข้ึน สร้างความน่าเชื่อถือ ความม่ันใจ และค่านิยมที่มีต่อโรงเรียนให้เกิดในหมู่ ประชาชน
ช่วยในการบริหารทางด้านวิชาการ ผู้บริหารจะได้รู้ว่าควรจะตัดสินใจและสนับสนุน ช่วยเหลือหรือ
บริการทางใดบ้าง ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมให้
ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับโรงเรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งน้ีเพื่อให้การจัดเรียนการสอนแก่นักเรียน
ได้ผลดี ด้วยความร่วมมือกันท้ังทางโรงเรียนและชุมชนจากความจาเป็นดังกล่าว งานพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)ตระหนักในความจาเป็นดังกล่าว จึงได้จัดการ
ประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาข้นึ เพื่อทาการทบทวนตรวจสอบหลักสตู รสถานศึกษาและพัฒนาให้
หลักสูตรมีความสมบูรณ์สนองต่อความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง สนองนโยบายของภาครัฐ
รวมท้ังการพัฒนาหลักสูตรให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล หวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนางานทางด้านวิชาการของโรงเรียน และเป็นแนวทางแก่ผู้ท่ีสนใจนาข้อมูลไป
พฒั นาผเู้ รยี นใหส้ นองเจตนารมณข์ องหลกั สตู รสถานศึกษาต่อไป

(นางฉัฐอติพา แชม่ ชมดาว)
ผ้อู านวยการโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั ข1

สำรบญั หน้ำ

คานา ข
สารบัญ 3
บทท่ี 1 บทนา 3
4
- หลักการและเหตผุ ล 4
- วตั ถปุ ระสงค์ 5
- ขอบเขตการศึกษา 5
- นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 7
- ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 7
บทที่ 2 - วรรณกรรมและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 8
- แนวคดิ เกย่ี วกับหลกั สูตร 9
- ความสาคัญของหลกั สตู ร 11
- การพฒั นาหลักสตู ร 11
- การบริหารหลกั สูตร 18
- สาระสาคญั เก่ยี วกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
- หลกั สูตรโรงเรยี นวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560 11
(ฉบบั ปรับปรุง 2561) 21
- แนวคิดเก่ียวกบั การประเมินหลกั สตู ร 60
- จดุ มงุ่ หมายของการประเมนิ หลักสตู ร 61
- การประเมนิ หลกั สูตร 61
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การ 62
- ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 64
- เคร่อื งมือและวธิ กี ารสรา้ งเครอ่ื งมอื 64
- การเก็บรวบรวมข้อมูล 64
- การจัดกระทาขอ้ มลู 65
- การวเิ คราะหข์ ้อมลู 67
- สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล 67
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 67
- ข้ันตอนผลการนาเสนอวิเคราะห์ข้อมูล 74
- ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 74
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 75
- สรุปผลการประเมนิ หลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) 75
- อภิปรายผลการประเมนิ หลักสูตร 76
- ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 1

บทที่1
บทนำ

1. หลกั กำรและเหตุผล

การศกึ ษามีบทบาทและความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในยุคปจั จบุ ัน
ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาจะเป็นพื้นฐานในการคิด เพื่อพัฒนา
ตนเองให้ทันต่อสังคมโลก และสามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุข หลักสูตรการจัดการศึกษาปฐมวัย
โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) เป็น
หลักสูตรท่ีพัฒนาจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยและวิสัยทัศน์ของ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สนองแนวนโยบายใหม่ๆของภาครัฐสนองความต้องการ
ของชุมชนท้องถ่ินและสอดคล้องกับบริบทของสังคม ท่ีเปลี่ยนไปตลอดเวลารวมท้ังเมื่อ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศคาส่ังท่ี ที่ สพฐ.1223/2560 ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2560เร่ือง ให้ใช้
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 โดยมีการพัฒนาปรับปรุง
หลักสูตรของสถานศึกษามาอย่างต่อเน่ือง ตามแนวคิดและหลกั การจัดการศึกษาปฐมวัย มีส่วนสาคัญยิ่ง
ในการพัฒนาเด็กท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเป็นองค์รวม และสมดุลครบ
ทุกด้าน ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย นอกจากนี้ยังต้องสอดคล้องกับการทางานของสมอง การ
เสริมสร้างทักษะการคิดท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตในอนาคต การอบรมเลี้ยงดูเด็กด้วยการสร้าง
วินัยเชิงบวก รวมทั้งการให้การศึกษาที่มีคุณภาพด้วยการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและเอ้ือต่อการ
เรยี นรู้ เพื่อช่วยใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการและเกดิ การเรยี นร้ตู ามจุดหมายของหลักสูตร ดว้ ยวิธกี ารประเมนิ ตาม
สภาพจริงที่สะท้อนถึงพัฒนาการและการเรียนรู้ท่ีแท้จริงของเด็ก ซึ่งครอบครัวสถานศึกษาหรือสถาน
พฒั นาเดก็ ปฐมวัย และชุมชน ต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาเดก็ ให้มคี ุณภาพชวี ิตไปสู่ความเป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ภายใต้บริบทของสังคมวัฒนธรรม และความเป็นไทยกับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ
วัฒนธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร: 2560)

ดังนั้น โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) จึงมีการพัฒนาปรับปรุงห ลักสูตร ให้
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและ
พัฒนาการ ตามวัยของเด็ก ตลอดจนเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ที่ส่งผลต้อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือการ
พัฒนาเด็กปฐมวัย ที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางสังคมและการสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้แก่
เด็ก และมุ่งเน้นการพัฒนาเด็ก แต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ด้วยความร่วมมือของสถานศึกษาหรือ
สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และทุกฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย สู่การ
สร้างคนไทยท่ีมีศักยภาพในอนาคต เพ่ือเป็นกาลัง สาคัญในการพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวหน้าอย่าง
ยั่งยืน ทั้งน้ีสถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขึ้นใช้เองในโรงเรียนของตน คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) ซ่ึงประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และตัวแทนผู้ปกครอง
จงึ รว่ มกันจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั

จากการใช้หลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของโรงเรียน จึงเห็นว่าควรจะ
ได้มีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 2

2560 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) เพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเด็ก
สามารถนาปรัชญาการศึกษาปฐมวัย และหลักการของหลักสูตร ลงสู่การปฏิบัติ บรรลุผลตามจุดหมาย
ของหลักสูตรท่ีต้องการให้เด็กอายุ 3 - 6 ปี ได้พัฒนาทุกด้านอย่างสมดุล ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา เด็กอายุ 3 - 6 ปี เป็นวัยท่ีร่างกายและสมองของเด็กกาลังเจริญเติบโต เด็ก
ต้องการความรัก ความเอาใจใส่และการดูแลอย่างใกล้ชิด เด็กวัยน้ีมีโอกาสเรียนรู้จากการใช้ประสาท
สัมผัสท้ังห้า ได้สารวจ เล่น ทดลอง ค้นพบด้วยตนเอง ได้มีโอกาสคิดแก้ปัญหา เลือก ตัดสินใจ ใช้ภาษา
สื่อความหมาย คิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข ผู้ท่ีรับผิดชอบจึงมีหน้าท่ีในการ
อบรมเล้ียงดูและจัดประสบการณ์ให้เด็ก ได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมให้เด็กสังเกต สารวจ
สร้างสรรค์ และยิ่งเด็กมีความกระตือรือร้นยิ่งทาให้ เด็กเกิดการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบจึงต้องส่งเสริม
สนับสนุน ให้ความรัก ความเข้าใจ ความเอาใจใส่เด็กวัยนี้ เป็นพิเศษ เพราะจะเป็นพื้นฐานท่ีช่วย
เตรยี มพรอ้ มใหเ้ ด็กประสบความสาเร็จในการเรยี นและในชวี ติ ของเดก็ ต่อไป การนาหลักสตู รสู่การปฏิบัติ
ของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่ละแห่ง จงึ มคี วามสาคัญอย่างย่ิงต่อ การพัฒนาเด็ก และ
ถือเป็นหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องศึกษาและทาความเข้าใจในเอกสาร หลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) และจะได้ทราบว่าสภาพการใช้
หลักสูตรสถานศึกษาเป็นอย่างไร มีปัญหาข้อบกพร่อง และส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไรและเป็น
แนวทางให้ผบู้ รหิ าร คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวชิ าการของสถานศึกษา ไดน้ าข้อมลู จากผลการ
ประเมินไปปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู รให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู ย่ิงขน้ึ

2. วัตถุประสงค์
2.1 ประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวรา

ราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)
2.2 ประเมินด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

สาระการเรยี นรรู้ ายปีของหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)
2.3 ประเมินองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ

และแหลง่ เรียนรู้ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์
2.4 ประเมินการใชแ้ ละพัฒนาหลกั สตู รจากผู้บริหารและครผู ู้สอน
2.5 จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เพ่ือ

สนองระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา
3. ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

เพ่ือให้การศึกษาอิสระครั้งนี้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ คณะผู้ศึกษาจึงกาหนด
ขอบเขตการศึกษาไว้ ดังน้ี

3.1 ขอบเขตด้านกลมุ่ เปา้ หมาย
3.1.1 ประชากร คือ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียนโรงเรียนวัดชินวราราม

(เจริญผลวิทยาเวศม์) และผปู้ กครอง
3.1.2 กลุ่มตวั อย่างทใี่ หข้ อ้ มูลในการประเมินคร้ังนีป้ ระกอบดว้ ย
- ผู้บรหิ ารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8

กลมุ่ สาระและครูระดบั ชนั้ ปฐมวัย จานวน 20 คน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 3

3.2 ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หา
การประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษาในครั้งนี้ เป็นการประเมินหลักสูตรโดยใช้แบบนิเทศ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 เพื่อรวบรวมขอ้ มูล
3.3 พ้ืนท่ดี าเนินการ คอื โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)
3.4 ระยะเวลาในการดาเนนิ การ ปีการศกึ ษา 2562

4. นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ
เพอื่ ให้เกิดความเข้าใจถูกตอ้ งตรงกัน คณะผู้ศกึ ษาจึงกาหนดนยิ ามศพั ท์เฉพาะไว้ใช้ในการศกึ ษา

ไว้ ดังน้ี
4.1 การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการรวบรวม พิจารณา วิเคราะห์หลักสูตร เพ่ือ

พิจารณาตัดสินคุณคา่ ของหลักสูตรสถานศึกษา ในด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยในการใช้หลักสูตร
ดา้ นกระบวนการใช้หลกั สตู ร และด้านผลผลติ ของหลักสูตรโรงเรยี นวัดชินวราราม(เจริญผลวทิ ยาเวศม)์

4.2 การประเมินบริบทของหลักสูตร หมายถึง การประเมินความสอดคล้อ งของ
หลักสูตรสถานศึกษากับสภาพความต้องการของชุมชน ท้องถิ่นตลอดจนความถนัด ความสนใจและ
ความสามารถของผู้เรียน และความสอดคล้องของหลักสูตรสถานศึกษากับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในด้านวิสัยทัศน์ โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหาหลักสูตรตามเกณฑ์
ท่ีกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียน วัดชินวราราม
(เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ดงั น้ี

4.3 หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง หลักสูตรระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560

4.4 สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1

4.5 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)
ปีการศกึ ษา 2562

4.6 ครู หมายถึง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวแทนครูผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสอน ซ่ึงทาหน้าที่หลัก
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม์) ปกี ารศึกษา 2562

4.7 คณะกรรมภาคี 4 ฝา่ ย หมายถึง ผู้ซึ่งเปน็ ตัวแทนจากชุมชน ผู้ปกครอง ตัวแทนครู ตัวแทน
นกั เรียนทีถ่ กู แตง่ ต้งั จากทางโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ 2562

5. ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะไดร้ บั
ผลการศึกษาคร้ังน้ีจะมีประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ครูและคณะกรรมการสถานศึกษา

และ
ผทู้ ่ีเกี่ยวข้องในสถานศกึ ษา ดังนี้

5.1 โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) นาผลการศึกษาไปใชใ้ นการพัฒนาการบริหาร
จัดการหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลอย่างย่ิง
ต่อการพฒั นาผู้เรียน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 4

5.2 โรงเรียนท่ัวไป ผู้บริหารโรงเรียนและและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา นาผล
การศึกษาที่ได้ไปเป็นแนวทางหรือประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาของตนเองให้มี
ประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน

5.3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สามารถรวบรวมข้อมูลผล
การศึกษาเกี่ยวกับการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในสังกัด มาวางแผนพัฒนาการบริหารจัดการ
และการพัฒนาหลกั สูตรใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขนึ้

5.4 ใช้ผลการประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษารองรับระบบประกนั คุณภาพการศึกษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 5

บทท่ี 2
วรรณกรรมและงำนวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง

การศึกษาเรื่อง การประเมินหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) สังกัด
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพอื่ จัดทารายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 คณะผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตามลาดับดงั ต่อไปนี้

2.1 แนวคิดของหลกั สตู รการศึกษา
2.2 แนวคดิ ของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
2.3 สาระสาคัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 สาหรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี
2.4 หลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2561)
2.5. การประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา

2.1. แนวคดิ เก่ยี วกับหลักสตู ร
จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรพบว่า แนวคิดพื้นฐานสาคัญ

ของหลักสูตร ครอบคลุมความหมายของหลักสูตร ความสาคัญของหลักสูตร รูปแบบของหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้และการบริหารหลักสูตร มีนักการศึกษาหลายท่าน ได้ให้
ความหมายไว้อยา่ งกวา้ งขวางแตกต่างกนั มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี

2.1.1 ควำมหมำยของหลักสูตร
พยนต์ ง่วนทอง (2553) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรไว้วา่ หลักสูตร หมายถึง เน้ือหาสาระท่ี
จัดไว้เป็นระบบ หรือมวลประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียน ซึ่งจัดให้กับผู้เรียนเพ่ือให้เป็นแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณธรรม และ
พัฒนาการทางด้านตา่ ง ๆ ตามจุดมุ่งหมายของการศกึ ษา
เสาวนี ตรีพุทธรัตน์ (2551) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า คือ เอกสารที่ประกอบไปด้วย
ความมุ่งหมายของการให้การศึกษา เน้ือหาวิชา เวลาเรียน กิจกรรมและประสบการณ์ที่จัดให้แก่ผู้เรียน
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน
เปร่ือง จันดา (2549) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า หลกั สูตร หมายถึง แนวความรู้และมวล
ประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีจัดให้แก่ผู้เรียน ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของเอกสารก็ได้ โดยประกอบด้วยหลักการ
จุดหมาย เนื้อหาสาระ และประสบการณ์การเรยี นรกู้ ารจัดกระบวนการเรียนที่หลากหลายตลอดจนการ
วัดและประเมินผลการเรยี นรู้ อันแสดงถงึ ประสิทธผิ ลทเ่ี กิดขน้ึ ในตัวผเู้ รยี นเพื่อพฒั นาคุณภาพของผ้เู รียน
ให้เปน็ ผลเมืองดีของสังคม และประเทศชาตติ อ่ ไปตามจุดหมายและแนวทางของหลกั สตู รท่ีได้กาหนดไว้
พสิ ณุ ฟองศรี (2549) ให้ความหมายของหลกั สูตรไว้ว่า หลกั สูตร คือ การวางแผนการจัดระบบ
ทางการศึกษาเกี่ยวกับมวลวิชา ประสบการณ์ต่างๆ การจัดการเรียนการสอนเพื่อเป็นแนวทางสาหรับ
การปฏิบัติใหผ้ ูเ้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะตา่ งๆทพี่ งึ ประสงคต์ ามจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร
วารรี ัตน์ แก้วอุไร (2549) ให้ความหมายของหลกั สูตรไว้วา่ หลักสูตรสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย
การเรียนรู้และประสบการณ์อื่น ๆ ท่ีสถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนาผู้เรียน โดยจะต้องจัดทา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 6

สาระการเรียนรู้ท้ังรายวิชาท่ีเป็นพ้ืนฐานและรายวิชาที่ต้องการเรียนเพ่ิมเติมเป็นรายปีหรือรายภาคจัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละปีหรือภาคและกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากจุดหมายของ
หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

จากความหมาย สรุปได้ว่า หลักสูตร หมายถึง เน้ือหาสาระที่จัดไว้เป็นระบบ หรือมวล
ประสบการณ์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีจัดให้ผู้เรียนเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนท้ังในและนอกห้องเรียนซ่ึง
จัดให้กับผู้เรียนเพื่อให้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะคุณธรรมและ
พฒั นาการทางด้านต่าง ๆ ตามจุดม่งุ หมายของการศกึ ษา

2.1.2 ควำมสำคญั ของหลักสูตร
หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอันสาคัญยิ่งอย่างหนึ่งของการจัดการศึกษา เพราะในการจัด
การศึกษาท่ีจะบรรลุเป้าหมายได้น้ันต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเครื่องมือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายโดยช้ีนา
ทางในการจัดความรู้และประสบการณ์แก่ผูเ้ รียนซ่ึงครูตอ้ งปฏิบัตติ ามเพ่ือให้ผ้เู รยี นได้รับการศึกษาที่ม่งุ สู่
จดุ หมายเดยี วกันหลักสูตรจึงเปน็ หัวใจสาคัญของการศกึ ษา นอกจากนี้ ยงั เป็นเครอื่ งช้ีถงึ ความเจริญของ
ชาติ เนื่องจากเป็นตัวกาหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศด้านอ่ืนๆ ซ่ึงมี
นกั วิชาการได้กล่าว ดงั น้ี
เสาวนี ตรพี ุทธรตั น์ (2551) ได้กล่าววา่ หลักสูตรเปน็ แนวทางในการจดั การศึกษา และถอื เป็น
เครื่องมือในการถ่ายทอดเจตนารมณ์หรือเป้าหมายของชาตสิ ู่การปฏิบัติดังน้ันหลักสูตรจึงเปรียบเสมือน
เข็มทิศที่คอยกาหนดและบอกทิศทางการศึกษาว่า ควรเดินไปในทิศทางใด และเดินอย่างไรจึงจะถึง
เป้าหมายทีก่ าหนด

ดงั นนั้ หลกั สตู รจึงเปน็ หวั ใจของการศึกษา ซ่ึงมคี วามสาคญั ดงั น้ี
1) หลกั สตู รเปน็ เคร่อื งมอื ในการพัฒนาคน
2) หลักสูตรเปน็ เครื่องมือบง่ ชถี้ ึงความเจริญของประเทศ
3) หลักสูตรเป็นเกณฑ์มาตรฐาน
4) หลกั สตู รเปน็ หลกั และแนวทางปฏบิ ัตขิ องครู
5) หลกั สตู รมีความสาคัญต่อการเรียนการสอน

สนุ ีย์ ภูพ่ นั ธ์ (2546) ไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของหลกั สูตร สรุปได้ดงั น้ี
1) หลักสูตรเป็นแผนและแนวทางในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้บรรลุผลสาเร็จตาม

นโยบายและเปา้ หมาย
2) หลักสูตรเป็นตัวกาหนดขอบเขตเนื้อหา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การ

ประเมนิ ผลและแหล่งทรพั ยากรในการจัดการศกึ ษา
3) หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและ

คุณภาพของผู้เรียนให้สอดคล้องตามนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติและความต้องการ
ท้องถ่ิน

4) หลักสูตรเป็นแนวทางในการส่งเสรมิ ความเจรญิ งอกงามและพัฒนาการของเด็กตาม
จุดมุ่งหมายของการศึกษา

5) หลักสูตรเปน็ แนวทางในการจัดสรรงบประมาณ สถานท่ี นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
จาเปน็ ต้อการจัดการศกึ ษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 7

6) หลักสูตรเป็นตัวกาหนด ลักษณะของผู้เรียน ซ่ึงเป็นผลผลิตของการศึกษาในด้าน
ความรู้ความสามารถ ความประพฤติทักษะ และเจตคติของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในสังคมและบาเพ็ญ
ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อชมุ ชนและชาติบ้านเมือง

สรุปได้ว่า หลักสูตรเป็นหัวใจสาคัญในการจัดการศึกษา เพราะหลักสูตร เป็นแนวทาง
ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ทางดา้ นพฤติกรรมและเจตคตทิ ด่ี ีงามใหเ้ กดิ กับผเู้ รียนตามจุดมุ่งหมายของการจดั การศกึ ษา

2.1.3 กำรพฒั นำหลักสตู ร
การพัฒนาหลักสูตรเป็นภารกิจที่สาคัญ ซง่ึ สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546) ได้กล่าวเก่ียวกับเรื่องนี้ว่า การ
พัฒนาหลักสูตรเกิดข้ึนได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปล่ียนแปลงหลักสูตร การปรับปรุงเป็น
การเปล่ียนแปลงเพยี งบางส่วน เพอ่ื ให้เหมาะสมกบั โรงเรยี นหรือระบบโรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน
วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมท้ังประเมินผลโดยไม่เปลี่ยนแนวคิดพื้นฐานหรือรูปแบบหลักสูตร ส่วนการ
เปล่ียนแปลง หมายถึง การแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิมเป็นการเปล่ียนแปลงทั้งระบบ การ
พัฒนาหลักสตู รมรี ูปแบบและขน้ั ตอน ตง้ั แต่ ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรยี นและสงั คม กาหนด
จุดมุ่งหมาย การเลือกเน้ือหา สาระ การจัดรวบรวมเน้ือหาสาระ การคัดเลือกประสบการณ์ การเรียนรู้
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้และกาหนดส่ิงท่ีจะประเมินและวิธีการประเมินผล แนวทางการจัด
หลักสูตรของสถานศึกษา สามารถกาหนดเป็นขั้นตอนการดาเนินงานได้ตามลาดับ ดังน้ี (ธีรชัย เนตร
ถนอมศักด,ิ์ 2544)

ข้นั ท1่ี : ศึกษาข้อมลู พืน้ ฐาน
ข้นั ท2่ี : การกาหนดหรอื ทบทวนวิสัยทศั น์ภารกจิ เป้าหมาย
ขน้ั ท3่ี : กาหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ขน้ั ท4่ี : การกาหนดสัดสว่ นเวลาเรียน
ขั้นที่5 : วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปีหรือรายภาคจากมาตรฐานการเรียนรู้
ช่วงช้ัน
ขนั้ ท6ี่ : กาหนดสาระการเรยี นรูใ้ นแต่ละกลุ่มสาระเป็นรายปหี รอื รายภาค
ขน้ั ท7ี่ : การจัดทาคาอธบิ ายรายวิชา
ข้ันท8่ี : การจดั หนว่ ยการเรยี นรู้
ขน้ั ท9ี่ : การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาหลกั สูตรเป็นสิ่งสาคัญท่ีนักวิชาการ หรือครู ต้องดาเนินการ เพ่ือปรับพัฒนา
ให้เขา้ กับสังคมที่เปล่ียนแปลงไป และต้องดาเนินการอย่างมีข้ันตอน ซ่ึงสามารถพัฒนาได้ทั้งก่อนการนา
หลกั สูตรไปใชร้ ะหวา่ งการดาเนินการใช้หลกั สตู ร หรือหลงั การใชห้ ลกั สูตรเสร็จส้นิ
2.1.4 กำรนำหลักสูตรไปใช้
การใช้หลักสูตรเป็นขั้นตอนของการน าหลักสูตรแกนกลางสู่การปฏิบัติโดยการนาอุดมการณ์
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ที่กล่ันกรองอย่างดี แล้วไปสู่การ
พัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการนาจุดหมายหลักสูตร เน้ือหาประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีจัดทาไว้ไปจัด
ประสบการณ์และกิจกรรมใหก้ ับผูเ้ รียน นกั พัฒนาหลักสตู รตา่ งยอมรับและใหค้ วามสาคัญแก่ขนั้ ตอนการ
ใชห้ ลักสูตรว่าเป็นขั้นตอนท่ีสาคญั ยงิ่ ในกระบวนการพฒั นาหลักสตู ร (รุ่งนภา นุตราวงศแ์ ละคณะ, 2552)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 8

โบซอง (Beauchamp, 1962) กล่าวว่า การใช้หลักสูตรเป็นการนาหลักสูตรที่จัดทาแล้ว
สู่การปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ เป็นข้ันตอนท่ีท้าทายต่อ
ความสาเรจ็ ของหลกั สูตร

ศรีสมร พุ่มสะอาด (2544) กล่าวว่า การนาหลักสูตรไปใช้เป็นกระบวนการที่ต่อเน่ืองท่ี
ครอบคลมุ งานทส่ี าคญั 3 ด้าน คอื

1) การวางแผนหรือเตรียมการก่อนการนาหลักสูตรไปใช้ซ่ึงต้องเก่ียวข้องกันทั้ง
บุคคล กระบวนการทางาน ทรัพยากร ครูต้องมีทักษะในการใช้หลักสูตร รวมถึงทักษะเกี่ยวกับ
ยทุ ธศาสตร์การเรียนการสอนการปกครองช้ันเรียน และการวัดและประเมินผลการเรียน และต้องเข้าใจ
ทฤษฎที เี่ ก่ียวข้องด้วย

2) การนาหลักสตู รไปใช้เป็นกิจกรรมสาคัญที่ก่อให้เกิดความสาเร็จของหลักสูตร
ท้ังน้ีต้องสนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การวดั และประเมนิ ผล การแนะแนว การผลิตและใช้ส่อื

3) การประเมินการน าหลักสูตรไปใช้เป็นกิจกรรมท่ีต้องกระทา ต่อเน่ืองกัน
ต้ังแต่การวางแผนจัดทาหลักสูตร จนกระท่ังได้หลักสูตรซึ่งเป็นแม่บทจนถึงนาหลักสูตรไปใช้ และมีการ
ติดตามประเมินผลเพ่ือตรวจสอบสเตนเฮาส์ (Stenhouse, 1980) ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร
ได้ให้มุมมองเก่ียวกับการใช้หลักสูตรว่า เป็นกระบวนการที่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนแนวคิด และ
ปฏิสัมพันธ์ของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ และผู้ที่มีบทบาทอย่างแท้จริงในความสาเร็จของ
หลักสูตร คือ ผู้ใช้หลักสูตรซึ่งจะต้องเป็นผู้ท่ีสามารถปรับใช้หลักสูตรให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบท
สภาพแวดล้อมของตนเอง

สงดั อทุ รานันท์ (2532) ไดแ้ สดงความคิดเกี่ยวกบั การใชห้ ลักสตู รวา่ เป็นขั้นตอน
ทมี่ ีความสาคญั ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร เพราะสามารถบ่งช้ีถึงความสาเรจ็ หรอื ความลม้ เหลวของ
หลักสูตรได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าหลักสูตรจะได้รับการออกแบบไว้อย่างดีเพียงใดก็ตาม ถ้าหากการใช้
หลักสูตรดาเนินไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ หรือไม่ดีเพียงพอ ความล้มเหลวของหลักสูตรก็จะบังเกิดขึ้น
อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้กระบวนการใช้ หลักสูตรเป็นส่ิงท่ีมีความยุ่งยากซับซ้อน เพราะจะต้องมีการ
ดาเนนิ งานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ และบคุ คลจานวนมาก

เคิร์ส และวอร์คเกอร์ (Kirst &Walker, 1971) กล่าวว่าการใช้หลักสูตรจะต้อง
เก่ียวข้องและประสานงานกับบุคคลต่าง ๆ ในหลายระดับทั้งระดับชาติระดับท้องถิ่น และระดับ
สถานศึกษา ซึ่งต่างฝ่ายต่างมีความเข้าใจ ความคิดเห็นและมีบทบาทแตกต่างกันไป เช่น เดียวกับ ไอซ์
เนอร์และ ฮาสส์ (Eisner, 1985; Hass, 1987) ที่แสดงความเห็นว่าในการนาหลักสูตรที่จัดทาเสร็จ
เรียบร้อยแล้วไปใช้น้ัน จนต้องดาเนินงานร่วมกันหลายฝ่าย ท้ังหน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับ
ท้องถิ่น และสถานศึกษา การจะดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายจึงไม่ใช่เรื่องง่าย และมีหลายกรณีท่ีพบว่า
ผใู้ ชห้ ลักสูตรนนั้ ดาเนนิ การไปในทศิ ทางที่แตกตา่ งไป จากเจตนารมณ์ของคณะผู้ออกแบบจัดทาหลักสูตร
(Reinmannand & Mandl, 1999) ดังน้ันจะเห็นได้ว่าข้ันตอนในการนาหลักสูตรไปใช้นั้น เป็นขั้นตอนท่ี
สาคัญและมีความซับซ้อน จะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลต่าง ๆ เป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการวางแผน
และเตรียมการในเรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างดีมีระยะเวลาท่ีเพียงพอในการดาเนินการ และที่สาคัญ คือ
ผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยจะต้องมีความความเข้าใจอยา่ งชดั เจน จึงจะทาให้การใช้หลกั สูตรประสบความสาเรจ็

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 9

2.1.5 กำรบริหำรหลักสตู ร
การบริหารหลักสูตรเป็นกิจกรรมสาคัญ เป็นการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนเกี่ยวกับการ
ปรบั ปรุงพฒั นาการเรียนการสอนใหไ้ ด้ผลดแี ละมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ

วชิ ัย วงษ์ใหญ่ (2535) กลา่ วถึงการบริหารหลกั สูตรไว้ว่า เป็นกระบวนการต่อเนอื่ งของ
วงจรการพัฒนาหลักสูตรอัน ได้แก่ การดาเนินการตามแผนการต่าง ๆ เช่น การจัดโปรแกรมการเรียน
การสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเตรียมคู่มอื สาหรับการเรียน การเตรียมความพร้อมของ
ครู การนิเทศกากับดูแล และการประเมินผลการเรียนซึ่งสอดคล้องกับ นักวิชาการศึกษาหลายท่านที่ได้
เสนอขอบเขตการบริหารหลกั สตู รท่สี อดคล้องกนั สามารถสรปุ ได้ ดังน้ี

1) งานบริหารและการบรกิ ารหลักสูตร ซงึ่ เกี่ยวกบั งานเตรยี มบุคลากร การจัด
ครูเข้าทาการสอนตามหลักสูตร การบริหารและบริการวัสดุ หลักสูตรการบริหารหลักสูตรภายใน
โรงเรียน

2) งานดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ประกอบด้วย การปรับปรุง
หลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น การจัดทาแผนการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน

3) งานสนับสนุนส่งเสรมิ การใช้หลักสูตร การนิเทศการศึกษา และการต้ังศูนย์
การบริการเพอ่ื สนับสนุนการศึกษา

2.2 แนวคดิ ของหลักสตู รกำรศึกษำปฐมวยั พทุ ธศกั รำช 2560
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จัดทาขึ้นโดยยึดปรัชญาการศึกษา

ปฐมวัย วิสัยทัศน์ หลักการ บนพ้ืนฐานแนวคิดท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการศึกษาปฐมวัยสากล และความเป็นไทย
ครอบคลุมการอบรมเลีย้ งดู การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม และการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ทสี่ นอง
ต่อธรรมชาติและพัฒนาการ ตามวัยของเด็ก ตลอดจนเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้
ตลอดชีวิต เพ่ือการพัฒนาเด็กปฐมวัย ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการสร้างรากฐาน
คุณภาพชีวิตให้แก่เด็ก และมุ่งเน้นการพัฒนาเด็ก แต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ด้วยความร่วมมือของ
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครอบครัว ชุมชน สังคม และทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนา
เด็กปฐมวัย สู่การสร้างคนไทยที่มีศักยภาพในอนาคต เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศไทยให้
ก้าวหน้าอย่างย่ังยืน ท้ังน้ี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 พัฒนาขึ้นมาโดยอาศัยแนวคิด
ดงั น้ี

2.2.1. แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนำกำรเด็ก พัฒนาการเป็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนต่อเนื่องในตัว
มนุษย์ เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวิตท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ พัฒนาการของเด็กจะมีลาดับ
ข้ันตอนในลกั ษณะ เดียวกันตามวัยของเด็ก แต่อัตราการเจรญิ เติบโต และระยะเวลาในการผ่านข้ันตอน
ต่างๆ ของเด็กแต่ละคน อาจแตกต่างกันได้ โดยในขั้นตอนแรกๆ จะเป็นพื้นฐานสาหรับพัฒนาการข้ัน
ต่อไป พัฒนาการประกอบด้วย ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซ่ึงพัฒนาการแต่ละ
ด้านมีความเก่ียวข้องและสัมพันธ์กัน รวมท้ังส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน พัฒนาการแต่ละด้านมีทฤษฎี
เฉพาะอธิบายไว้ และสามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาเด็กในแต่ละด้าน อาทิ ทฤษฎีพัฒนาการด้านรา่ งกาย
อธิบายว่า การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก มีลักษณะต่อเน่ือง เป็นลาดับข้ัน เด็กจะพัฒนาถึงขั้น
ใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถข้ันนั้นก่อน ทฤษฎีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม
ระบุว่า การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็กเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ความรัก และความ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 10

อบอุ่นเป็นพื้นฐานสาคัญของความเช่ือมั่นในตนเองของเด็ก ซ่ึงจะทาให้เด็กมีความไว้วางใจในผู้อ่ืน เห็น
คณุ ค่าของตนเอง มีความเชื่อม่ันในความสามารถของตนเอง ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี เคารพผูอ้ ่ืน ซึ่งเป็น
พื้นฐานสาคัญของความเป็นประชาธิปไตย และทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญา อธิบายว่า เด็กเกิดมา
พร้อมวุฒิภาวะและความสามารถในการเรียนรู้ ซ่ึงจะพัฒนาขึ้นตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้ังค่านิยม
ทางสังคม และส่ิงแวดล้อมที่เด็กได้รับ แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการเด็กจึงเป็นเสมือนหนึ่งแนวทางให้
ผู้สอนหรือผู้เก่ียวข้องได้เข้าใจเด็ก สามารถอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อ
ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยและความแตกต่าง ของแต่ละบุคคล เพื่อส่งเสริม เฝ้าระวัง และช่วย
แกไ้ ขปญั หาให้เด็กได้พัฒนาจนบรรลผุ ลตามเปา้ หมายทีต่ ้องการ ได้ชัดเจน

2.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับกำรพัฒนำเด็กอย่ำงเป็นองค์รวมและกำรปฏิบัติท่ีเหมำะสม กับ
พฒั นาการ การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม เป็นการคานึงถึงความสมดุลและครอบคลุมพัฒนาการของ
เดก็ ให้ครบทุกด้าน ในการดแู ล พัฒนา และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แกเ่ ดก็ ต้องไม่เน้นท่ีด้านใดด้าน
หน่ึง จนละเลยด้านอื่นๆ ซึ่งในแต่ละด้าน ของพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา มีองค์ประกอบต่างๆ ท่ีต้องการการส่งเสริม ให้เด็กเจริญเติบโต และมีพัฒนาการสมวัยอย่าง
เป็นลาดับข้ันตอน ซึ่งการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ เป็นแนวทางท่ีสาคัญในการตัดสินใจที่จะ
ปฏิบัติต่อเด็กด้วยความรู้ความเข้าใจ ที่ประกอบด้วย ความเหมาะสม กับวัยหรืออายุของเด็กว่า
พัฒนาการในช่วงวัยน้ันๆ ของเด็กเป็นอย่างไร ต้องการการส่งเสริมอย่างไร การมีความรู้ ทางพัฒนาการ
ตามช่วงวัย จะทาให้สามารถทานายพัฒนาการในลาดับต่อไปได้ และสามารถวางแผนการจัด
ประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและช่วยเหลือเด็กได้อย่างเหมาะสม สาหรับความเหมาะสมกับเด็ก
แต่ละคน เป็นการคานึงถึงเด็กเป็นรายบุคคลที่มีความชอบ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดที่
แตกต่างกัน โดยให้ความสาคัญกับความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของเด็ก เพ่ือการปฏิบัติตอ่ เด็กทค่ี านึงถึง
เด็กเป็นสาคัญ และ ความเหมาะสมกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ เป็นการคานึงถึง
บริบททีแ่ วดลอ้ มเดก็ เพอื่ ให้ การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นอย่างมีความหมายและมีความเกี่ยวข้องกับตัวเด็ก
ครอบครัว และชุมชนที่เด็กอาศัยอยู่ ซ่ึงความรู้ความเข้าใจดังกล่าว สามารถใช้ในการจัดทาหลักสูตร
สถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่มีความหมาย การสร้างกลุ่มการเรียนรู้ร่วมกัน การ
ประเมินพัฒนาการ และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกับ
ผู้ปกครองและชุมชน โดยยึดหลักการตัดสินใจในการปฏิบัติบน ฐานความรู้ จากแนวคิดทฤษฎีและองค์
ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการวิจัย

2.2.3 แนวคิดเก่ียวกับกำรจัดกำรเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกำรทำงำนของสมอง สมองของเด็ก
เป็น สมองท่ีสร้างสรรค์และมีการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนสัมพันธ์กับอารมณ์ สมองเป็นอวัยวะที่สาคัญมากที่สุด
และมีการพัฒนา ต้ังแต่อยู่ในครรภ์มารดา โดยในช่วงน้ีเซลล์สมองจะมีการพัฒนาเช่ือมต่อและทาหน้าท่ี
ในการควบคุมการทางาน พ้ืนฐานของร่างกาย สาหรับในช่วงแรกเกิดถึงอายุ 3 ปี จะเป็นช่วงท่ีเซลล์
สมองเจริญเติบโตและขยายเครือข่าย ใยสมองอย่างรวดเร็ว โดยปัจจัยในการพัฒนาของสมอง
ประกอบด้วย พันธกุ รรม โภชนาการ และส่ิงแวดล้อม สมองจะมีพัฒนาการที่สาคัญในการควบคุมและมี
ผลต่อการเรียนรู้ ความคิด จินตนาการ ความฉลาด และพัฒนาการ ทุกด้าน การพัฒนาของสมองทาให้
เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วกว่าวัยใด สาหรับแนวคิด การจัดการเรียนรู้ท่ี
สอดคล้องกับการทางานของสมอง (Brain - based Learning) เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ท่ี
สัมพันธ์และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง โครงสร้างและการทางานของสมองที่มีการพัฒนาอย่าง
เปน็ ลาดบั ขั้น ตามช่วงวัย และมีความยืดหยุ่นทาใหก้ ารพัฒนาสมองเกดิ ขนึ้ ได้ตลอดชีวิต การเช่ือมโยงต่อ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 11

กันของเซลล์สมอง ที่เป็นเครือข่ายซับซ้อนและหนาแน่นจะเกิดข้ึนก่อนอายุ 5 ปี ซึ่งเม่ือเซลล์สมองและ
จุดเชื่อมต่อเหล่าน้ีได้รับ การกระตุ้นมากขึ้นเท่าใด ยิ่งทาให้สมองมีความสามารถในการเรียนรู้อย่าง
รวดเร็วและจดจาได้มากขึ้น แต่หากไม่ได้ รับการกระตุ้นจากประสบการณ์ที่เด็กได้รับอย่างหลากหลาย
จะไม่เกิดการเช่ือมต่อ โดยการกระตุ้นจดุ เช่ือมต่อ เหลา่ น้ันเกิดจากการที่เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจาก
การลงมือทา ปฏิบัติด้วยตนเองผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เกี่ยวข้องสัมพันธก์ ับชีวิตประจาวัน การ
เรียนรทู้ ี่สัมพันธ์กับพัฒนาการทางสมอง เป็นการเรียนรู้จากของจริง ไปหาสัญลักษณ์ จากง่ายไปหายาก
จากรูปธรรมไปสู่นามธรรม โดยคานึงถึงความสามารถตามวัยและพัฒนาการ อย่างไรก็ตาม เมื่อสมอง
เจริญเติบโตในช่วงวัยต่างๆ และเร่ิมมีความสามารถในการทาหน้าที่ในช่วงเวลาท่ีต่างกัน จะเห็นว่าการ
เรียนรู้และทักษะบางอย่างจะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดในช่วงเวลาหน่ึงท่ีเรียกว่า “หน้าต่างโอกาสของ การ
เรียนรู้” ซ่ึงเมื่อผ่านช่วงเวลานั้นในแต่ละช่วงวัย ถ้าสมองไม่ได้รับการกระตุ้นหรือได้รับประสบการณ์ท่ี
เหมาะสม โอกาสที่จะฝึกอาจยากหรือทาไม่ได้เลย ผู้สอนหรือผู้เกี่ยวข้องจึงเป็นคนสาคัญที่จะต้องคอย
สงั เกต และใช้โอกาสนี้ ช่วยเด็กเพ่อื ก้าวไปสู่ความสามารถเฉพาะด้านในแต่ละช่วงวัย สาหรับช่วงปฐมวัย
เป็นช่วงโอกาสท่ีสาคัญในการพัฒนาทักษะสมอง หรือ EF (Executive Function) ซึ่งเป็นกระบวนการ
ทางความคิดของสมองส่วนหน้า ทาหน้าทีเ่ ก่ียวข้องกับการคิด ความร้สู ึกและการกระทาโดยสมองสว่ นน้ี
กาลังพัฒนามากที่สุด เป็นช่วงของการพัฒนาความสามารถในการคิด การจัดระเบียบ ตนเอง ซึ่งส่งผล
ต่อการยับยั้งช่ังใจ การคิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด การใส่ใจจดจ่อ การ
วางแผน การต้ังเป้าหมาย ความมุ่งม่ัน การจดจา การเรียกใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดลาดับ
ความสาคัญของเร่ืองต่างๆ และการลงมือทาอย่างเป็นขัน้ ตอนจนสาเร็จ ทักษะสมอง (EF) จึงเป็นทักษะ
ที่ต้อง ได้รับการฝึกฝนในชีวิตประจาวันของเด็กผ่านประสบการณ์ต่างๆ หลากหลายท่ีเปิดโอกาสให้เด็ก
ได้คิด ลงมือทา เพื่อให้เกิดความพร้อม และมีทักษะที่สาคัญต่อชีวิตในอนาคต นอกจากนี้ สมองยังเป็น
อวัยวะสาคัญสาหรับการเรียนรู้ภาษาและการส่ือสาร การเรียนรู้ภาษาแม่ ของเด็กจะเกิดขึ้นอย่างเป็น
ธรรมชาติ จากการปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และูผ้สอนหรือูผ้เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และสถานการณ์
รอบตัว สมองมีตาแหน่งรับรู้ต่างๆ กัน ได้แก่ ส่วนรับภาพ ส่วนรับเสียง ส่วนรับสัมผัสและรับรู้ การ
เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย สมองส่วนต่างๆ เหล่าน้ีพัฒนาข้ึนมาได้ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับการ
กระตุ้นของ สิ่งแวดล้อมภายนอกโดยสมองเด็กมีความจาผ่านการฟัง ต้องการรับรู้ข้อมูลเสียงพร้อมเห็น
ภาพ เร่ิมรู้จกั เสียง ที่เหมือนและแตกตา่ ง และสามารถเรียนรู้จังหวะของคาไดจ้ ากการฟังซ้าๆ สมองของ
เด็กทเี่ ข้าใจเกยี่ วกับภาพ เสยี ง และสัมผัสแบบตา่ งๆ มีความสาคัญมาก เพราะข้อมูลจากภาพ เสียง และ
สัมผัสเหล่าน้ีจะก่อรูปข้ึนเป็น เร่ืองราวท่ีจะรับรู้และเข้าใจซับซ้อนข้ึนเร่ือยๆ ได้ในที่สุด สมองส่วนหน้า
นน้ั มีหน้าทีค่ ดิ ตัดสินใจ เชือ่ มโยง การรับรไู้ ปสู่การกระทาท่ีเปน็ ลาดับข้นั ตอน สมองเด็กทส่ี ามารถเรยี นรู้
ภาษาไดด้ ตี อ้ งอยู่ในสิ่งแวดลอ้ มของภาษา ทเ่ี รียนรู้อยา่ งเหมาะสมจึงจะเรยี นรู้ได้ดี

2.2.4 แนวคิดเก่ยี วกบั กำรเล่นและกำรเรียนรู้ของเด็ก การเลน่ เป็นกจิ กรรมการแสดงออกของ
เด็ก อยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการ และจินตนาการสร้างสรรค์ของตนเอง เปน็ การสะท้อนพัฒนาการและ
การเรียนรู้ ของเด็กในชีวิตประจาวัน จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ บุคคล และสิ่งแวดล้อมรอบตัว
การเล่นทาให้เกิด ความสนุกสนาน ผ่อนคลายและส่งเสริมพัฒนาการท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาของเด็ก การเล่นของเด็กปฐมวัยจัดเป็นหัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ที่เหมาะสม ซึ่งการเล่นอย่างมี ความหมายเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่ถือว่าเป็น
องค์ประกอบสาคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก ขณะท่ีเด็กเล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันด้วย
จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้ใช้ประสาทสัมผัสและการรับรู้ ผ่อน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 12

คลายอารมณ์และแสดงออกถึงตนเอง ได้เรียนรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืน เด็กจะ รู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน
ได้สังเกต มีโอกาสสารวจ ทดลอง คดิ สร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง การเลน่ ช่วยให้เด็ก
เรียนรู้ส่ิงแวดล้อม บุคคลรอบตัว และส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญา ก้าวหน้าไปตามวัยอย่างมีคุณภาพ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นผลสืบเนื่องมาจาก
ประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รับ การเปล่ียนแปลง พฤติกรรมเกิดข้ึนจากกระบวนการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับ
บุคคลและส่ิงแวดล้อมรอบตัว เพื่อให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง และการถ่ายทอดจากผู้ที่มี
ประสบการณ์และมีความรู้มากกว่า ทาให้เกิดการพัฒนาทักษะการคิด และความคิดสร้างสรรค์ พัฒนา
ภาษา ความรู้ความเข้าใจในส่ิงต่างๆ รอบตัว ทักษะพื้นฐานท่ีสาคัญและ ความสามารถในด้านต่างๆ
ตลอดจนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ของเด็ก รวมท้ังความรู้สึกท่ีดีต่อตนเอง บุคคล สิ่งต่างๆ และ
สถานการณ์รอบตัว การเรียนรู้ควรมีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนูร้ โดยเป็นกิจกรรม ที่เปิด
โอกาสให้เด็กเลือกตามความสนใจ ลงมือกระทาผ่านส่ือ อุปกรณ์ และของเล่นท่ีตอบสนองการเรียนรู้
และมีความยืดหยุ่น การเรียนรู้ของเด็กส่วนใหญ่เป็นกจิ กรรมที่เกยี่ วกบั การลองผิด ลองถกู การไดส้ ัมผัส
กระทา และการกระทาซ้าๆ เด็กจะมีความสนใจ อยากรู้อยากเห็น เกิดการค้นพบและการแก้ปัญหา
ความเข้าใจในตนเอง และผ้อู ่ืน ผใู้ หญ่ควรเปน็ ผูส้ นบั สนนุ วิธีการการเรยี นรู้ รวมทั้งการสรา้ งความท้าทาย
และส่งเสริมให้เด็กได้เรียนูร้ จากประสบการณ์จริงด้วยตัวเด็กเองในสภาพแวดล้อมท่ีอิสระ เอ้ือต่อการ
เรยี นูร้และเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการ ของเดก็ แต่ละคน

2.2.5 แนวคิดเกี่ยวกับกำรคำนึงถงึ สิทธิเดก็ การสร้างคุณค่า และสุขภาวะใหแ้ ก่เด็กปฐมวัยทุก
คน เด็กปฐมวัยควรได้รับการดแู ลและพัฒนาอย่างทัว่ ถงึ และเท่าเทียมกันทุกคน โดยมีสิทธิในการอยู่รอด
สทิ ธิได้รับ การคุ้มครอง สิทธิในด้านพัฒนาการ และสิทธิการมีส่วนร่วมตามที่กฎหมายระบุไว้ เด็กแต่ละ
คนมีคุณค่าในตนเอง และควรสร้างคุณค่าและคุณภาพชีวิตให้เกิดกับเด็กจากการอบรมเลี้ยงดู และการ
ให้การศึกษาท่ีมีคุณภาพ พร้อมกับการส่งเสริมด้านสุขภาวะทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา จากการได้รับโภชนาการท่ีดี การดูแลสุขภาพอนามัย การมีโอกาสพักผ่อน เล่น การปกป้อง
คุ้มครองจากการเจ็บป่วย และบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ตลอดจนการอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด
ปลอดภัย และถูกสุขอนามัย อนึ่ง สาหรับเด็กปฐมวัยที่เป็นกูล่มเด็กท่ีมี ความต้องการพิเศษหรือ
กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ ควรไดร้ บั การดแู ล ชว่ ยเหลือ และพัฒนาอย่างเหมาะสมเชน่ กัน

2.2.6 แนวคิดเกี่ยวกับกำรอบรมเลี้ยงดูควบคู่กำรให้กำรศึกษำ การจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่ง
พัฒนา เด็กบนพ้ืนฐานของการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กับการให้การศึกษา หรือการส่งเสริมกระบวนการ
เรียนรู้ท่ีสนองต่อ ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนอย่างเป็นองค์รวม การอบรมเล้ียงดู
เด็กปฐมวัยหมายรวมถึง การดูแลเอาใจใส่เด็กด้วยความรัก ความอบอุ่น ความเอื้ออาทร การดูแล
สุขภาพ โภชนาการและความปลอดภัย และการอบรมกล่อมเกลาให้เด็กมีจิตใจดี มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับ
ผู้อ่ืน มีการดาเนินชีวิตท่ีเหมาะสม และมีทักษะชีวิต การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็ก การเป็นแบบอย่างท่ีดี
ให้แก่เด็ก และการปฏิบัติตนของผู้ใหญ่ท่ีดูแลเดก็ ท่มี ุ่งตอบสนอง ความต้องการทง้ั ดา้ นร่างกายและจิตใจ
ของเด็ก โดยมุ่งให้เด็กมีร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี อารมณ์แจ่มใส มีความประพฤติดี มีวินัย รู้จัก
ควบคุมตนเอง มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อื่น การอบรมเลี้ยงดูท่ีมีผลดีต่อพัฒนาการ ของเด็ก คือ การท่ี
ผู้ใหญ่ที่แวดล้อมเด็กให้ความรัก ความอบอุ่น การยอมรับความคิดเห็นของเด็ก การใช้เหตุผล ในการ
อบรมเลี้ยงดู ผู้ใหญ่ทด่ี ูแลเด็กจะต้องเป็นผู้ที่มีความมั่นคงทางอารมณ์และปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทด่ี ีแก่
เด็ก ใช้การสร้างวนิ ัยเชิงบวกในการอบรมบ่มนิสัย ซ่ึงจะช่วยให้เดก็ เติบโตขึ้นเป็นผู้ทีม่ ีความภาคภมู ิใจใน
ตนเอง มีเป้าหมายชีวิต มีวินัยในตนเอง มีสัมพันธภาพท่ีดีต่อผู้อ่ืน สามารถจัดการกับความเครียดและ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 13

ปัญหาต่างๆ ได้ การอบรมเลี้ยงดูจึงเป็นแนวคิดสาคัญที่ครอบครัวและสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ต้องปฏบิ ัติ อย่างสอดคลอ้ งต่อเนื่องกัน สาหรับการให้การศึกษาเด็กในช่วงปฐมวัยนั้น ูผ้สอนต้อง
เปล่ยี นบทบาทจากผู้บอกความรู้หรือสั่งให้เด็กทา มาเป็นูผ้อานวยความสะดวกและสง่ เสริมกระบวนการ
เรียนรู้โดยการจัดสิ่งแวดล้อม และประสบการณ์ท่ีหลากหลายผ่านกิจกรรมท่ีเหมาะสมตามวัย ให้เด็ก
เรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติ และค้นพบด้วยตนเอง มีการกาหนดจุดมุ่งหมายและการ
วางแผนในการจัดประสบการณแ์ ละกจิ กรรม ท้ังรายบุคคล กลมุ่ ย่อย และกลมุ่ ใหญ่ เพ่ือให้เดก็ ได้รับการ
พัฒนาอย่างเป็นองค์รวม ทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยคานึงถึงเด็กเป็นสาคัญ
และพฒั นาเดก็ แตล่ ะคนอย่างเตม็ ศักยภาพ

2.2.7 แนวคิดเกี่ยวกับกำรบูรณำกำร เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยท่ีเรียนรู้ผ่านการเล่นและการทา
กิจกรรม ที่เหมาะสมตามวัย เป็นหน้าที่ของูผ้สอนต้องวางแผนโดยบูรณาการท้ังวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา ดนตรี และการเคลื่อนไหว คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพอนามัย และศาสตร์
อ่ืนๆ โดยไม่แบ่งเป็นรายวิชา แต่จะมีการผสมผสานความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติของแต่ละ
ศาสตร์ในการจัดประสบการณ์ ซึ่งแตกต่างจากการเรยี นรู้ในระดับช้ันอ่ืนๆ เป็นการจัดประสบการณ์การ
เรยี นรอู้ ย่างเป็นธรรมชาติเหมาะสม ตามวัยของเด็ก เพื่อพฒั นาเดก็ ทัง้ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญา โดยการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้บูรณาการผ่านสาระการเรียนรู้ท่ีประกอบด้วย
ประสบการณ์สาคัญด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา และสาระท่ีควรเรียนรู้ ได้แก่ ตัว
เด็ก บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก โดยออกแบบการจัด
ประสบการณ์และกิจกรรมที่ทาให้เกิดความหลากหลาย ภายใต้ สาระการเรียนรู้ทั้งประสบการณ์สาคัญ
และสาระท่ีควรเรียนรู้ท่ีมีการเชื่อมโยงกับการพัฒนามาตรฐานคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ของเด็ก และ
ความสอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของหลักสูตร โดยมีรปู แบบ การจัดประสบการณ์ตามความ
เหมาะสมของแต่ละสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ ประสบการณ์ การเรยี นรู้ของเด็ก
จะจัดข้ึนโดยคานึงถึงธรรมชาติของเด็กที่เรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ การสารวจ การทดลอง
การสร้างชิ้นงานท่ีสร้างสรรค์ และการเห็นแบบอย่างท่ีดี การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่าง
หลากหลายจะช่วยตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลส่งเสริมความชอบ ความสนใจ และความ
ถนัด ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาอย่างรอบด้าน พัฒนาทักษะชีวิต และทักษะการเรียนรู้ที่
สอดคล้อง กับธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กที่มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล การจัด
ประสบการณ์ การเรียนการสอนในระดับปฐมวัยยึดหลักการบูรณาการที่ว่า หน่ึงแนวคิดเด็กสามารถ
เรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะและหลายประสบการณ์สาคัญ
ดังน้ัน ผู้สอนจะต้องวางแผน การจัดประสบการณ์ในแต่ละวันให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นที่หลากหลาย
กิจกรรม หลากหลายทักษะ หลากหลาย ประสบการณ์สาคัญ อย่างเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ
เพือ่ ให้บรรลจุ ุดหมายของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

2.2.8 แนวคิดเก่ียวกับสื่อ เทคโนโลยี และสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ ผู้สอนสามารถ
นาส่ือ เทคโนโลยี และการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้มาสนับสนุนและเสริมสร้างการเรียนรู้
ของเด็กปฐมวัยได้ โดยสอื่ เป็นตัวกลางและเครอ่ื งมอื เพ่อื ให้เดก็ เกดิ การเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ สื่อ
สาหรับเด็กปฐมวัยนั้น สามารถเป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ของเล่น ตลอดจนเทคนิควิธีการ ท่ีกาหนดไว้ได้
อย่างง่ายและรวดเร็ว ทาให้ สิ่งที่เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรม เกิดการเรียนรู้และค้นพบ
ด้วยตนเอง การใช้ส่ือการเรียนรู้ ต้องปลอดภัยต่อตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ความสนใจ ความชอบ และ ความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย ควรมีสื่อที่เป็นสื่อของ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 14

จริง สื่อธรรมชาติ สือ่ ที่อยใู กลต้ วั เดก็ สื่อสะท้อน วัฒนธรรม สอ่ื ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และสือ่ เพื่อพฒั นาเด็ก
ในด้านต่างๆ ให้ครบทกุ ดา้ น ทั้งน้ี ส่อื ต้องเอือ้ ให้เด็กเรียนรู้ ผา่ นประสาทสัมผัสทั้งห้า และสง่ เสริมการลง
มือปฏิบัติจริงของเด็ก โดยการจัดสื่อสาหรับเด็กปฐมวัยต้องเริ่มต้นจาก สื่อของจริง ของจาลอง (3 มิติ)
ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง (2 มิติ) และสัญลักษณ์จากรูปธรรมไปสู่นามธรรมตามลาดับ สาหรับเทคโนโลยี
เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือการตอบสนอง ความต้องการและการ
แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีสาหรับเด็กปฐมวัยสามารถเป็นอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ของเล่นเด็ก และวิธีการใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การใช้เทคโนโลยี ท่ี
เหมาะสมต้องเป็นการเลือกใช้อย่างมีจุดมุ่งหมาย เคร่ืองมือประเภทดิจิตอลและอิเล็กทรอนิกส์เป็น สิ่งที่
ไม่เหมาะสมต่อการใช้กับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปีสาหรับเด็กอายุต้ังแต่ 3 ปีขึ้นไป ควรใช้กับเด็กอย่างมี
จุดมุ่งหมาย และใช้เป็นส่ือปฏิสัมพันธ์ จากัดช่วงเวลาในการใช้ และมีข้อตกลงในการใช้อย่างเหมาะสม
กบั วัย โดยใช้เป็น ทางเลอื กไม่บงคบั ใช้ และไม่ใช้เทคโนโลยีเพอื่ เสริมสื่อหลัก ส่วนการจัดสภาพแวดลอ้ ม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพ และทางจิตภาพ ทั้งภายในและ
ภายนอกห้องเรียนเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งการส่งเสริม
บรรยากาศที่ดีสาหรับการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ผู้สอนและเด็กมีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน สภาพแวดล้อมท่ีดี
ควรสะอาด ปลอดภัย อากาศสดชื่น ผ่อนคลาย ไม่เครียด เด็กมีโอกาสเรียนรู้เก่ียวกับตัวเอง และ
พฒั นาการอูยร่ ่วมกับูผอ้ ื่นในสงั คม

2.2.9 แนวคิดเก่ียวกับกำรประเมินตำมสภำพจริง การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยยึด
วิธกี ารสังเกตเป็นส่วนใหญ่เป็นกระบวนการทีต่ ่อเน่อื งและสอดคล้องสัมพันธก์ ับการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ รวมทั้งกิจกรรมใช้ประจาวัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้
ของเด็ก สาหรับ การส่งเสริมความก้าวหน้า และช่วยเหลือสนับสนุนเม่ือพบเด็กล่าช้าหรือมีปัญหาที่เกิด
จากพัฒนาการและการเรียนรู้ ไม่ใช้การตัดสินผลการศึกษาและไม่ใช่แบบทดสอบในการประเมิน เป็น
การประเมินตามสภาพจรงิ ท่มี กี าร วางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ ใช้วิธกี ารและเครือ่ งมือประเมินท่ีหลากหลาย
อย่างมีจดุ มุ่งหมาย เหมาะสมกับศักยภาพ ในการเรียนรู้และพัฒนาการตามวัยของเด็ก ตลอดจนรูปแบบ
การเรียนรู้ ประสบการณ์ท่ีเด็กได้รับ และแหล่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็กที่มีการเก็บข้อมูลอย่างรอบ
ด้าน โดยใช้เร่ืองราวเหตุการณ์ กิจกรรมตามสภาพจริงหรือ คล้ายจริงในชีวิตประจาวัน เพื่อให้เด็กมี
โอกาสแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆ จากการปฏิบัติ กิจกรรมหรือการสรา้ งงานท่ี
เป็นผลผลิตเพื่อเป็นการสะท้อนภาพท่ีแท้จริง มีการนาเสนอหลักฐานในการประเมิน ที่น่าเช่ือถือใน
รูปแบบท่ีเหมาะสม เพ่ือสื่อสารผลการประเมินให้แก้ครอบครัว รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องท่ีมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาเด็ก โดยสามารถบอกได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ข้อมูลจากการประเมิน
พฒั นาการจะช่วยผู้สอนในการวางแผนการจัดกิจกรรมชี้ให้เห็นความต้องการพิเศษของเด็กแต่ละคน ใช้
เป็นข้อมูลในการ สื่อสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครองเด็ก และขณะเดียวกันยังใช้ในการประเมินคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษา ใหก้ ับเด็กในวยั นไี้ ด้อกี ด้วย

2.2.10 แนวคิดเกี่ยวกับกำรมีส่วนร่วมของครอบครัว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย และชุมชน การพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพต้องอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับเด็ก
ซ่ึงพ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมท้ังบุคคลในครอบครัวเป็นผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดเด็กมากท่ีสุด และครอบครัวเป็น
จดุ เริ่มต้นในการเรียนรู้ ของเด็ก สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเป็นส่วนสาคัญที่อบรมเลี้ยง
ดแู ละพัฒนาเด็ก จึงไมเ่ พียงแต่ แลกเปลี่ยนความูร้เก่ียวกับพฒั นาการเด็กเท่าน้ัน แต่ยังต้องมีการทางาน
ร่วมกับครอบครวั และชมุ ชนท่ีมี รปู แบบต่างๆ เพือ่ การพัฒนาเดก็ ร่วมกนั เชน่ โปรแกรมการให้การศกึ ษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 15

แก่ผู้ปกครองในการดูแลและพัฒนา เด็ก โปรแกรมการช่วยเหลือครอบครัวและเด็กในด้านสุขภาพ
อนามัย โภชนาการ และการส่งเสริมพัฒนาการ การเยี่ยมบ้านเด็ก การสร้างช่วงรอยเช่ือมต่อระหว่าง
การศึกษาระดับอนุบาลกับระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 หรือเข้าสู่สถานศึกษา การสื่อสารกับผู้ปกครอง
ในช่องทางต่างๆ ที่เหมาะสม การขออาสาสมัครผู้ปกครองท่ี มีความสามารถหลากหลาย มีเวลา หรือ
ต้องการช่วยเหลือสนับสนุนในการทากิจกรรมต่างๆ การสนับสนุน การเรียนรู้ของเด็กท่ีบ้านท่ีเชื่อมต่อ
กบั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การเปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจในการดาเนินงานของ
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การสร้างความร่วมมือให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
การให้บริการและสนับสนุนตลอดจนการเป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก โดยการ มีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ
จะต้องอาศัยความไว้วางใจ ความเคารพซึ่งกันและกัน รวมท้ังการร่วมรับผิดชอบ สาหรับการจัด
การศึกษาใหแ้ ก่เด็กปฐมวยั อย่างมีคณุ ภาพ

2.2.11 แนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ความเป็นไทย และความ
หลากหลาย การเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ส่งผลต่อวิถีชีวติ และการจดั การศึกษา
เพื่อเตรียมเด็ก สู่อนาคต อย่างไรก็ตาม เด็กเม่ือเกิดมาจะเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไม่
เพียงแต่จะได้รับอิทธิพล จากการปฏิบัติแบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และการถ่ายทอดความรู้ภูมิ
ปัญญาของบรรพบุรุษแล้ว ยังได้รับอิทธิพล จากประสบการณ์ ค่านิยม และความเชื่อของบุคคลใน
ครอบครัวและชุมชนของแต่ละท่ีด้วย โดยบริบททางสังคม และวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่หรือแวดล้อม
รอบตัวเด็กมีอิทธิพลต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ ตลอดจนการพัฒนา ศักยภาพของแต่ละคน ผู้สอน
ควรต้องเรียนรู้บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรับผิดชอบ เพ่ือช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนา
และเกิดการเรียนรู้และดาเนินชีวิตอยู่ในกลุ่มคนที่มาจากพื้นฐานเหมือนหรือต่างจากตน ได้อย่างราบรื่น
มีความสุข เป็นการเตรียมเด็กไปสู่สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การทางานร่วมกับผู้อื่น ท่ีมี
ความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรม โดยคานึงถึงความเป็นไทยที่มีมรดกทาง
วัฒนธรรม ท้ังในดา้ นภาษา มารยาท คุณธรรมจรยิ ธรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่งดงาม และที่สาคัญ
คอื หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเป็นหลักคิดในการดาเนินชวี ิตท่ีเน้นความพอประมาณ มเี หตผุ ล
มีภูมิคุ้มกัน การใช้ความรู้ควบคู่คุณธรรม โดยในการจัดการศึกษาต้องมีการคานึงถึงท้ังด้านเช้ือชาติ
ศาสนา เศรษฐสถานะ เพศ วัย ความต้องการพิเศษ ทีเป็นความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยสามารถ
พฒั นาให้เด็กมีความเข้าใจในตนเอง เข้าใจผู้อื่น และอยรู่ ่วมกับ ผู้อ่ืนได้ ในแนวคิดและความหลากหลาย
เท่าทันการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรอบด้าน โดย สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยสามารถจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่มีอัตลักษณ์ มีการวางแผน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
และการจัดกิจกรรมทสี่ ร้างความเช่ือมโยงกับสังคม วัฒนธรรม ความเปน็ ไทย และความหลากหลาย จาก
แนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ที่สาคัญเกี่ยวกับพัฒนาการ ของเด็กท่ีมี
ความสมั พนั ธ์ และพัฒนาต่อเนื่องเป็นข้นั ตอนไปพร้อมทกุ ด้าน แนวคดิ เก่ียวกบั การพัฒนาเด็ก อย่างเป็น
องค์รวมและการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนูร้ท่ีสอดคล้องกับ การ
ทางานของสมอง ซ่ึงสมองหากได้รับการกระตุ้นจะมีความสามารถในการเรียนรู้และจดจาได้มากขึ้น
แ น ว คิ ด เก่ี ย ว กั บ ก า ร เล่ น แ ล ะ กา ร เรี ย นูร้ ท่ี ยึ ด ให้ เด็ ก ได้ เรี ย นูร้ จ าก ป ระ ส บ ก า รณ์ จ ริ งด้ ว ย ตั ว เด็ ก ใน
ส่ิงแวดล้อม ทีเ่ ป็นอิสระเออ้ื ต่อการเรยี นูร้และจัดกิจกรรมบรู ณาการให้เหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการของ
เด็กแต่ละคน โดยถือว่าการเล่นอย่างมีความหมายเป็นหัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์ให้เด็กและ
แนวคิดเกี่ยวกับการมี ส่วนร่วมของครอบครัว หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเป็นไทยและ
ความหลากหลาย ซ่ึงมีอิทธิพลต่อ การเรียนูร้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน และ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 16

จากพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 มาตราต่างๆ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560 จึงกาหนดสาระสาคัญของหลกั สตู ร การศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กอายุ 3 - 6 ปี ข้นึ ซึ่ง
จะกล่าวรายละเอียดตอ่ ไป

2.3. สำระสำคญั ของหลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั พุทธศักรำช 2560 สำหรบั เด็กอำยุ 3 - 6
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดสาระสาคัญไว้ให้สถานศึกษาหรือสถาน

พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ยึดเป็นแนวทางเพ่อื ดาเนินการพฒั นาหลักสตู รสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ที่หน่วยงานของ
ตนรับผิดชอบ โดยต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนในเรอ่ื งของปรัชญาการศึกษาปฐมวัย วิสยั ทัศน์ หลักการ
จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ การจัดเวลาเรียน และสาระ
การเรยี นรู้ ดังน้ี

2.3.1 ปรชั ญำกำรศึกษำปฐมวยั
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดปรชั ญาการศึกษาปฐมวัยท่สี ะท้อนใหเ้ ห็น
ความเช่ือพ้ืนฐานในการพัฒนาเด็กปฐมวัยตง้ั แต่อายุแรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์โดยเห็นความสาคัญของการ
พัฒนาเด็กโดยองค์รวม การคานึงถึงความสมดุลและครอบคลุมพัฒนาการของเด็กครบทุกด้านในการ
อบรมเลี้ยงดูพัฒนาและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก ท่ีผู้สอนต้องยอมรับความแตกต่างของเด็ก
ปฏิบัติต่อเดก็ แต่ละคนอย่างเหมาะสม โดยผู้สอนให้ความรัก ความเอ้ืออาทร มีความเข้าใจในการพัฒนา
เด็กให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม และอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข ดงั นี้

ปรชั ญำกำรศกึ ษำปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์อย่างเป็นองค์รวม บน

พน้ื ฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัย
ของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก
ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็น
มนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์ เกดิ คณุ ค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

2.3.2 วิสัยทัศน์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดวิสัยทัศน์ท่ีสะท้อนให้เห็นความคาดหวัง
ทีเ่ ป็นจริงได้ในอนาคต ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มคี ุณภาพผ่านประสบการณ์ท่ีเด็กปฐมวัยเรียนรอู้ ย่าง
มีความสุขมีทักษะชีวิต ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสานึก
ความเป็นไทยและทุกฝ่ายทั้งครอบครัว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และชุมชนร่วมมือกัน
พฒั นาเด็ก ดงั น้ี

วสิ ยั ทศั น์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเน่ือง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุข
และเหมาะสมตามวยั มที กั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นคนดีมวี ินัย

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 17

และสานึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายท่ี
เก่ยี วข้องกับการพฒั นาเด็ก

2.3.3 หลกั กำร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดหลักการสาคัญในการจัดการศึกษา
ปฐมวัยซ่ึงผู้สอนจาเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจ เพราะในการจัดประสบการณ์ให้เด็กอายุ 3 - 6 ปี จะต้องยึด
หลักการอบรมเล้ียงดูควบคู่กับการให้การศึกษา โดยต้องคานึงถึงความสนใจและความต้องการของเด็ก
ทุกคน ทั้งเด็กปกติ เด็กที่มีความสามารถพิเศษ และเด็กที่มีความบกพร้องทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม สติปัญญา รวมท้ังการสื่อสารและการเรียนรู้หรือเด็กท่ีมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคล
ซ่ึงไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส เพ่ือให้เด็กพัฒนาทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุลโดยจัดกิจกรรมที่หลากหลาย บูรณาการผ่านการเล่น
และกิจกรรมท่เี ป็นประสบการณ์ตรงผา่ นประสาทสัมผสั ทงั้ ห้าเหมาะสมกับวยั และความแตกต่างระหวา่ ง
บุคคล ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถใน
การอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาเดก็ ปฐมวัย เพ่ือให้เด็กแต่ละคนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับข้ัน
ของพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุข เป็นคนดีของสังคม
และสอดคล้องกับธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อทางศาสนา
สภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิทธิเด็ก โดยความรว่ มมือจากครอบครัว ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องค์กรเอกชน สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น ดงั น้ี

หลักกำร
1. ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการทคี่ รอบคลมุ เด็กปฐมวัยทุกคน
2. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคลและวถิ ีชีวติ ของเดก็ ตามบริบทของชุมชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
3. ยึดพฒั นาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรม
ที่หลากหลาย ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและมีการพักผ่อน
เพียงพอ
4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ คนดี มวี ินัย และมคี วามสขุ
5. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก ระหว่างสถานศึกษา
กับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้องกับการพฒั นาเด็กปฐมวัย

2.3.4 จุดหมำย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดจุดหมายเพื่อให้เกิดกับเด็กเมื่อ
จบการศึกษาระดับปฐมวัยแล้ว โดยจุดหมายอยู่บนพ้ืนฐานพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ท่ีนาไปสู่การกาหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี
และสภาพท่ีพงึ ประสงคด์ ังน้ี
จดุ หมำย
1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสุขนิสัยทด่ี ี

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 18

2. สุขภาพจิตดี มีสนุ ทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม
3. มีทกั ษะชวี ิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มวี นิ ยั และอยู่รว่ มกับ
ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
4. มที ักษะการคดิ การใช้ภาษาส่อื สาร และการแสวงหาความร้ไู ดเ้ หมาะสมกบั วัย

2.3.5 มำตรฐำนคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กาหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
จานวน 12 มาตรฐาน ประกอบด้วย พัฒนาการด้านร่างกาย 2 มาตรฐาน พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
3 มาตรฐาน พัฒนาการด้านสังคม 3 มาตรฐาน และพัฒนาการด้านสติปัญญา 4 มาตรฐาน กาหนดตัว
บง่ ชี้ซ่ึงเป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
และมีการกาหนดสภาพท่ีพึงประสงค์ซ่ึงเป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่จาเป็นสาหรับเด็กทุก
คนบนพื้นฐานพัฒนาการหรอื ความสามารถในแต่ละระดับอายุ คือ อายุ 3 - 4 ปี อายุ 4 - 5 ปี และอายุ
5 - 6 ปี อีกท้ังนาไปใช้ในการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ เพ่ือกาหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนูร้ในการจัด
ประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก นอกจากสภาพท่ีพึงประสงค์ท่ีกาหนดในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย ผู้สอนจาเปน็ ต้องทาความเขา้ ใจพัฒนาการของเด็กอายุ 3 - 6 ปี เพ่อื นาไปพิจารณาจัด
ประสบการณ์ใหเ้ ด็กแต่ละวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ขณะเดียวกนั จะตอ้ งสังเกตเด็กแตล่ ะคนซึง่ มคี วาม
แตกต่างระหว่างบุคคลเพ่ือนาข้อมูลไปช่วยพัฒนาเด็กให้เต็มตามความสามารถและศักยภาพหรือ
ช่วยเหลือเด็กได้ทันท่วงที ในกรณีสภาพท่ีพึงประสงค์ของเด็กไม่เป็นไปตามวัย ผู้สอนจาเป็นต้องหา
จุดบกพร่องและรบี แก้ไขโดยจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนาเด็ก ถ้าเดก็ มีสภาพท่ีพงึ ประสงค์สูงกวา่ วัย ผ้สู อนควร
จดั กิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ สภาพท่ีพึงประสงค์เกิดข้ึนตามวัยมากน้อย
แตกต่างกันไปในเด็กแต่ละบุคคล ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อม การอบรมเล้ียงดู และประสบการณ์ท่ี
เดก็ ได้รบั

2.4. หลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวรำรำม (เจริญผลวิทยำเวศม์) พุทธศักรำช 2560 (ฉบับ
ปรับปรุง 2561) ปรัชญำ วิสัยทัศน์ หลักกำร และจุดหมำยของหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย
พทุ ธศกั รำช 2560

2.4.1 ปรัชญำกำรศกึ ษำปฐมวยั
การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกดิ ถงึ 6 ปี บริบูรณ์ บนพนื้ ฐานการอบรมเลย้ี งดู
และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็ม
ตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ ดว้ ยความรัก ความเอื้ออาทร และความ
เข้าใจของทุกคน เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่า
ต่อตนเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ

2.4.2 วิสัยทัศน์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา อยา่ งมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนร้อู ย่างมีความสุข
และเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มี

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 19

วินัย และสานึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุก
ฝ่ายทเ่ี กี่ยวข้องกบั การพัฒนาเดก็

2.4.3 หลักกำร
1. สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการท่ีครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
2. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล และวิถีชีวติ ของเดก็ ตามบริบทของชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
3. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรม
ท่ีหลากหลาย ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อน
เพียงพอ
4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต สามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นคนดี มวี ินัย และมคี วามสุข
5. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก ระหว่างสถานศึกษา กับ
พอ่ แม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝ่ายที่เก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
2.4.4 จุดหมำย
1. รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัย แขง็ แรง และมีสขุ นิสัยที่ดี
2. สขุ ภาพจติ ดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจท่ดี ีงาม
3. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัยและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ได้อยา่ งมคี วามสขุ
4. มที ักษะการคิด การใชภ้ าษาสอ่ื สาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั

2.4.5 วสิ ัยทศั น์หลกั สูตรสถำนศกึ ษำปฐมวัย โรงเรยี นวัดชนิ วรำรำม(เจรญิ ผลวทิ ยำเวศม)์
ภายในปีการศึกษา 2562 โรงเรยี นวัดชนิ วราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)มุ่งพัฒนาเด็ก 4 - 6 ปี ทุกคน
ให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างมีคุณภาพ ได้รับการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีความสุข ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย และทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยเปดิ โอกาสให้ทุกฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้อง มสี ่วนร่วมจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพเป็นท่ียอมรับ

2.4.6 พนั ธกิจ
1) พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน อย่างสมดุล และเต็มศักยภาพ สนใจใฝ่รู้

และเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพพัฒนาครใู ห้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผา่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัติที
jหลากหลาย สอดคลอ้ งกับพัฒนาการเด็ก

2 ) นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้อย่างเหมาะสม
3) นาส่ือ เทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรมไทย มาพัฒนาเด็กปฐมวยั
4) ให้ผปู้ กครองและชุมชนมสี ่วนร่วมพัฒนาเด็กปฐมวยั

2.4.7 เป้ำหมำย
1) เด็กปฐมวัยทุกคน มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่าง

สมดลุ และเตม็ ศกั ยภาพ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 20

2) ครูทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นและ
ลงมอื ปฏบิ ตั ิทีห่ ลากหลาย สอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก

3) ครูทกุ คนนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดประสบการณ์อยา่ ง
เหมาะสมกับวัย

4) โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม ส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ
เดก็

5) มีเครือข่ายพ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพเด็ก
ปฐมวยั

2.4.8 มำตรฐำนคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) กาหนดมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์จานวน 12 มาตรฐาน ท่ีครอบคลุมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ
ดา้ นสังคม และด้านสตปิ ญั ญา มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์เป็นคณุ ภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก
เม่อื จบหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ประกอบด้วย

1) พฒั นำกำรด้ำนร่ำงกำย ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมีสุขนสิ ยั ท่ดี ี
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละกลา้ มเนื้อเลก็ แขง็ แรง ใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และประสาน
สมั พันธก์ ัน
2) พฒั นำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี 3 มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสขุ
มาตรฐานที่ 4 ชืน่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานท่ี 5 มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจที่ดงี าม
3) พัฒนำกำรดำ้ นสงั คม ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี 6 มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาตรฐานที่ 7 รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี 8 อยรู่ ว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกท่ดี ีของ

สังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
4) พัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐานคือ

มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย
มาตรฐานท่ี 10 มคี วามสามารถในการคิดทเี่ ป็นพน้ื ฐานในการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติท่ีดีต่อการเรยี นรแู้ ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกบั วัย

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 21

2.4.9 มำตรฐำนคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์

1) พฒั นำกำรด้ำนรำ่ งกำย

มาตรฐานท่ี 1 ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมีสุขนสิ ยั ท่ีดี

ตวั บ่งช้ที ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทพ่ี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

1.1 มี น้ าห นั ก แล ะ 1.1.1 น้าหนักและส่วนสูง 1.1.1 น้าหนักและส่วนสูง 1.1.1 น้าหนักและส่วนสูง

สว่ นสูงตามเกณฑ์ ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั

1.2 มสี ขุ ภาพอนามัย - 1.2.1 ยอมรับประทาน 1.2.1 รบั ประทานอาหาร 1.2.1 รบั ประทานอาหาร
ท่ีมีประโยชน์ได้หลายชนิด
สุขนิสยั ท่ดี ี อาหารที่มี ประโยชน์และดื่ม ทมี่ ีประโยชน์และดืม่ น้า แ ล ะ ดื่ ม น้ า ส ะ อ า ด ไ ด้ ด้ ว ย
ตนเอง
น้าทส่ี ะอาดเมื่อมผี ูช้ ีแ้ นะ สะอาดไดด้ ้วยตนเอง
1.2.2 ล้างมอื ก่อน
1.2.2 ล้างมอื ก่อน 1.2.2 ลา้ งมอื ก่อน รับประทานอาหารและ
รบั ประทานอาหารและ รับประทานอาหารและ หลังจากใชห้ อ้ งนา้ ห้องส้วม
หลงั จากใชห้ ้องน้าห้องส้วม หลงั จากใชห้ อ้ งน้าห้อง ดว้ ยตนเอง
โดยมผี ชู้ ี้แนะ ส้วมด้วยตนเอง

1.2.3 นอนพักผ่อนเปน็ เวลา 1.2.3 นอนพักผ่อนเป็น 1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา

เวลา

1.2.4 ออกกาลังกายเป็น 1.2.4 ออกกาลังกายเป็น 1.2.4 ออกกาลังกายเป็น

เวลา เวลา เวลา

1 .3 รั ก ษ า ค ว า ม 1.3.1 เล่นและทากิจกรรม 1.3.1 เล่นและทากิจกรรม 1.3.1 เลน่ ทากิจกรรม

ปลอดภัยของตนเอง อย่างปลอดภยั เมอ่ื มีผูช้ แี้ นะ อย่างปลอดภัยดว้ ยตนเอง และปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่าง

และผอู้ ่ืน ปลอดภัย

มาตรฐานท่ี 2 กลา้ มเนอื้ ใหญ่และกลา้ มเนอ้ื เล็กแขง็ แรงใช้ได้อย่างคล่องแคลว่ และประสานสัมพันธก์ นั

ตัวบ่งชีท้ ี่ อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทพ่ี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

2.1 เคลื่อนไหวร่างกาย 2.1.1 เดนิ ตามแนว 2.1.1 เดิน ต่อเท้ าไป 2.1.1 เดนิ ต่อเทา้
ข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้ ถอยหลังเป็นเสน้ ตรงได้
อย่างคลอ่ งแคลว่ ท่ีกาหนดได้

ประสานสัมพนั ธ์ โดยไมต่ ้องกางแขน โดยไม่ตอ้ งกางแขน
และทรงตวั ได้ 2.1.2 กระโดดสองขา 2.1.2 กระโดดขาเดยี ว 2.1.2 กระโดดขาเดยี ว

ขน้ึ ลงอย่กู บั ทไ่ี ด้ อยกู่ ับทีไ่ ดโ้ ดยไมเ่ สีย ไป ข้ างห น้ าได้ อ ย่ าง
การทรงตัว ต่อเนื่องโดยไม่เสียการ

ทรงตัว

2.1.3 วง่ิ แล้วหยุดได้ 2.1.3 วิ่งหลบหลีกส่งิ กีด 2.1.3 วิ่งหลบหลีกส่ิง

ขวางได้ กี ด ข ว า ง ไ ด้ อ ย่ า ง
คลอ่ งแคล่ว

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 22

ตวั บง่ ชี้ท่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพที่พงึ ประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี
2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้ 2 .1 .4 รับ ลู ก บ อ ล ที่
มอื และลาตวั ช่วย 2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้ กระดอนขึน้ จากพ้ืนได้
มือท้ัง 2 ขา้ ง

2.2 ใช้มือ – ตา ประสาน 2 .2 .1 ใช้ ก รร ไก ร ตั ด 2 .2 .1 ใช้ ก รร ไก รตั ด 2 .2 .1 ใช้ ก รรไก รตั ด

สมั พนั ธก์ ัน กระดาษขาดจากกันได้ ก ร ะ ด า ษ ต า ม แ น ว กระดาษตามแนวเส้น

โดยใช้มือเดียว เส้นตรงได้ โคง้ ได้

2.2.2 เขียนรูปวงกลม 2.2.2 เขียนรูปส่ีเหล่ียม 2 . 2 . 3 เ ขี ย น รู ป

ตามแบบได้ ตามแบบได้อย่างมีมุม สามเหลี่ยมได้อย่างมีมุม

ชดั เจน ชัดเจน

2 .2 .3 ร้ อ ย วั ส ดุ ท่ี มี รู 2 .2 .3 ร้ อ ย วั ส ดุ ท่ี มี รู 2 .2 .3 ร้อ ย วั ส ดุ ท่ี มี รู

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง

เซนตเิ มตรได้ 0.5 เซนติเมตรได้ 0.25 เซนติเมตรได้

2 ) พฒั นำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ

มาตรฐานท่ี 3 มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ

ตัวบ่งชี้ที่ อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทพ่ี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

3.1 แสดงออกทาง 3.1.1 แสดงอารมณ์ 3.1.1 แสดงอารมณ์ N 3.1.1 แสดงอารมณ์

อารมณ์ไดอ้ ย่างเหมาะสม ความรู้สกึ ได้เหมาะสม ความรู้สกึ ได้ตาม ความรสู้ ึก ได้สอดคล้อง
กับบางสถานการณ์ สถานการณ์ กับสถานการณอ์ ย่าง

เหมาะสม

3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อ 3.2.1 กล้าพูดกล้า 3.2.1 กล้าพูดกลา้ 3.2.1 กลา้ พดู กล้า

ตนเองและผู้อ่ืน แสดงออก แสดงออกอย่างเหมาะสม แสดงออกอยา่ ง

บางสถานการณ์ เหมาะสมตาม

สถานการณ์

3.2.2 แสดงความพอใจ 3.2.2 แสดงความพอใจ 3.2.2 แสดงความพอใจ

ในผลงานตนเอง ในผลงานและความ ในผลงานและความ

สามารถของตนเอง สามารถของตนเองและ
ผู้อนื่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 23

มาตรฐานที่ 4 ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

ตัวบ่งชีท้ ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทพ่ี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

4.1 สนใจและ มีความสุข 4.1.1 สนใจ มีความสขุ 4.1.1 สนใจ มคี วามสุข 4.1.1 สนใจ มคี วามสขุ
และแสดงออกผ่านงาน และแสดงออกผา่ นงาน และแสดงออกผา่ นงาน และแสดงออกผ่านงาน
ศิลปะ ดนตรี และการ ศลิ ปะ ศลิ ปะ ศลิ ปะ

เคลอ่ื นไหว 4.1.2 สนใจ มีความสุข 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข
และแสดงออกผา่ น และแสดงออกผา่ น และแสดงออกผา่ น
เสียงเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี เสยี งเพลง ดนตรี

4.1.3 สนใจ มคี วามสุข 4.1.3 สนใจ มีความสขุ 4.1.3 สนใจ มคี วามสุข

และแสดงท่าทาง/ และแสดงท่าทาง/ และแสดงท่าทาง/
เคล่อื นไหวประกอบ เคลอ่ื นไหวประกอบ เคลื่อนไหวประกอบ
จงั หวะและดนตรี จงั หวะและดนตรี จังหวะและดนตรี

มาตรฐานที่ 5 มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทดี่ ีงาม

ตวั บง่ ชี้ที่ อำยุ 3 – 4 ปี สภำพท่พี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

5.1 ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 5.1.1 บอกหรือช้ีได้ว่าสิ่ง 5.1.1 ขออนุญาตหรือ 5.1.1 ขออนุญาตหรือรอ

ใดเป็นของตนเองและสิ่ง ร อ ค อ ย เมื่ อ ต้ อ ง ก า ร คอย เม่ือต้องการส่ิงของ

ใดเปน็ ของผู้อืน่ ส่ิงของของผู้อ่ืนเม่ือมีผู้ ของผู้อ่นื ดว้ ยตนเอง

ชีแ้ นะ

5.2 มีความเมตตากรุณา 5.2.1 แสดงความรักเพ่ือน 5.2.1 แสดงความรกั 5.2.1 แสดงความรักเพ่ือน
มีน้าใจ และช่วยเหลือ และมีเมตตาสัตวเ์ ลีย้ ง เพ่ือนและมีเมตตาสัตว์ และมีเมตตาสัตวเ์ ล้ยี ง

แบ่งปัน เลี้ยง

5.2.2 แบ่งปันผอู้ ่ืนไดเ้ มื่อมี 5.2.2 ช่ ว ยเห ลื อ แล ะ 5.2.2 ช่วยเห ลือและ

ผู้ช้ีแนะ แบ่ งปั นผู้ อื่ นได้ เมื่ อมี ผู้ แบง่ ปนั ผู้อืน่ ได้ด้วยตนเอง
ชแ้ี นะ

5.3 มีความเหน็ อก 5.3.1 แสดงสีหน้าหรือ 5.3.1 แสดงสีหน้าหรือ 5.3.1 แสดงสีหน้าหรือ
เห็นใจผู้อืน่ ท่าทางรับรู้ความรู้สึก ท่าท างรับ รู้ความรู้สึก ท่าทางรับรู้ความรู้สึก
ผอู้ นื่ ผอู้ น่ื ผู้อ่ืนอย่างสอดคล้องกับ

สถานการณ์

5.4 มคี วามรับผดิ ชอบ 5.4.1 ท างาน ที่ ได้ รับ 5.4.1 ท างาน ท่ี ได้ รับ 5.4.1 ท างาน ที่ ได้ รับ

มอบหมายจนสาเร็จเมื่อ มอบหมายจนสาเร็จเม่ือมี มอบหมายจนสาเร็จ

มผี ้ชู ว่ ยเหลอื ผชู้ แ้ี นะ ด้วยตนเอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 24

3) พัฒนำกำรด้ำนสงั คม
มาตรฐานท่ี 6 มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบัตติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตัวบง่ ช้ที ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพท่ีพึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

6.1 ชว่ ยเหลอื ตนเอง 6.1.1 แต่งตวั โดยมี 6.1.1 แตง่ ตวั ด้วยตนเอง 6.1.1 แต่งตัวดว้ ยตนเอง
ใน ก ารป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร ผู้ชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่

ประจาวัน 6 .1 .2 รั บ ป ร ะ ท า น 6.1.2 รับประทานอาหาร 6 .1 .2 รั บ ป ร ะ ท า น

อาหารดว้ ยตนเอง ดว้ ยตนเอง อาหารด้วยตนเองอย่าง
ถกู วธิ ี

6.1.3ใช้ห้องน้าห้องส้วม 6.1.3ใช้ห้องน้าห้องส้วม 6.1.3ใช้และทาความ

โดยมีผชู้ ่วยเหลอื ดว้ ยตนเอง ส ะ อ า ด ห ลั ง ใช้ ห้ อ ง น้ า

หอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง

6.2 มีวินยั ในตนเอง 6.2.1 เกบ็ ของเลน่ 6.2.1 เกบ็ ของเลน่ 6.2.1 เก็บของเล่น

ของใช้เขา้ ทีเ่ มอ่ื มผี ้ชู ้ีแนะ ของใช้เข้าที่ดว้ ยตนเอง ข อ ง ใ ช้ เ ข้ า ท่ี อ ย่ า ง

เรยี บรอ้ ยดว้ ยตนเอง

6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ

กอ่ นหลงั ได้เมื่อมีผ้ชู ีแ้ นะ กอ่ นหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง ก่อนหลังไดด้ ว้ ยตนเอง

6 .3 ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ 6.3.1 ใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้ 6.3.1 ใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้ 6.3.1 ใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้

พอเพยี ง อ ย่ า ง ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ อ ย่ า ง ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ อ ย่ า ง ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ
พอเพียงเม่อื มีผูช้ ้แี นะ พอเพียงเมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ พอเพยี งดว้ ยตนเอง

มาตรฐานท่ี 7 รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย

ตวั บ่งชีท้ ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพที่พึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติ 7.1.1 มีส่วนร่วมในการ 7.1.1 มีส่วนร่วมในการ 7 . 1 . 1 ดู แ ล รั ก ษ า

และสิง่ แวดลอ้ ม ดูแลรักษาธรรมชาติและ ดูแลรักษาธรรมชาติและ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ

ส่งิ แวดล้อมเมื่อมผี ้ชู ีแ้ นะ สิ่งแวดลอ้ มเมอื่ มีผูช้ ้ีแนะ สง่ิ แวดล้อมดว้ ยตนเอง

7.1.2 ท้งิ ขยะไดถ้ กู ที่ 7.1.2 ทง้ิ ขยะได้ถูกท่ี 7.1.2 ทิ้งขยะได้ถูกท่ี

7 .2 มี ม า ร ย า ท ต า ม 7.2.1 ป ฏิ บั ติตน ตาม 7.2 .1 ป ฏิ บั ติ ต น ต าม 7.2 .1 ป ฏิ บั ติ ต น ต าม

วัฒ นธรรมไท ยและรัก มารยาทไทยไดเ้ มื่อมี ม า ร ย า ท ไท ย ได้ ด้ ว ย ม า ร ย า ท ไท ย ได้ ต า ม

ความเป็นไทย ผู้ชแี้ นะ ตนเอง กาลเทศะ

7.2.2 กล่าวคาขอบคุณ 7.2.2 กล่าวคาขอบคุณ 7.2.2 กล่าวคาขอบคุณ
และขอโทษเมอ่ื มผี ู้ชีแ้ นะ และขอโทษด้วยตนเอง และขอโทษด้วยตนเอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 25

ตัวบ่งช้ที ี่ สภำพทพ่ี ึงประสงค์

อำยุ 3 – 4 ปี อำยุ 4 – 5 ปี อำยุ 5 -6 ปี

7.2.2 หยุดยืนเมื่อได้ยิน 7.2.2 หยุดยืนเม่ือได้ยิน 7.2.2 หยุดยืนเม่ือได้ยิน

เพ ล งช า ติ แ ล ะ เพ ล ง เพ ล ง ช า ติ แ ล ะ เพ ล ง เพ ล งช า ติ แ ล ะ เพ ล ง

สรรเสริญพระบารมี สรรเสรญิ พระบารมี สรรเสริญพระบารมี

มาตรฐานท่ี 8 อยรู่ ่วมกับผ้อู น่ื ได้อยา่ งมคี วามสขุ และปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสงั คมในระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

ตัวบง่ ช้ีที่ อำยุ 3 – 4 ปี สภำพท่ีพึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

8.1 ยอมรับความเหมือน 8.1.1 เล่นและทา 8.1.1 เล่นและทา 8.1.1 เลน่ และทา

แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กจิ กรรมรว่ มกับเด็กที่ กจิ กรรมร่วมกับเดก็ ท่ี กิจกรรมรว่ มกับเด็กท่ี

ระหว่างบคุ คล แตกต่างไปจากตน แตกตา่ งไปจากตน แตกต่างไปจากตน

8.2 มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับ 8.2.1 เลน่ รว่ มกับเพื่อน 8.2.1 เลน่ หรอื ทางาน -8.2.1 เลน่ หรอื ทางาน
ผูอ้ น่ื ร่วมกบั เพ่ือนเปน็ กลุ่ม ร่วมกับเพ่ือนอย่างมี

เปา้ หมาย

8.2.2 ย้มิ หรอื ทักทาย 8.2.2 ยิ้ม ทกั ทายหรือ 8.2.2 ยิ้ม ทักทาย หรือ

ผู้ใหญ่และบุคคลคุน้ เคย พูดคุยกับผใู้ หญ่และ พดู คุยกับผใู้ หญแ่ ละ
บคุ คลค้นุ เคยได้
ไดเ้ ม่ือมผี ูช้ ้แี นะ บุคคลคุ้นเคยไดด้ ้วย เหมาะสมกบั สถานการณ์

ตนเอง

8.3 ปฏิบตั ิตนเบื้องต้นใน 8.3.1 ปฏบิ ัติตาม 8.3.1 มสี ่วนรว่ มสร้าง 8.3.1 มีส่วนรว่ มสร้าง
การเป็นสมาชิกท่ีดีของ ข้อตกลงเม่ือมีผู้ชีแ้ นะ ข้อตกลงและปฏิบตั ติ าม ขอ้ ตกลงและปฏิบตั ติ าม
สังคม ขอ้ ตกลงเมื่อมผี ู้ช้แี นะ ข้อตกลงดว้ ยตนเอง
8.3.2 ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้นา
8.3.2 ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผ้นู า และผู้ตามได้ดว้ ยตนเอง 8.3.2 ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผนู้ า
และผู้ตามเม่ือมผี ู้ช้ีแนะ และผตู้ ามได้เหมาะสมกับ
8.3.3 ประนีประนอม สถานการณ์
8.3.3 ยอมรบั การ แกไ้ ขปัญหาโดย
ประนีประนอมแกไ้ ข ปราศจากความรุนแรง 8.3.3 ประนปี ระนอม
ปญั หาเมอื่ มีผูช้ แ้ี นะ เม่ือมผี ชู้ แ้ี นะ แกไ้ ขปัญหาโดย
ปราศจากความรนุ แรง
ดว้ ยตนเอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 26

4) ด้ำนสตปิ ญั ญำ

มาตรฐานท่ี 9 ใช้ภาษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั

ตัวบ่งชท้ี ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทีพ่ งึ ประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี
9.1.1 ฟงั ผู้อ่นื พดู จนจบ
9.1 สนทนาโต้ตอบและ 9.1.1 ฟงั ผ้อู นื่ พูดจนจบ 9.1.1 ฟงั ผ้อู ืน่ พูดจนจบ และสนทนาโต้ตอบอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง เช่อื มโยงกบั เรือ่ ง
เล่าเร่ืองให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ และพูดโตต้ อบเกีย่ วกบั และสนทนาโตต้ อบ ท่ีฟงั
9.1.2 เล่าเรือ่ งเปน็
เรอ่ื งท่ีฟงั สอดคลอ้ งกบั เร่ืองที่ฟงั เรือ่ งราวตอ่ เน่ืองได้

9.1.2 เลา่ เรือ่ งด้วย 9.1.2 เลา่ เร่ืองเป็น
ประโยคสนั้ ๆ ประโยคอยา่ งต่อเนื่อง

9.2 อ่าน เขียนภ าพ 9.2.1 อ่านภาพและพูด 9.2.1 อา่ นภาพ สญั ลักษณ์ 9.2.1 อ่านภาพ

และสญั ลักษณ์ได้ ขอ้ ความด้วยภาษาของ คา พร้อมท้ังช้หี รือกวาดตา สัญลกั ษณ์ คา พร้อมท้งั

ตน มองขอ้ ความตามบรรทดั ช้ีหรือกวาดตามอง

จุดเริ่มต้นและจดุ จบของ

ข้อความ

9.2.2 เขยี นขีดเขีย่ อยา่ ง 9.2.2 เขยี นคลา้ ยตัวอักษร 9.2.2 เขยี นชื่อของตนเอง

มีทศิ ทาง ตามแบบ เขยี นขอ้ ความ

ด้วยวิธีท่คี ดิ ขึน้ เอง

มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้

ตวั บ่งชท้ี ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพท่พี งึ ประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

10.1 มีความ 10.1.1 บอกลักษณะของ 10.1.1 บอกลกั ษณะและ 10.1.1 บอกลักษณะส่วน
สามารถในการคิด
รวบยอด สิ่งต่างๆจากการสงั เกต สว่ นประกอบของส่งิ ต่างๆ ประกอบ การเปล่ยี นแปลง

โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั จากการสังเกต โดยใช้ หรอื ความสมั พนั ธ์ของ

ประสาทสมั ผัส สิง่ ตา่ งๆจากการสังเกต โดย

ใช้ประสาทสัมผสั

10.1.2 จบั คู่หรือ 10.1.2 จับคู่และ 10.1.2 จบั คู่และ

เปรียบเทียบส่งิ ต่างๆโดย เปรียบเทยี บความแตกตา่ ง เปรยี บเทียบความแตกต่าง

ใชล้ ักษณะหรอื หน้าท่ี หรอื ความเหมือนของสิ่ง หรอื ความเหมือนของสิ่ง

การใช้งานเพยี งลักษณะ ตา่ งๆ โดยใชล้ กั ษณะที่ ตา่ งๆ โดยใชล้ กั ษณะท่ี

เดียว สังเกตพบเพียงลักษณะเดยี ว สงั เกตพบ 2 ลักษณะข้นึ ไป

10.1.3 คัดแยกส่งิ ตา่ งๆ 10.1.3 จาแนกและจดั กลุ่ม 10.1.3 จาแนกและจดั กลุ่ม

ตามลกั ษณะหรือหน้าท่ี ส่งิ ตา่ งโดยใช้อยา่ งน้อย 1 สง่ิ ตา่ งโดยใชต้ ั้งแต่ 2

การใชง้ าน ลักษณะเปน็ เกณฑ์ ลกั ษณะขึน้ ไปเปน็ เกณฑ์

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 27

ตัวบ่งช้ที ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพท่พี ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
10.1.4 เรียงลาดับ อำยุ 4 – 5 ปี
10.2 มีความ สิ่งของหรือเหตกุ ารณ์ 10.1.4 เรียงลาดับสง่ิ ของ 10.1.4 เรยี งลาดบั สิง่ ของ
สามารถในการคดิ อย่างน้อย 3 ลาดบั หรอื เหตกุ ารณ์อยา่ งนอ้ ย 4 หรือเหตุการณ์อยา่ งน้อย 5
เชิงเหตุผล 10.2.1 ระบผุ ลที่เกิดข้ึน ลาดบั ลาดบั
ในเหตกุ ารณห์ รือการ 10.2.1 ระบสุ าเหตุ หรือผล 10.2.3 อธบิ ายเชอ่ื มโยง
10.3 มี กระทามีผู้ชแี้ นะ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในเหตุการณ์หรือ สาเหตแุ ละผล
ความสามารถใน การกระทามผี ูช้ ี้แนะ ที่เกดิ ข้นึ ในเหตุการณห์ รือการ
การคดิ แก้ปัญหา 10.2.2 คาดเดา หรือ กระทาด้วยตนเอง
คาดคะเนส่ิงที่อาจ 10.2.2 คาดเดา หรอื 10.2.2 คาดเดา หรือ
เกดิ ข้ึน คาดคะเนสิ่งที่อาจเกิดข้ึน คาดคะเนสงิ่ ท่ีอาจเกิดขึ้น
หรือมีส่วนรว่ มในการลง หรือมสี ว่ นร่วมในการลง
10.3.1 ตัดสนิ ใจในเรือ่ ง ความเห็นจากข้อมูล ความเหน็ จากข้อมลู อยา่ งมี
ง่ายๆ เหตุผล
10.3.1 ตดั สนิ ใจในเร่ือง 10.3.1 ตดั สินใจในเรอ่ื งงา่ ยๆ
10.3.2 แก้ปัญหาโดย งา่ ยๆและเร่ิมเรยี นรู้ผลท่ี และยอมรบั ผลที่เกดิ ขน้ึ
ลองผิดลองถกู เกดิ ขึน้
10.3.2 ระบปุ ญั หาและ 10.3.2 ระบปุ ัญหา สรา้ ง
แก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก ทางเลือกและวธิ แี กป้ ัญหา

มาตรฐานที่ 11 มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์

ตวั บ่งช้ีที่ สภำพทพี่ ึงประสงค์

อำยุ 3 – 4 ปี อำยุ 4 – 5 ปี อำยุ 5 -6 ปี

11.1 ทางานศลิ ปะ 11.1.1 สร้างผลงาน 11.1.1 สรา้ งผลงานศลิ ปะ 11.1.1 สรา้ งผลงาน
ตามจนิ ตนาการและ ศลิ ปะเพอื่ ส่ือสาร เพือ่ ส่ือสารความคดิ ศลิ ปะเพ่อื สื่อสาร

ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความคิด ความรสู้ ึกของ ความรสู้ ึกของตนเอง โดย ความคดิ ความรู้สึกของ

ตนเอง มกี ารดัดแปลงและแปลก ตนเอง โดยมีการ

ใหม่จากเดิมหรือมี ดดั แปลงและแปลกใหม่

รายละเอียดเพม่ิ ขนึ้ จากเดมิ หรือมี
รายละเอียดเพิ่มข้ึน

11.2 แสดงท่าทาง/ 11.2.1 เคล่ือนไหว 11.2.1 เคลื่อนไหวท่าทาง -11.2.1 เคลอ่ื นไหว
เคล่อื นไหวตาม ท่าทางเพ่อื ส่ือสาร เพื่อส่ือสารความคิด ท่าทางเพอ่ื ส่ือสาร

จนิ ตนาการและ ความคดิ ความรู้สึกของ ความรูส้ ึกของตนเองอยา่ ง ความคิด ความรู้สึกของ

ความคดิ สร้างสรรค์ ตนเอง หลากหลายหรอื แปลก ตนเองอย่างหลากหลาย
ใหม่ หรือแปลกใหม่

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 28

มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมกับวัย

ตวั บ่งชีท้ ่ี อำยุ 3 – 4 ปี สภำพทพี่ ึงประสงค์ อำยุ 5 -6 ปี
อำยุ 4 – 5 ปี

12.1 มีเจตคติที่ดีต่อ 12.1.1 สนใจฟังหรือ 12.1.1 สนใจซักถาม 12.1.1 สนใจหยบิ หนังสอื

การเรียนรู้ อ่านหนงั สอื ดว้ ยตนเอง เก่ียวกับสัญลักษณห์ รอื มาอา่ นและเขยี นสื่อ

ตัวหนงั สอื ทีพ่ บเห็น ความคิดด้วยตนเองเปน็
ประจาอยา่ งตอ่ เน่ือง

12.1.2 กระตือรือรน้ ใน 12.1.2 กระตือรือรน้ ใน 12.1.2 กระตือรอื รน้ ใน

การเขา้ ร่วมกจิ กรรม การเขา้ ร่วมกิจกรรม การเขา้ ร่วมกิจกรรมต้ังแต่
ตน้ จนจบ
-ถามคาถามและสารวจ -ถามคาถามและแสดง
สิง่ แวดล้อมรอบตวั ความคิดเหน็ เกยี่ วกับ -ถามคาถามเกย่ี วกบั เร่ือง
ต่างๆและกระตือรือรน้ ท่ี

เรื่องท่ีสนใจ จะหาคาตอบดว้ ยวิธีการ
หลากหลาย

12.2 มคี วามสามารถ 12.2.1 ค้นหาคาตอบ 12.2.1 ค้นหาคาตอบ 12.2.1 ค้นหาคาตอบของ

ในการแสวงหาความรู้ ของข้อสงสัยต่างๆตาม ของขอ้ สงสยั ต่างๆตาม ข้อสงสัยตา่ งๆโดยใชว้ ิธีการ

วธิ ีการเม่อื มผี ชู้ ีแ้ นะ วิธกี ารของตนเอง ท่หี ลากหลายของตนเอง

12.2.2 ใชป้ ระโยค 12.2.2 ใชป้ ระโยค 12.2.2 ใชป้ ระโยคคาถาม
คาถามว่า“ใคร”“อะไร” คาถามว่า“ทไี่ หน” ว่า“เมื่อไร”“อย่างไร” ใน

ในการค้นหาคาตอบ “ทาไม” ในการค้นหา การค้นหาคาตอบ
คาตอบ

2.4.9 กำหนดเวลำเรียนและสำระกำรเรียนรู้

โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้กาหนดการจัดเวลาเรียนของหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวัย และสาระการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการและจุดหมายท่ี

กาหนดไว้ ดงั นี้

ช่วงอำยุ อำยุ 4-6 ปี

ประสบการณส์ าคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้

-ด้านรา่ งกาย -เรื่องราวเก่ยี วกบั ตัวเด็ก

สาระการเรยี นรู้ -ด้านอารมณแ์ ละจิตใจ -เรอื่ งราวเกย่ี วกับบคุ คลและ

-ด้านสังคม สภาพแวดลอ้ มเด็ก

-ด้านสติปญั ญา -ธรรมชาตริ อบตวั

-สงิ่ ตา่ งๆรอบตัวเดก็

ระยะเวลาเรียน 2 ปีการศกึ ษา(ระดับชั้นละ 1 ปกี ารศกึ ษา)

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 29

โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์). จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก 2 กลุ่มอาย
คือ 4 – 6 ปี ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยแบ่งเป็นหลักสูตร 2 ปี ได้แก่ ชั้นอนุบาลปีท่ี 2 และ
ชั้นอนบุ าลปที ่ี 3 จัดการศกึ ษาเป็นรายปี ปกี ารศกึ ษาละ 2 ภาคเรียน ดงั น้ี

ภาคเรียนที่ 1 ระหว่างวนั ที่ 16 พฤษภาคม ถงึ 10 ตุลาคม
ภาคเรยี นท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 1 พฤศจิกายน ถึง 31 มนี าคม
2.4.10 สำระกำรเรียนรู้
โรงเรียนวดั ชินวราราม(เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ได้กาหนดสาระการเรียนรู้สาหรบั จดั ประสบการณ์การ
เรยี นรใู้ นชนั้ อนุบาลปที ี่ 2- 3 ประกอบด้วย ประสบการณส์ าคัญ และสาระทค่ี วรเรยี นรู้ ดงั นี้
2.4.11 ประสบกำรณส์ ำคัญ
1) ประสบกำรณ์สำคัญท่ีสง่ เสรมิ พัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย เปน็ การสนบั สนนุ ให้เด็กได้
มีโอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่(กล้ามเน้ือแขน-ขา-ลาตัว) กล้ามเน้ือเล็ก (กล้ามเน้ือมือ - นิ้วมือ)
และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาท (กล้ามเน้ือมือ-ประสาทตา) ในการทา
กิจวัตรประจาวันหรือทากิจกรรมต่างๆ และสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัย สุข
นสิ ัย และการรักษาความปลอดภัย ดงั น้ี
1.1) กำรใชก้ ลำ้ มเนอ้ื ใหญ่

(1) การเคลอ่ื นไหวอยกู่ บั ที่
(2) การเคล่อื นไหวเคลอื่ นท่ี
(3) การเคล่ือนไหวพร้อมวัสดอุ ุปกรณ์
(4) การเคลื่อนไหวท่ีใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ในการ
ขว้าง การจับ การโยน การเตะ
(5) การเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอย่างอิสระ
1.2) กำรใชก้ ล้ำมเนอ้ื เลก็
(1) การเล่นเครือ่ งเล่นสมั ผัสและการสร้างส่งิ ตา่ งๆจากแท่งไม้ บลอ็ ก
(2) การเขยี นภาพและการเลน่ กบั สี
(3) การปนั้
(4) การประดษิ ฐ์ส่ิงต่างๆดว้ ยวัสดุ
(5) การหยิบจบั การใช้กรรไกร การฉกี การตดั การปะ และการรอ้ ยวสั ดุ
1.3) กำรรักษำสขุ ภำพอนำมยั สว่ นตน
(1) การปฏบิ ัติตนตามสุขอนามยั สุขนิสัยทดี่ ีในกิจวัตรประจาวัน
1.4) กำรรกั ษำควำมปลอดภัย
(1) การปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั ในกิจวตั รประจาวนั
(2) การฟังนิทาน เร่ืองราว เหตุการณ์เก่ียวกับการป้องกันและรักษาความ
ปลอดภัย
(3) การเล่นเคร่ืองเล่นอย่างปลอดภยั
(4) การเล่นบทบาทสมมตเิ หตุการณ์ต่างๆ
1.5) กำรตระหนักรู้เก่ยี วกับรำ่ งกำยตนเอง
(1) การเคลอื่ นไหวเพื่อควบคมุ ตนเองไปในทศิ ทาง ระดับและพนื้ ที่
(2) การเคลอ่ื นไหวขา้ มสิง่ กดี ขวาง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 30

2) ประสบกำรณ์สำคัญท่ีส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็ก
ได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะ ท่ี
เป็นอัตลักษณ์ ความเปน็ ตัวของตนเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใสการเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม สนุ ทรียภาพ ความรู้สกึ ท่ดี ตี อ่ ตนเองและความเชื่อมนั่ ในตนเองขณะปฎบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ ดงั นี้

2.1) สุนทรียภำพ ดนตรี
(1) การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโต้ตอบเสยี งดนตรี
(2) การเล่นเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะ
(3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
(4) การเลน่ บทบาทสมมติ
(5) การทากจิ กรรมศลิ ปะตา่ งๆ
(6) การสร้างสรรค์สงิ่ สวยงาม

2.2) กำรเลน่
(1) การเลน่ อสิ ระ
(2) การเลน่ รายบุคคล กล่มุ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่
(3) การเล่นในตามมมุ ประสบการณ์/มมุ เลน่ ตา่ งๆ
(4) การเล่นนอกห้องเรียน

2.3) คุณธรรม จริยธรรม
(1) การปฏบิ ัติตนตามหลักศาสนาท่ีนับถอื
(2) การฟงั นทิ านเกี่ยวกับคุณธรรม จรยิ ธรรม
(3) การรว่ มสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ เชิงคุณธรรม

2.4) กำรแสดงออกทำงอำรมณ์
(1) การพดู สะทอ้ นความรู้สกึ ของตนเองและผอู้ ่นื
(2) การเล่นบทบาทสมมติ
(3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
(4) การรอ้ งเพลง
(5) การทางานศลิ ปะ

2.5) กำรมอี ัตลกั ษณ์เฉพำะตนและเช่อื วำ่ ตนเองมคี วำมสำมำรถ
(1) การปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆตามความสามารถของตนเอง

2.6) กำรเหน็ อกเห็นใจผู้อนื่
(1) การแสดงความยินดีเมื่อผู้อ่ืนมีความสุข เห็นใจเม่ือผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจ

และการชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเมอ่ื คนอนื่ ไดร้ ับบาดเจ็บ
3) ประสบกำรณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มี

โอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและส่ิงแวดล้อมต่างๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้
ทางสงั คม เชน่ การเลน่ การทางานกบั ผู้อ่ืน การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาวนั การแก้ปัญหาขอ้ ขดั แย้งตา่ งๆ

3.1) กำรปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวนั
(1) การช่วยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจาวัน
(2) การปฏิบัติตนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 31

3.2) กำรดแู ลรักษำธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(1) การมสี ่วนร่วมรับผดิ ชอบในการดูแลสิง่ แวดลอ้ มทัง้ ภายในและภายนอก

ห้องเรียน
(2) การใช้วสั ดแุ ละส่ิงของเคร่ืองใชอ้ ย่างคุม้ คา่
(3) การทางานศลิ ปะท่ีนาวัสดุหรือส่งิ ของเครื่องใชท้ ใี่ ชแ้ ลว้ มาใชซ้ ้า หรอื แปร

รูปแลว้ นากลบั มาใช้ใหม่
(4) การเพาะปลกู และดูแลตน้ ไม้
(5) การเลี้ยงสัตว์
(6) การสนทนาขา่ วและเหตกุ ารณ์ทเี่ กีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมใน

ชวี ติ ประจาวัน
3.3) กำรปฏิบตั ติ ำมวฒั นธรรมท้องถ่นิ และควำมเปน็ ไทย
(1) การเลน่ บทบาทสมมติการปฏบิ ตั ติ นในความเป็นคนไทย
(2)การปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ท่อี าศยั และประเพณไี ทย
(3) การประกอบอาหารไทย
(4) การศึกษานอกสถานท่ี
(5) การละเล่นพนื้ บ้านของไทย
3.4 กำรมีปฏิสมั พันธ์ มสี ่วนร่วม และบทบำทสมำชกิ ของสังคม
(1) การรว่ มกาหนดข้อตกลงของห้องเรยี น
(2) การเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของหอ้ งเรยี น
(3) การให้ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ
(4) การดแู ลหอ้ งเรยี นร่วมกนั
(5) การรว่ มกจิ กรรมวันสาคญั
3.5) กำรเลน่ และทำงำนแบบรว่ มมอื รว่ มใจ
(1) การรว่ มสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็
(2) การเล่นและทางานรว่ มกับผอู้ น่ื
(3) การทาศลิ ปะแบบร่วมมือ
3.6) กำรแกป้ ญั หำควำมขัดแย้ง
(1) การมีส่วนรว่ มในการเลอื กวธิ แี กป้ ัญหาความขัดแย้ง
(2) การมีสว่ นร่วมในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้
3.7) กำรยอมรับในควำมเหมือนและควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งบุคคล
(1) การเล่นหรือทากิจกรรมร่วมกับกล่มุ เพื่อน

4) ประสบกำรณส์ ำคญั ท่สี ่งเสริมพัฒนำกำรดำ้ นสติปัญญำ เปน็ การสนบั สนนุ ให้เด็กได้รับ
รู้ เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว ด้วยประสาทสมั ผัสท้ังห้า ผ่านการคิด การใช้ภาษา การสังเกต การจาแนกและ
เปรยี บเทยี บ จานวน มิติสมั พนั ธ์(พ้ืนท/ี่ ระยะ) และเวลา

4.1) กำรใชภ้ ำษำ
(1) การฟังเสียงตา่ งๆ ในสง่ิ แวดลอ้ ม
(2) การฟงั และปฏบิ ัติตามคาแนะนา
(3) การฟงั เพลง นทิ าน คาคล้องจอง บทรอ้ ยกรองหรอื เรื่องราวต่างๆ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 32

(4) การพูดแสดงความคดิ ความร้สู กึ และความต้องการ
(5) การพูดกับผู้อ่ืนเก่ียวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือเล่าเร่ืองราวเก่ียวกับ
ตนเอง
(6) การพดู อธิบายเก่ียวกบั ส่ิงของ เหตุการณ์ และความสัมพันธข์ องส่ิงตา่ งๆ
(7) การพดู อย่างสรา้ งสรรค์ในการเลน่ และการกระทาต่างๆ
(8) การรอจังหวะทเี่ หมาะสมในการพูด
(9) การพูดเรียงลาดบั คาเพ่ือใชใ้ นการสอื่ สาร
(10) การอ่านหนงั สอื ภาพ นทิ านหลากหลายประเภท/รูปแบบ
(11) การอ่านอย่างอสิ ระตามลาพัง การอา่ นร่วมกนั การอ่านโดยมผี ชู้ ้ีแนะ
(12) การเหน็ แบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง
(13) การสังเกตทิศทางการอา่ นตวั อกั ษร คา และขอ้ ความ
(14) การอ่านและช้ีข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จาก
บนลงลา่ ง
(15) การสังเกตตัวอักษรในชอื่ ของตน หรอื คาคุ้นเคย
(16) การสังเกตตัวอกั ษรท่ปี ระกอบเป็นคาผ่านการอ่านหรือเขยี นของผู้ใหญ่
(17) การคาดเดาคา วลี หรือประโยคท่ีมีโครงสร้างซ้าๆกันจากนิทาน เพลง คา
คลอ้ งจอง
(18) การเล่นเกมทางภาษา
(19) การเหน็ แบบอยา่ งของการเขยี นท่ีถกู ต้อง
(20) การเขยี นรว่ มกนั ตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ
(21) การเขยี นคาท่มี ีความหมายกบั ตวั เดก็ /คาค้นุ เคย
4.2) กำรคดิ รวบยอด กำรคดิ เชงิ เหตุผล กำรตัดสนิ ใจและกำรแก้ปญั หำ
(1) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลยี่ นแปลง และความสมั พันธ์ของ
ส่ิงต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผสั อยา่ งเหมาะสม
(2) การสังเกตส่ิงต่างๆและสถานทีจ่ ากมุมมองท่ีต่างกัน
(3) การบอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของส่ิงต่างๆ ด้วยด้วย
การกระทา วาดภาพ ภาพถ่าย และรปู ภาพ
(4) การเล่นกับส่อื ต่างๆท่ีเปน็ ทรงกลม ทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉากทรงกระบอก ทรง
กรวย
(5) การคัดแยก การจดั กลุ่ม และการจาแนกสง่ิ ต่างๆตามลักษณะและรปู รา่ ง
(6) การตอ่ ของชนิ้ เลก็ เติมในชนิ้ ใหญใ่ ห้สมบรู ณ์ และการแยกช้นิ สว่ น
(7) การทาซา้ การต่อเตมิ และการสร้างแบบรูป
(8) การนบั และแสดงจานวนของสิ่งตา่ งๆในชวี ิตประจาวนั
(9) การเปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนของสิง่ ตา่ งๆ
(10) การรวมและการแยกส่ิงตา่ งๆ
(11) การบอกและแสดงลาดับทข่ี องส่งิ ตา่ งๆ
(12) การช่งั ตวง วดั สิ่งตา่ งๆโดยใช้เครอื่ งมอื และหน่วยที่ไมใ่ ช่มาตรฐาน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 33

(13) การจับคู่ การเปรยี บเทยี บ และการเรยี งลาดบั สิ่งตา่ งๆตามลักษณะความ
ยาว/ความสงู น้าหนกั ปริมาตร

(14) การบอกและเรยี งลาดับกจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ์ตามชว่ งเวลา
(15) การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับเหตุการณใ์ นชีวติ ประจาวนั
(16) การอธบิ ายเชื่อมโยงสาเหตุและผลทเ่ี กิดข้ึนในเหตกุ ารณห์ รือการกระทา
(17) การคาดเดาหรอื การคาดคะเนส่ิงทอี่ าจเกดิ ข้ึนอย่างมเี หตผุ ล
(18) การมสี ว่ นรว่ มในการลงความเห็นจากขอ้ มลู อยา่ งมีเหตผุ ล
(19) การตัดสินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแกป้ ัญหา
4.3) จินตนำกำรและควำมคดิ สร้ำงสรรค์
(1) การรบั รแู้ ละแสดงความคดิ ความรู้สึกผา่ นสื่อ วัสดุ ของเลน่ และช้ินงาน
(2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และ
ศิลปะ
(3) การสรา้ งสรรคช์ นิ้ งานโดยใชร้ ูปร่างรปู ทรงจากวสั ดทุ ีห่ ลากหลาย
4.4) เจตคตทิ ่ีดีต่อกำรเรียนรู้และกำรแสวงหำควำมรู้
(1) การสารวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตวั
(2) การตงั้ คาถามในเรือ่ งที่สนใจ
(3) การสบื เสาะหาความรเู้ พ่ือค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่างๆ
(4) การมสี ่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหา
ความรใู้ นรปู แบบต่างๆและแผนภูมิอย่างง่ายการมุ่งมนั่ ในการทากิจกรรม มสี มาธจิ ดจอ่
2.4.11สำระทค่ี วรเรยี นรู้
สาระท่ีควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองราวรอบตัวเด็กท่ีนามาเป็นส่ือกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็ก
เกิดแนวคิดหลังจากนาสาระการเรียนร้นู ้ัน ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมายท่ีกาหนด
ไว้ ท้ังน้ี ไม่เน้นการท่องจาเนื้อหา ครูสามารถกาหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ควา ม
ตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สาคัญ ทั้งน้ี อาจยืดหยุ่นเนื้อหา
ได้ โดยคานึงถงึ ประสบการณแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มในชวี ติ จรงิ ของเดก็ ดังนี้
1) เร่ืองรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา
อวัยวะต่างๆวิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็น
ประโยชน์ การรักษาความปลอดภยั ของตนเอง รวมท้ังการปฏิบตั ิต่อผู้อื่นอยา่ งปลอดภัย การรู้จกั ประวัติ
ความเป็นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน การ
เคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืนการรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน
การกากบั ตนเอง การเล่นและทาสิ่งตา่ งๆด้วยตนเองตามลาพังหรอื กบั ผู้อืน่ การตระหนักร้เู ก่ียวกับตนเอง
ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออก
ทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทท่ีดี การมีคุณธรรมจริยธรรม เม่ือเด็กมี
โอกาสเรยี นรแู้ ล้วควรเกิดแนวคิด ดังนี้
- ฉนั มีช่ือตงั้ แตเ่ กิด ฉนั มีเสียง รูปร่างหนา้ ตาไมเ่ หมือนใคร ฉนั ภมู ิใจทเี่ ปน็ ตัวฉนั เองเป็น
คนไทยท่ีดี มีมารยาท มีวินัย รู้จักแบ่งปัน ทาส่ิงต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น แต่งตัว แปรงฟัน รับประทาน
อาหาร ฯลฯ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 34

- ฉันมีอวัยวะต่างๆ เช่น ตา หู จมูก ปาก ขา มือ ผม นิ้วมือ น้ิวเท้า ฯลฯ และฉันรู้จัก
วิธีรกั ษาร่างกายให้สะอาด ปลอดภยั มีสขุ ภาพดี

- ฉันใช้ตา หู จมูก ล้ิน และผิวกาย ช่วยในการรับรู้ส่ิงต่างๆ จึงควรดูแลรักษาให้
ปลอดภยั

- ฉันต้องการอากาศ น้าและอาหารเพ่ือการดารงชีวิต ฉันจึงต้องรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ ออกกาลังกาย และพกั ผ่อนใหเ้ พยี งพอ เพือ่ ให้ร่างกายแข็งแรงเจรญิ เติบโต

- ฉนั ตระหนกั รเู้ ก่ยี วกับตนเองว่า ฉันสามารถเคล่ือนไหวโดยควบคมุ ของร่างกายไปใน
ทิศทางระดับ และพ้นื ทต่ี า่ ง ๆ รา่ งกายของฉนั อาจมีเปลี่ยนแปลงเม่อื ฉนั รู้สกึ ไมส่ บาย

- ฉันเรียนรู้ขอ้ ตกลงต่างๆ รู้จักระมัดระวงั รักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืนเม่ือ
ทางาน เล่นคนเดยี ว และเลน่ กบั ผู้อนื่

- ฉันอาจรู้สึกดีใจ เสียใจ โกรธ เหน่ือย หรืออื่นๆ แต่ฉันเรียนรู้ที่จะแสดงความรู้สึก
ในทางท่ีดีและเหมาะสม เมื่อฉันแสดงความคิดเห็นหรือทาสิ่งต่างๆ ด้วยความคิดของตนเอง แสดงว่าฉัน
มีความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ ของฉันเป็นสิง่ สาคัญ แตค่ นอ่นื กม็ คี วามคดิ ทีด่ ีเหมอื นฉนั เช่นกนั

2) เรอ่ื งรำวเกย่ี วกบั บุคคลและสถำนท่ีแวดล้อมเด็ก เดก็ ควรเรียนรู้เกยี่ วกับ
ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิต
ประจาวัน สถานท่ีสาคัญ วนั สาคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหลง่ วัฒนธรรมในชุมชน สญั ลักษณ์
สาคัญของชาติไทย และการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถ่ินและความเป็นไทย หรือแหล่งเรียนรู้จากภูมิ
ปญั ญาท้องถน่ิ อ่นื ๆ เมอ่ื เดก็ มีโอกาสเรียนรู้แลว้ ควรเกดิ แนวคิด ดงั นี้

- ทุกคนในครอบครัวของฉันเป็นบุคคลสาคัญ ต้องการท่ีอยู่อาศัย อาหาร เส้ือผ้า และ
ยารักษาโรค รวมท้ังต้องการความรัก ความเอื้ออาทร ช่วยดูแลซึ่งกันและกัน ช่วยกันทางานและปฏิบัติ
ตามข้อตกลงภายในครอบครัว ฉันต้องเคารพ เช่ือฟังพ่อแม่และผู้ใหญ่ในครอบครัว ปฏิบัติตนให้ถูกต้อง
ตามกาลเทศะ ครอบครัวของฉนั มีวันสาคัญต่างๆ เช่น วันเกิดของบุคคลในครอบครัว วันทาบุญบ้าน ฉัน
ภมู ิใจในครอบครวั ของฉัน

- สถานศกึ ษาของฉนั มีช่ือ เปน็ สถานทท่ี ่เี ด็กๆ มาทากิจกรรมรว่ มกนั และทาให้ได้เรยี นรู้
สิ่งต่างๆ มากมาย สถานศึกษาของฉันมีคนอยู่ร่วมกันหลายคน ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติตามกฏ
ระเบียบชว่ ยกนั รักษาความสะอาดและทรพั ยส์ มบตั ิของสถานศึกษา ครูรักฉนั และเอาใจใสด่ แู ลเด็กทุกคน
เวลาทากิจกรรมฉันและเพื่อนจะช่วยกันคิด ช่วยกนั ทา รับฟังความคิดเห็น และรบั รู้ความรู้สกึ ซึง่ กันและ
กัน

- ท้องถิ่นของฉันมีสถานท่ี บุคคล แหล่งวิทยากร แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท่ีสาคัญ คนใน
ท้องถิ่นที่ฉันอาศัยอยู่มอี าชีพท่ีหลากหลาย เช่น ครู แพทย์ ทหาร ตารวจ ชาวนา ชาวสวน พ่อค้า แม่ค้า
ท้องถิน่ ของฉนั มวี นั สาคัญของตนเองซึ่งจะมกี ารปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป

- ฉันเป็นคนไทย ฉันภูมิใจในความเป็นไทยท่ีมีวันสาคัญของชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติและท้องถ่ินหลายอย่าง ฉันและ
เพื่อนนับถือศาสนาหรือมีความเชื่อที่เหมือนกันหรือแตกต่างกันได้ ศาสนาทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็น
คนดี

3) ธรรมชำติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับช่ือ ลักษณะ ส่วนประกอบ การ
เปล่ียนแปลงและความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้า ท้องฟ้า สภาพ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 35

อากาศ ภยั ธรรมชาตแิ รงและพลงั งานในชีวิตประจาวันท่แี วดล้อมเด็ก รวมท้งั การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อมและ
การรักษาสาธารณสมบัตเิ ม่ือเดก็ มโี อกาสเรยี นรู้แล้วควรเกิดแนวคิด ดงั นี้

- ธรรมชาติรอบตัวฉันมีทั้งส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตต้องการอากาศ แสงแดด
น้าและอาหารเพ่ือเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวให้เข้ากับลักษณะลมฟ้าอากาศในแต่ละวันหรือ
ฤดู และยังต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน สาหรับส่ิงไม่มีชีวิต เช่น น้า หิน ดิน ทราย มีรูปร่าง รูปทรง
ลกั ษณะ สีต่างๆ และมีประโยชน์

- ลักษณะลมฟ้าอากาศรอบตัวแต่ละวันอาจเหมือนหรือแตกต่างกันได้ บางคร้ังฉัน
คาดคะเนลักษณะลมฟ้าอากาศได้จากส่ิงต่างๆ รอบตัว เช่น เมฆ ท้องฟ้า ลม ในเวลากลางวันเป็น
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนดวงอาทิตย์ตก คนส่วนใหญ่จะต่ืนและทางาน ส่วนฉันไปโรงเรียนหรือเล่น
เวลากลางคืนเป็นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ตกจนดวงอาทิตย์ขึ้น ฉันและคนส่วนใหญ่จะนอนพักผ่อนตอน
กลางคืน กลางวันและกลางคืนมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ท้องฟ้าในเวลากลางวันเป็นสีฟ้าในเวลา
กลางคนื เป็นสดี า กลางวนั มีแสงสวา่ งแต่กลางคนื มดื อากาศเวลากลางวนั รอ้ นกว่าเวลากลางคนื

- เมือ่ ฉันออกแรงกระทาต่อสง่ิ ของดว้ ยวธิ ตี ่างๆ เชน่ ผลกั ดึง บีบ ทบุ ตี เปา่ เขย่า ดีด
ส่งิ ของจะมีการเปล่ยี นแปลงรูปรา่ ง การเคลื่อนที่ และเกดิ เสียงแบบต่าง ๆ

- แสงและไฟฟ้า ได้มาจากแหล่งพลังงาน เช่น ดวงอาทิตย์ ลม น้า เช้ือเพลิง แสงช่วย
ให้เรามองเห็น เม่ือมีสิ่งต่าง ๆ ไปบังแสงจะเกิดเงา ไฟฟ้าทาให้ส่ิงของเครื่องใช้บางอย่างทางานได้ ช่วย
อานวยความสะดวกในชีวติ ประจาวัน การนาพลงั งานมาใช้ทาให้แหล่งพลังงานบางอย่างมีปริมาณลดลง
เราจงึ ต้องใชพ้ ลงั งานอยา่ งประหยดั

- ส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติรอบตัวฉัน เช่น สัตว์ พืช น้า ดิน หิน ทราย สภาพของลม
ฟา้ อากาศ เปน็ สิ่งจาเปน็ สาหรบั ชวี ติ ต้องไดร้ ับการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้อมทม่ี นษุ ย์สร้างขึน้ รอบๆ ตวั ฉัน เช่น
ส่ิงของเครื่องใช้ บ้านอยู่อาศัย ถนนหนทาง สวนสาธารณะ สถานที่ต่างๆ เป็นส่ิงท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ทุกคนรวมท้ังฉันช่วยกันอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและรักษาสาธารณสมบัติโดยไม่ทาลายและบารุงรักษาให้ดี
ข้ึนได้

4) สิ่งต่ำงๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการใช้ภาษาเพื่อส่ือความหมายใน
ชวี ิตประจาวัน ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด
รปู ร่างรูปทรง ปริมาตร น้าหนัก จานวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธข์ องสง่ิ ต่าง ๆ
รอบตัว เวลาเงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม
เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ท่ีใช้อยู่ในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด ปลอดภัยและรกั ษาส่ิงแวดล้อม
ทง้ั น้ี เม่อื เด็กมีโอกาสเรียนรู้แลว้ เดก็ ควรเกดิ แนวคดิ ดังนี้

- ฉันใช้ภาษาท้ังฟัง พูด อ่าน เขียน เพ่ือการสื่อความหมายในชีวิตประจาวัน ฉัน
ตดิ ต่อส่ือสารกับบคุ คลต่างๆ ไดห้ ลายวิธี เชน่ โดยการไปมาหาสู่ โทรศพั ท์ จดหมาย หรือเครื่องมอื ท่ใี ช้ใน
การติดต่อสื่อสารต่างๆ และฉันทราบข่าวความเคลื่อนไหวต่างๆ รอบตัวด้วยการสนทนา ฟังวิทยุ ดู
โทรทัศน์ และอ่านหนังสือ หนังสือเป็นส่ือในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกไปยังผู้อ่าน ถ้าฉัน
ชอบอ่านหนงั สือฉันก็จะมีความรคู้ วามคดิ มากขน้ึ ฉันสามารถรวบรวมขอ้ มูลง่ายๆ นามาถ่ายทอดให้ผู้อ่ืน
เข้าใจไดโ้ ดยนาเสนอด้วยรปู ภาพ สัญลกั ษณ์ แผนผงั ผงั ความคิด แผนภูมิ

- ส่ิงต่างๆ รอบตัวฉนั ส่วนใหญ่มีสี ยกเว้นกระจกใส พลาสตกิ ใส สีมอี ย่ทู ุกหนทกุ แหง่ ท่ี

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 36

ฉันสามารถเห็นตามดอกไม้ เสื้อผ้า อาหาร รถยนต์ และอ่ืนๆ สีท่ีฉันเห็นมีช่ือเรียกต่างๆ กัน เช่น แดง
เหลืองน้าเงิน สีแต่ละสีทาให้เกิดความรู้สึกต่างกัน สีบางสสี ามารถใช้เป็นสัญญาณหรือสัญลักษณ์ส่ือสาร
กันได้

- ส่ิงต่างๆ รอบตัวฉันมีชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร
นา้ หนัก
และส่วนประกอบต่างๆ กัน สามารถจาแนกประเภทตามชนิด ขนาด สี พ้นื ผิว วัสดุ รปู ร่าง รูปทรง หรือ
ประโยชนใ์ นการใช้งาน

- ฉันสามารถสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลงของส่ิงต่างๆ รอบตัว เช่น การเจริญเติบโต
ของมนษุ ย์ สัตว์หรือพืช การเปล่ียนแปลงของสภาพของลมฟ้าอากาศ การเปลี่ยนแปลงของสงิ่ ต่างๆ จาก
การทดลองอย่างง่ายๆ หรือการประกอบอาหาร และฉันสามารถเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ รอบตัว
เช่น การนาสิ่งต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทาบางอย่างกับผลท่ีเกิดขึ้น เช่น ถ้า
รบั ประทานอาหารแลว้ ไมแ่ ปรงฟันฟนั จะผุ ถ้าใส่น้าตาลลงไปในนา้ แล้วน้าตาลจะละลาย ถา้ ปล่อยสงิ่ ของ
จากท่ีสูงแลว้ ส่ิงของจะตกลงมา

- การนับส่ิงต่างๆ ทาให้ฉันรู้จานวนส่ิงของ และจานวนนับนั้นเพ่ิมหรือลดได้ ฉันรู้ว่า
ส่ิงของแต่ละชน้ิ นบั ได้เพียงครัง้ เดยี ว ไมน่ บั ซา้ และเสียงสุดท้ายทน่ี บั เปน็ ตัวบอกปริมาณ

- ฉันเปรียบเทียบและเรียงลาดับสิ่งของต่างๆ ตามลักษณะ รูปร่าง รูปทรง จานวน
ขนาด น้าหนักปริมาตร ส่ิงท่ีช่วยฉันในการสังเกต เช่น แว่นขยาย สิ่งที่ช่วยในการ ช่ัง ตวง วัด มีหลาย
อย่าง เช่น เคร่ืองช่ังสองแขนอย่างง่าย ถ้วย ช้อน เชือก วัสดุสิ่งของอ่ืนๆ ท่ีฉันอาจใช้การคาดคะเนหรือ
กะประมาณ

- ฉนั ใช้คาท่เี กี่ยวกบั เวลาในชวี ติ ประจาวนั เช่น กลางวนั กลางคนื กอ่ น หลงั เชา้ บ่าย
เย็น เม่ือวานน้ี วันน้ี พรุง่ นี้

- ฉนั ใชเ้ งนิ เหรียญและธนบัตรในการซ้อื ขนมและอาหาร ตัวเลขทอ่ี ยบู่ นเหรียญและ
ธนบัตรจะบอกค่าของเงิน

- ฉันใช้ตัวเลขในชีวิตประจาวัน เช่น วันท่ี ช้ันเรียน อายุ บ้านเลขที่ นาฬิกา หรือเบอร์
โทรศพั ท์ และใช้ตวั เลขในการบอกปริมาณของสง่ิ ต่างๆ และแสดงอนั ดบั ท่ี

- ส่งิ ของเครื่องใช้มหี ลายชนิดและหลายประเภท เช่น เคร่อื งใชใ้ นการทาสวนเพาะปลูก
การก่อสร้าง เคร่ืองใช้ภายในบ้าน เราใช้สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ช่วยอานวยความสะดวกในการทางาน
ขณะเดยี วกันกต็ ้องระมัดระวังในการใช้งาน เพราะอาจเกิดอันตรายและความเสียหายได้ถ้าใช้ผิดวิธีหรือ
ใช้ผิดประเภท เม่ือใช้แล้วควรทาความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย เราควรใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่าง
ประหยดั และรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 37

2.4.12 หน่วยกำรจัดประสบกำรณ์ ช้นั อนบุ ำลปที ี่ 3 (อำยุ 5 – 6 ปี)

ภำคเรยี นท่ี 1 ภำคเรยี นที่ 2

สปั ดำห์ ช่อื หนว่ ย สปั ดำห์ ชื่อหนว่ ย

1 ปฐมนเิ ทศ 21 รรู้ อบปลอดภัย

2 โรงเรียนของเรา 22 วันลอยกระทง

3 ตวั เรา 23 กลางวัน กลางคนื

4 หนูทาได้ 24 คา่ นยิ มไทย

5 ครอบครัวมีสุข 25 วันชาติ

6 อาหารดมี ปี ระโยชน์ 26 เศรษฐกจิ พอเพยี ง

7 ฤดฝู น 27 เทคโนโลยแี ละการสื่อสาร

8 ข้าว 28 วันข้ึนปใี หม่

9 ปลอดภยั ไวก้ ่อน 29 สนุกกับตัวเลข

10 วันเฉลมิ พระชนพรรษาฯ 30 ขนาด รปู ร่าง รูปทรง

11 วันแม่ 31 วนั เด็ก วันครู

12 หนูรักเมืองไทย 32 โลกสวยดว้ ยมือเรา

13 ของเลน่ ของใช้ 33 ฤดูหนาว

14 ชมุ ชนของเรา 34 แรงและพลังงานในชวี ิตประจาวนั

15 ต้นไม้ทรี่ ัก 35 เสยี งรอบตวั

16 หนิ ดิน ทราย 36 รักการอ่าน

17 สัตวน์ า่ รัก 37 ปรมิ าตร น้าหนกั

18 คมนาคม 38 ฤดรู ้อน

โ ค ร ง ก า ร โ ป ร เจ ค แ อ พ โ พ ส ( Project โ ค ร ง ก า ร โ ป ร เจ ค แ อ พ โ พ ส ( Project

19 Approach),โครงการบ้านวิทยาศาสตร์ 39 Approach),โครงการบ้านวิทยาศาสตร์

น้อยแห่งประเทศไทย น้อยแห่งประเทศไทย

โ ค ร ง ก า ร โ ป ร เจ ค แ อ พ โ พ ส ( Project โ ค ร ง ก า ร โ ป ร เจ ค แ อ พ โ พ ส ( Project

20 Approach),โครงการบ้านวิทยาศาสตร์ 40 Approach),โครงการบ้านวิทยาศาสตร์

นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย นอ้ ยแห่งประเทศไทย

- ฉันเดินทางจากทีห่ นงึ่ ไปยังที่หนึ่งไดด้ ว้ ยการเดินหรอื ใชย้ านพาหนะ พาหนะบางอย่าง

ท่ีฉันเห็นเคล่ือนท่ีได้โดยการใช้เครื่องยนต์ ลม ไฟฟ้า หรือคนเป็นผู้ทาให้เคลื่อนท่ี คนเราเดินทางหรือ

ขนส่งได้ทั้งทางบก ทางน้า ทางอากาศ พาหนะที่ใช้เดินทาง เช่น รถยนต์ รถเมล์ รถไฟ เครอ่ื งบิน เรือ ผู้

ขบั ขจี่ ะต้องได้รบั ใบอนุญาตขับขี่ และทาตามกฏจราจรเพ่ือความปลอดภยั ของทุกคน และฉนั ต้องเดินบน

ทางเท้า ข้ามถนนตรงทางม้าลายสะพานลอยหรือตรงที่มีสัญญาณไฟ เพ่ือความปลอดภัยและต้อง

ระมดั ระวงั เวลาขา้ ม

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 38

2.4.13 หนว่ ยกำรจดั ประสบกำรณ์ ชั้นอนบุ ำลปที ่ี 3 (อำยุ 5 – 6 ปี)
1) กำรจดั ประสบกำรณ์
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดประสบการณ์ให้เด็กโดยบูรณาการผ่าน

การเล่นเป็นการบูรณาการท้ังทางด้านเน้ือหาสาระ และทักษะกระบวนการ เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรง เรียนรู้จากการลงมือกระทา เพ่ีอพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและ
สติปัญญา ดังนั้น จึงจัดประสบการณ์ท่ีเหมาะสมให้เด็กเพ่ือกระตุ้นให้เกิดพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ
ของเด็กแต่ละคน โดยยึดหลักการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
เป็นสาคัญ ดงั นี้

2) หลกั กำรจัดประสบกำรณ์
2.1) จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม
อย่างตอ่ เน่อื ง
2.2) เน้นเด็กเป็นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
และบรบิ ทของสังคมทเ่ี ดก็ อาศยั อยู่
2.3) จัดให้เด็กได้รับการพัฒนา โดยให้ความสาคัญทั้งด้านกระบวนการเรียนรู้และผลผลิต
ของการเรียนรู้
2.4) จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหน่ึงของ
การจดั ประสบการณ์ พร้อมทัง้ นาผลการประเมินมาพัฒนาเดก็ อย่างต่อเนอ่ื ง
2.5) ใหพ้ ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทกุ ฝ่ายที่เก่ียวข้องมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาเด็กในการ
จัดประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์)มีแนวทางดาเนินการจัด
ประสบการณ์ดงั นี้
2.4.14 แนวทำงกำรจัดประสบกำรณ์

1) จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมอง ท่ี
เหมาะสมกบั อายุ วฒุ ิภาวะ และระดบั พัฒนาการ เพือ่ ให้เดก็ ทุกคนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพ

2) จดั ประสบการณ์ให้สอดคลอ้ งกับแบบการเรยี นรขู้ องเด็ก เด็กได้ลงมอื กระทา เรียนรู้
ผา่ นประสาทสมั ผัสท้งั ห้า ได้เคลอื่ นไหว สารวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง

3) จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการท้ังกิจกรรม ทักษะ และสาระการ
เรยี นรู้

4) จัดประสบการณ์ให้เด็กได้คิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทาและนาเสนอ
ความคิด โดยผูส้ อน หรือผู้จัดประสบการณ์เป็นผูส้ นับสนุน อานวยความสะดวก และเรยี นร้รู ่วมกบั เด็ก

5) จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืน กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่
เอ้ือต่อการเรียนรู้ในบรรยากาศท่ีอบอุ่น มีความสุข และเรียนรู้การทากิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะ
ตา่ งๆ

6) จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับส่ือ และแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายและ
อยใู่ นวิถชี ีวติ ของเด็ก สอดคล้องกับบริบท สงั คม และวัฒนธรรมทีแ่ วดล้อมเด็ก

7) จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวัน ตาม
แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และการมีวินัย ให้
เป็นส่วนหน่ึงของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 39

8) จัดประสบการณ์ท้ังในลักษณะทมี่ ีการวางแผนไวล้ ่วงหน้าและแผนท่ีเกิดขน้ึ ในสภาพ
จริงโดยไม่ได้คาดการณ์ไว

9) จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก
เปน็ รายบคุ คล นามาไตรต่ รองเพื่อใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาเดก็ และการวจิ ัยในชนั้ เรยี น

10) จดั ประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีสว่ นรว่ ม ท้งั การวางแผน
การสนับสนนุ ส่ือ แหล่งเรยี นรู้ การเข้ารว่ มกจิ กรรม และการประเมินพัฒนาการ

2.4.14 กำรจัดกิจกรรมประจำวัน
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้กาหนดกิจกรรมประจาวันสาหรับเด็ก
ปฐมวัยให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน เพื่อส่งเสริมทักษะพ้ืนฐานในชีวิตประจาวันของเด็ก โดยจัดให้มี
กิจกรรมพฒั นาเด็กปฐมวยั ดังนี้
1) กจิ กรรมพัฒนากลา้ มเนอื้ ใหญ่ เพอื่ ใหเ้ ดก็ มีร่างกายแข็งแรง มกี ารทรงตวั ทีด่ ี มกี าร
ยดื หยนุ่ และความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะตา่ ง ๆ ตามจังหวะการเคลื่อนไหวและการประสานสัมพนั ธ์
กนั
2) กิจกรรมการเล่นอสิ ระ เพื่อใหเ้ ด็กเลือก ตัดสินใจ คดิ แก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ โดย
กาหนดใหใ้ นแต่ละวัน เดก็ มีโอกาสเล่นอิสระกลางแจ้งอย่างนอ้ ย 1 ชั่วโมง : วัน
3) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การคิดและความคดิ สร้างสรรค์ เพ่อื ให้เด็กเกิดความคดิ รวยยอด การ
คดิ เชิงเหตผุ ล มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
4) กิจกรรมพัฒนาทักษะทางสงั คม เพื่อใหเ้ ดก็ ไดพ้ ัฒนาลักษณะนิสยั ที่ดี แสดงออกอยา่ ง
เหมาะสม มปี ฏิสมั พนั ธ์และอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ได้อย่างมคี วามสุข เดก็ ที่อายุน้อยยังยดึ ตวั เองเปน็ ศนู ย์กลาง
5) กิจกรรมทมี่ กี ารวางแผนโดยครูผู้สอน ให้คดิ รวบยอดโดยครูผูส้ อน เพื่อใหเ้ ด็กเกดิ ทักษะ
หรือความคิดรวบยอดในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งตามสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวรา
ราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) กาหนดสัดส่วนเวลาในการพัฒนาเด็กแต่ละวัน และตารางกิจกรรมประจาวัน
ไว้ดังนี้

2.4.15 สดั สว่ นเวลำในกำรพัฒนำเด็ก

อำยุ 3 – 4 ปี อำยุ 4 – 5 ปี อำยุ 5 – 6 ปี
ช่ัวโมง :วัน
กำรพัฒนำ ชว่ั โมง :วนั ชั่วโมง :วัน (ประมำณ)
2 1/4
(ประมำณ) (ประมำณ) 1
1
1. การพฒั นาทักษะพ้ืนฐานในชีวิตประจาวนั 3 2 1/2 1
3/4
2.การเลน่ ตามมุมประสบการณ์/มมุ เล่น 1 1 1
7
3.การคิดและความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ 1 1

4.กิจกรรมดา้ นสงั คม 1/2 3/4

5.กจิ กรรมพัฒนากล้ามเน้อื ใหญ่ 3/4 3/4

6.กิจกรรมที่มกี ารวางแผนโดยผสู้ อน 3/4 1

รวม 7 7

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 40

2.4.16 ตำรำงกจิ กรรมประจำวนั ระดับปฐมวยั

เวลำ กิจกรรม ขอบข่ำยของกจิ กรรม

07.00-07.50 น. โรงเรยี นของหนู -ทกั ทายและสนทนากับเด็กเป็นรายบุคคล

-ตรวจสุขภาพเดก็ ดูแลความสะอาดของร่างกาย เครอ่ื งแตง่ กาย

-สนทนากบั ผูป้ กครองท่ีมาสง่ เด็ก

07.50-08.15 น. กิจกรรมหน้าเสาธง -เข้าแถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ กล่าวคาปฏิญาณร่วมกับเด็ก

ปฐมศกึ ษา

-ฝกึ มารยาทและรบั ฟงั การอบรมจากครูเวรประจาวัน

08.15-08.30 น. ธรุ ะส่วนตัว -เขา้ หอ้ งนา้ เดก็ ไดด้ ่มื นา้ และเตรียมพรอ้ มสาหรบั กิจกรรม

08.30-08.45 น. หอ้ งเรียนแสนสนุก -สารวจการมาโรงเรียน

-สารวจสภาพอากาศประจาวนั

- สนทนาขา่ วและเหตุการณ์

08.45-09.20 น. กิจกรรมเคลื่อนไหว -การเคลอ่ื นไหวพืน้ ฐาน

และจังหวะ -การเล่นเลยี นแบบการเคล่ือนไหวตา่ งๆ

-การเคลื่อนไหวตามสยี งเพลงและจงั หวะของดนตรี

-การทาท่าทางประกอบเพลง

-กายบรหิ าร

-การเคลอื่ นไหวเชิงสร้างสรรค์อย่างอิสระโดยใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบ

-การฟงั สญั ญาณและปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง

-การแสดงท่าทางตามคาบรรยายเร่ืองราวและจินตนาการ

-การฝกึ เป็นผ้นู าผูต้ าม

09.20-09.40 น. กจิ กรรมเสรมิ -การสนทนา ซกั ถาม แสดงความคดิ เหน็

ประสบการณ์ -การเลา่ นิทาน เร่อื งราว ขา่ วและเหตุการณ์

-การเล่นบทบาทสมมุติ การสาธิต การทดลอง การประกอบ

อาหาร ฯ

-การทอ่ งคาคลอ้ งจอง คากลอน การรอ้ งเพลง

09.40-10.40 น. กจิ กรรมสร้างสรรค์ -เดก็ เลือกทากิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์

และการเล่นเสรี -การวาดภาพระบายสี ดว้ ยสเี ทียน สนี า้ สไี ม้

ประสบการณ์ -การเลน่ และทดลองเก่ยี วกบั สี

-การพมิ พ์ภาพและการปน้ั

-การพับฉกี ตัดประ การประดษิ ฐ์

-เด็กเลือกเล่นตามมุมประสบการณ์ที่จัดไว้ในห้องเรียนอย่าง

อิสระ

-เดก็ ช่วยกนั เกบ็ ของเล่น

10.40-11.00 น. กจิ กรรมกลางแจง้ -การเลน่ อสิ ระในสนาม/เคร่ืองเลน่ สนาม

-การเลน่ อปุ กรณก์ ีฬาสาหรับเด็ก

-การเล่นเกม การละเล่น

11.00-12.00 น. รบั ประทานอาหาร -เด็กรับประทานอาหารร่วมกัน

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 41

เวลำ กจิ กรรม ขอบข่ำยของกิจกรรม

12.00- 12.20 น. กิจธุระสว่ นตวั - ล้างหนา้ แปรงฟัน เข้าห้องน้า

- เกบ็ ของใช้สว่ นตัวและ ปทู ่นี อน

12.00-14.00 น. พักผอ่ น -เด็กนอนพกั ผ่อนหรือทากจิ กรรมสงบ

14.00–14.15 น. กจิ ธรุ ะส่วนตัว -เกบ็ ท่นี อน ลา้ งหนา้ หวผี มแต่งตวั ใหเ้ รยี บร้อย

14.15-14.30น. รับประทานอาหาร -เดก็ รับประทานอาหารว่าง นมร่วมกัน

ว่าง

14.30-15.30น. เกมส์การศกึ ษา -ครแู นะนาเกมสก์ ารศกึ ษา และให้เด็กเล่นเกมสก์ ารศึกษา

15.00-15.30น. นทิ านแสนสนุก -ครหู รือเด็กเลือกนทิ านตามความตอ้ งการ

-ครเู ลา่ นทิ านใหเ้ ด็กฝังและสรุปเร่อื งราวจากนิทาน

15.30-18.00น. เตรยี มตัวกลบั บ้าน -สรุปกิจกรรมประจาวนั แนะนากิจกรรมในวันตอ่ มา

-ให้เด็กทากจิ กรรมสงบในห้องเรียนรอผปู้ กครองมารบั

-สนทนากับผปู้ กครองซ่งึ มารบั เด็ก

2.4.17 วธิ ีกำรจัดประสบกำรณ์
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) บูรณาการการเรียนรู้โดยคานึงถึงตัวเด็กเป็นสาคัญ
เด็กแต่ละคนมีความสนใจแตกต่างกัน จึงมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย หลากประเภท มีท้ังกิจกรรมท่ีให้เด็ก
ทาเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมสงบและกิจกรรมท่ีต้องเคลื่อนไหว เปิดโอกาสให้เด็ก
ริเริ่มกจิ กรรม ได้มีโอกาสเลือกด้วยตนเองตามความเหมาะสมกับวัยตรงกับความสนใจและความต้องการ
ของเด็ก ระยะเวลาจัดกิจกรรมเหมาะสมกับวัย ยืดหยุ่นได้ เน้นให้มีส่ือของจริง ให้เด็กได้มีโอกาสสังเกต
สารวจ ค้นคว้า ทดลอง แก้ปัญหาด้วยตนเอง มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่นๆ และผู้ใหญ่ โดยบูรณาการ
การเรยี นรผู้ ่านการจดั ประสบการณ์ทสี่ าคญั ดงั น้ี

1. การจดั กจิ กรรมหลกั 6 กจิ กรรม
2. การจัดการเรียนรู้โดยโครงงาน (Project Approach)
3. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ตามโครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
2.4.18 กิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) จัด
กจิ กรรมบูรณาการการเรียนรู้ผา่ นกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างสมดุลทั้ง 4
ด้าน คอื รา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ สงั คมและสติปัญญา ประกอบดว้ ย

1) กิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ
2) กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
3) กิจกรรมเสรี / การเล่นตามมมุ
4) กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
5) กจิ กรรมกลางแจ้ง
6) กจิ กรรมเกมการศกึ ษา

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 42

2.4.19 กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย

ตามจังหวะอย่างอสิ ระ โดยใชเ้ สียงเพลง คาคลอ้ งจอง เคร่ืองเคาะจังหวะ และอปุ กรณอ์ ืน่ ๆ ประกอบการ
เคลื่อนไหว เพ่ือส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ รู้จังหวะและควบคุมการเคล่ือนไหว
ของตนเองได้

1) จุดประสงค์
1.1) เพือ่ พฒั นาอวยั วะทุกสว่ นให้มคี วามสัมพนั ธ์กนั ในขณะเคล่อื นไหว
1.2) เพ่ือให้เกิดความซาบซงึ้ และสุนทรียภาพ
1.3) เพอ่ื ใหก้ ล้าแสดงออก มีความเชอื่ มัน่ ในตนเอง และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์
1.4) เพือ่ ฝกึ ทักษะในการฟังดนตรี หรือจงั หวะตา่ งๆ
1.5) เพือ่ พฒั นาด้านสังคม การปรบั ตัว การทากจิ กรรมและความร่วมมือในกลุ่ม
1.6) เพื่อฝกึ การเป็นผ้นู าและผ้ตู ามทดี่ ี
1.7 เพือ่ ฝกึ ทกั ษะภาษา ฝกึ ฟังคาสง่ั และข้อตกลง
1.8 เพ่อื ให้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตงึ เครยี ดท้ังรา่ งกายและจติ ใจ

2) วสั ดอุ ุปกรณ์
2.1) เครื่องประกอบจังหวะ เชน่ รามะนา กลอง กรับ ฉิง่ ฯลฯ
2.2) แถบบนั ทกึ เสยี งเพลง เครื่องเลน่ เทป
2.3) อปุ กรณป์ ระกอบการเคลื่อนไหว เช่น หว่ งยาง แถบผา้ ฯลฯ

3) แนวกำรจัดกจิ กรรม
3.1) ร้องเพลง ทอ่ งคากลอน / คาคลอ้ งจอง และเคลื่อนไหวตามบทเพลง คา

กลอน คาคล้องจอง
3.2) เคล่อื นไหวพ้ืนฐาน โดยแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื เคลือ่ นไหวอย่กู ับที่ และ

เคลอ่ื นไหว เคลือ่ นที่
3.3) เล่นเครอื่ งเล่นดนตรีงา่ ยๆ ประเภท เคาะ เชน่ กรับ รามะนา กลอง ฯลฯ

และเคล่อื นไหวประกอบ
3.4) การฝึกจังหวะ โดยการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย การทาจังหวะด้วยเปล่ง
เสยี ง
3.5) ใหเ้ ดก็ เคลื่อนไหวตามความคดิ สร้างสรรค์ โดยใช้อุปกรณ์ประกอบในการ

เคลื่อนไหว เช่น หว่ ง แถบผ้า ฯลฯ
2.4.20 กจิ กรรมเสรมิ ประสบกำรณ์
กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ เปน็ กจิ กรรมทีม่ ุง่ เนน้ ใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ฝึก

การทางาน และอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มท้ังกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ เน้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงและมี
โอกาสค้นพบด้วยตนเองให้มากที่สุด ใช้คาถามปลายเปิดท่ีชวนให้เด็กคิด ช่วงระยะเวลาท่ีจัดกิจกรรม
ยดื หยุน่ ตามความเหมาะสมท้ังนค้ี านงึ ถึงความสนใจของเด็กและความเหมาะสมของกิจกรรม

1) จุดประสงค์
1.1) เพอื่ ใหเ้ ด็กเข้าใจเน้ือหาและเรอื่ งราวในหน่วยการจัดประสบการณ์
1.2) เพ่อื ฝกึ การใชภ้ าษาในการฟัง พดู และการถา่ ยทอดเร่อื งราว
1.3) เพือ่ ฝกึ มารยาทในการฟัง การพูด

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 43

1.4) เพ่อื ฝกึ ความมรี ะเบยี บวนิ ยั
1.5) เพอ่ื ให้เดก็ เรียนรูผ้ ่านการสงั เกต เปรยี บเทียบ
1.6) เพือ่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ แก้ปัญหาและตดั สนิ ใจ
1.7) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิธีแสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้จากการค้นพบด้วย
ตนเอง
1.8) เพอ่ื ฝึกให้กล้าแสดงความคิดเห็น รว่ มแสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตุผลและ
ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน
1.9) เพอื่ ฝึกให้มลี กั ษณะนสิ ัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
1.10) เพ่อื ฝกึ ลกั ษณะนิสัยใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม
2.4.21 แนวกำรจัดกิจกรรม
1) การสนทนาหรือการอภิปราย เป็นการพูดคุย ซักถามระหว่างเด็กกับครู หรือเด็กกับ
เดก็ เปน็ การส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาด้านการพูดและการฟัง โดยการกาหนดประเด็นในการสนทนา
หรืออภิปรายเด็กจะได้แสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ครูหรือผู้สอนเปิดโอกาส
ใหเ้ ดก็ ซักถาม โดยใช้คาถามกระตุ้นหรอื เล่าประสบการณ์ท่ีแปลกใหม่ นาเสนอปัญหาที่ ทา้ ทายความคิด
การยกตัวอย่าง การใช้ส่ือประกอบการสนทนาหรือการอภิปรายด้วยส่ือของจริง ของจาลอง รูปภาพ
หรอื สถานการณจ์ าลอง
2) การเล่านิทาน และการอ่านนิทาน เป็นกิจกรรมท่ีครหู รือผสู้ อนเล่าหรืออ่านเรื่องราว
จากนิทาน โดยการใช้น้าเสียงประกอบการเล่าแตกต่างตามบุคลิกของตัวละคร เลือกสาระของนิทานให้
เหมาะสมกับวัย ส่ือที่ใช้ได้แก่ หนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผ่นภาพ หุ่นมือ หุ่นนิ้วมือ หรือการแสดง
ท่าทางประกอบการเลา่ เรอื่ ง โดยครูใช้คาถามเพอื่ กระตุน้ การเรยี นรู้
3) การสาธิต เปน็ กจิ กรรมที่เดก็ ได้เรยี นร้จู ากประสบการณต์ รง โดยแสดงหรอื ทาสง่ิ ท่ี
ต้องการให้เด็กได้สงั เกตและเรียนรตู้ ามขัน้ ตอนของกจิ กรรมนัน้ ๆ และเด็กได้อภิปรายและร่วมกนั สรุป
การเรยี นรู้ การสาธติ ใหเ้ ดก็ อาสาสมคั รเป็นผู้สาธติ รว่ มกบั ครหู รอื ผสู้ อน เพื่อนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตจิ ริงดว้ ย
ตนเอง เชน่ การเพาะเมล็ดพืช การประกอบอาหาร การเป่าลกู โปง่ การเล่นเกมการศึกษา
4) การทดลอง/ปฏิบัตกิ าร เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง จากการลง
มือปฏิบัติทดลอง การคิดแก้ปัญหา มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะคณิตศาสตร์ ทักษะ
ภาษา ส่งเสริมให้เด็กเกิดข้อสงสัย สืบค้นคาตอบด้วยตนเอง ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างง่าย
สรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง และสรุปการเรียนรู้ โดยกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์
งา่ ย ๆ
5) การประกอบอาหาร เป็นกจิ กรรมที่จัดให้เด็กได้เรียนรูผ้ ่านการทดลองโดยเปดิ โอกาส
ให้เด็กได้ลงมือทดสอบและปฏิบัติการด้วยตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผัก เนื้อสัตว์ ผลไม้ด้วย
วิธีการตา่ งๆ เชน่ ต้ม น่ึง ผัด ทอด หรือการรบั ประทานสด เด็กจะได้รบั ประสบการณ์จากการสังเกตการ
เปล่ียนแปลงของอาหาร การรับรู้รสชาติและกลิ่นของอาหาร ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสและการทางาน
รว่ มกนั
6) การเพาะปลกู เป็นกจิ กรรมท่ีเนน้ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ซ่งึ
เด็กจะได้เรียนรู้การบูรณาการจะทาให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยทาความเข้าใจความต้องการของ
ส่ิงมีชีวิตในโลก และช่วยให้เด็กเข้าใจความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงท่ีอยู่รอบ ตัวโดยการสังเกต
เปรยี บเทยี บ และการคิดอย่างมเี หตผุ ลซงึ่ เปน็ การเปิดโอกาสใหเ้ ด็กไดค้ น้ พบและเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 44

7) การศึกษานอกสถานที่ เปน็ การจัดกจิ กรรมทศั นศกึ ษาที่ใหเ้ ด็กได้เรยี นร้สู ภาพความ
เป็นจริงนอกห้องเรียน จากแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา หรือ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น ห้องสมุด สวน
สมุนไพร วัด ไปรษณีย์ พิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพ่ิมพูนประสบการณ์แก่เด็ก โดยครูและเด็กร่วมกัน
วางแผนศึกษาสิง่ ที่ตอ้ งการเรยี นร้กู ารเดินทาง และสรปุ ผลการเรยี นร้ทู ี่ไดจ้ ากการไปศึกษานอกสถานที่

8) การเล่นบทบาทสมมติ เป็นกิจกรรมใหเ้ ด็กสมมติตนเองเป็นตัวละคร และแสดง
บทบาทต่างๆตามเนื้อเรื่องในนิทาน เร่ืองราวหรือสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ความรู้สึกของเด็กในการ
แสดง เพื่อให้เด็กเข้าใจเร่ืองราว ความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผู้อื่น ๆ โดยใช้สื่อประกอบการ
เล่นสมมติ เช่น หุ่นสวมศีรษะที่คาดศีรษะรูปคนและสัตว์รูปแบบต่างๆ เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ของ
จริงชนดิ ต่าง ๆ

9) การร้องเพลง ท่องคาคลอ้ งจอง เป็นกจิ กรรมที่จัดใหเ้ ด็กได้เรยี นรูเ้ ก่ยี วกบั ภาษ
จังหวะ และการแสดงท่าทางให้สัมพันธ์กับเน้ือหาของเพลงหรือคาคล้องจอง ครูหรือผู้สอนควรเลือกให้
เหมาะกับวัยของเดก็

10) การเล่นเกม เปน็ กจิ กรรมทีน่ าเกมการเรียนรเู้ พอ่ื ฝึกทักษะการคิด การแกป้ ัญหา
และการทางานเปน็ กลมุ่ เกมที่นามาเล่นไมเ่ น้นการแข่งขัน

11) การแสดงละคร เป็น กจิ กรรมทีเ่ ดก็ จะได้เรยี นร้เู กย่ี วกับการลาดับเรื่องราว
การเรียงลาดับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวจากนิทาน การใช้ภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพ่ือให้เด็กได้
เรียนรู้และทาความเข้าใจบุคลิกลกั ษณะของตวั ละครทเ่ี ด็กสวมบทบาท

12) การใช้สถานการณ์จาลอง เปน็ กิจกรรมทีเ่ ด็กได้เรียนรูแ้ นวทางการปฏบิ ตั ติ นเมื่อ
อยู่ในสถานการณ์ที่ครูหรือผู้สอนกาหนด เพ่ือให้เด็กได้ฝกึ การแก้ปัญหา เช่น น้าท่วม โรคระบาด พบคน
แปลกหนา้

2.4.22 กจิ กรรมศิลปะสรำ้ งสรรค์
กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ เปน็ กิจกรรมท่ชี ่วยให้เด็กไดแ้ สดงออกทางอารมณ์ ความรสู้ ึก

ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ โดยใช้ศิลปะ เช่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การฉีก ตัด
ปะ การพิมพ์ภาพ หรือ วิธีการอ่ืนๆ ท่ีเด็กได้ คิดสร้างสรรค์และเหมาะสมกับพัฒนาการ เช่น การเล่น
พลาสติกสร้างสรรค์

1) จดุ ประสงค์
1.1) เพอ่ื พัฒนากล้ามเนอื้ มือ และตาให้ประสานสมั พนั ธก์ ัน
1.3) เพ่ือส่งเสรมิ การปรบั ตวั ในการทางานร่วมกับผู้อืน่
1.4) เพ่ือสง่ เสริมการแสดงออกและความมั่นใจในตนเอง
1.5) เพ่ือส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทกั ษะทางสงั คม
1.6) เพื่อสง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษา
1.7) เพอื่ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต และการแกป้ ัญหา
1.8) เพือ่ ส่งเสริมความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ และจนิ ตนาการ
2) แนวกำรจัดกิจกรรม
2.1) เตรยี มจัดโตะ๊ และอุปกรณใ์ ห้พรอ้ ม และเพียงพอกอ่ นทากจิ กรรม โดยจดั ไว้
หลายๆกิจกรรมและอยา่ งนอ้ ย 3–5 กจิ กรรม เพอื่ ใหเ้ ดก็ มีอิสระในการเลอื กทากจิ กรรมทีส่ นใจ
2.2) สรา้ งข้อตกลงในการทากจิ กรรม เพ่ือฝึกให้เด็กมีวินัยในการอยรู่ ว่ มกัน
2.3) การจัดใหเ้ ด็กทากิจกรรม ให้เดก็ เลอื กทากจิ กรรมอยา่ งมรี ะเบียบ และทยอยเข้า

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 45

ทากิจกรรมโดยจดั โต๊ะละ 5–6 คน
2.4) การเปลยี่ นและหมุนเวยี นทากจิ กรรม ต้องสร้างข้อตกลงกับเดก็ ใหช้ ัดเจน เช่น

หากกจิ กรรมใดมีเพอ่ื นครบจานวนทีก่ าหนดแล้ว ใหค้ อยจนกว่าจะมที ่ีว่าง หรอื ให้ทากิจกรรรมอื่นก่อน
2.5) กจิ กรรมใดเปน็ กจิ กรรมใหม่ หรอื การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ใหม่ ครูจะต้องอธิบาย

วิธีการทาวธิ ีการใช้ วิธีการทาความสะอาด และการเกบ็ ของเขา้ ที่
2.6) เม่อื ทางานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนให้เดก็ เกบ็ วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื

เคร่อื งใช้เขา้ ที่และชว่ ยกันดแู ลหอ้ งให้สะอาด
2.4.23 กจิ กรรมเสรี / เล่นตำมมุม
กจิ กรรมเสรี เป็นกิจกรรมทีเ่ ปดิ โอกาสให้เดก็ เล่นอิสระตามมมุ ประสบการณ์ที่จดั ไว้

เช่น มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมร้านค้า มุมบ้าน มุมวิทยาศาสตร์ เป็นต้น มุมประสบการณ์ต่างๆ เหล่าน้ี
เด็กมีโอกาสเลือกเล่น ได้อย่างเสรี ตามความสนใจ และความต้องการของเด็กทั้งเป็นรายบุคคลและเป็น
กล่มุ ยอ่ ย ให้เดก็ มีโอกาสคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง การจดั กจิ กรรมให้เด็กเลือกทากจิ กรรมอย่างอิสระ โดย
เลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์อย่างน้อย 1 –2 อย่าง ในแต่ละวัน สังเกตพฤติกรรมของเด็กและดูแลอย่าง
ใกลช้ ดิ ขณะเดก็ เลน่ สบั เปล่ยี นหรือเพ่ิมเติมสือ่ เครอื่ งเล่นในแตล่ ะมมุ ประสบการณ์เป็นระยะ

1) จุดประสงค์
1.1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสาน
สัมพันธ์
ระหวา่ งมอื กบั ตา
1.2) เพื่อสง่ เสริมให้รจู้ ักปรับตวั อยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื มวี นิ ยั เชิงบวก รูจ้ กั การรอคอย
เออ้ื เฟอื้ เผอื่ แผ่ และใหอ้ ภยั
1.3) เพอื่ ส่งเสรมิ ให้เด็กมีโอกาสปฏิสมั พนั ธก์ บั เพอื่ น ครู และสงิ่ แวดลอ้ ม
1.4) เพอ่ื ส่งเสรมิ พัฒนาการทางดา้ นภาษา
1.5). เพื่อส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมนี ิสัยรกั การอา่ น
1.6) เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสารวจ การสังเกต และการ
ทดลอง
1.7) เพื่อสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ พฒั นาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
1.8) เพ่ือส่งเสริมการคดิ แก้ปญั หา การคิดอย่างมเี หตผุ ลเหมาะสมกบั วัย
1.9) เพือ่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กฝึกคิด วางแผน และตัดสนิ ในการทากจิ กรรม
1.20) เพือ่ สง่ เสรมิ ใหม้ ที ักษะพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์
1.11) เพื่อฝึกการทางานรว่ มกนั ความรบั ผดิ ชอบ และระเบยี บวนิ ยั
2.4.24 แนวกำรจดั กจิ กรรม
1) แนะนามมุ เลน่ ใหม่ เสนอแนะวิธีใช้ การเลน่ ของเล่นบางชนิด
2) เด็กและครรู ว่ มกนั สร้างข้อตกลงเกี่ยวกับการเลน่
3) ครเู ปิดโอกาสให้เด็กคิด วางแผน ตดั สนิ ใจเลอื กเลน่ อยา่ งอิสระ เลอื กทากิจกรรมที่
จดั ขึ้นตามความสนใจของเดก็ แตล่ ะคน
4) ขณะเดก็ เลน่ / ทางาน ครอู าจชีแ้ นะ หรอื มีส่วนร่วมในการเลน่ กับเด็กได้
5) เด็กตอ้ งการความช่วยเหลอื และคอยสงั เกตพฤติกรรมการเลน่ ของเดก็ พรอ้ มทั้งจด
บันทกึ พฤตกิ รรมทน่ี ่าสนใจ

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 46

6) เตือนให้เดก็ ทราบลว่ งหนา้ ก่อนหมดเวลาเลน่ ประมาณ 3 – 5 นาที
7) ใหเ้ ด็กเก็บของเลน่ เขา้ ทใ่ี ห้เรยี บร้อยทุกคร้งั เม่ือเสร็จสิน้ กจิ กรรม
2.4.25 กจิ กรรมกลำงแจง้
กิจกรรมกลางแจง้ เป็นกจิ กรรมท่ีจดั ใหเ้ ดก็ มีโอกาสออกไปนอกหอ้ ง เพ่ือออกกาลัง
เคลอื่ นไหวร่างกาย และแสดงออกอย่างอิสระ โดยยดึ ความสนใจและความสามารถของเดก็ แต่ละคนเป็น
หลัก ให้โอกาสเด็กเลือกเล่นกลางแจ้งอย่างอิสระทุกวัน โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด หมั่นตรวจเครื่อง
เลน่ สนามและอุปกรณ์ตา่ งๆ ให้อยู่ในสภาพทป่ี ลอดภัยและใช้การไดด้ ีอยเู่ สมอ หลังเลกิ กิจกรรมใหเ้ ด็กได้
พักผอ่ นหรือนง่ั พัก กจิ กรรมกลางแจ้งทจี่ ัดใหเ้ ด็กในแตล่ ะวัน ได้แก่

1) การเล่นเครอื่ งเล่นสนาม
2) การเล่นทราย
3) การเล่นน้า
4) การเล่นสมมตุ ิในบ้านจาลอง
5) การเล่นในศูนยช์ า่ งไม้
6) การเล่นกบั อปุ กรณ์กีฬา
7) การเล่นเกมการละเลน่
1) จดุ ประสงค์
1.1) เพื่อพัฒนากล้ามเนอื้ ใหญ่ กล้ามเนอ้ื เล็ก และการประสานสัมพนั ธ์ของอวยั วะ
ต่างๆ
1.2) เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้มีรา่ งกายแข็งแรง สุขภาพดี
1.3) เพอ่ื ส่งเสริมให้เกดิ ความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครยี ด
1.4) เพ่ือปรับตัว เล่นและทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื
1.5) เพื่อเรียนรูก้ ารระมัดระวัง รกั ษาความปลอดภยั ท้งั ของตนเองและผู้อน่ื
1.6) เพื่อฝึกการตดั สนิ ใจ และแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง
1.7) เพื่อสง่ เสริมใหม้ คี วามอยากรูอ้ ยากเห็นสิ่งต่างๆ ที่แวดล้อมรอบตัว
1.8) เพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น การสังเกต การเปรียบเทยี บ การจาแนก
ฯลฯ
2.4.26 แนวกำรจดั กจิ กรรม

1.1) เดก็ และครรู ่วมกันสรา้ งข้อตกลง
1.2) จดั เตรยี มวัสดอุ ุปกรณป์ ระกอบการเลน่ ให้พร้อม
1.3) สาธติ การเล่นเครอื่ งเล่นสนามบางชนิด
1.4) ใหเ้ ด็กเลือกเล่นอสิ ระตามความสนใจและใหเ้ วลาเล่นนานพอควร
1.5) จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย เช่น การเล่นน้า เล่นทราย เล่นบ้าน
ตุ๊กตา
เล่นในมุมช่างไม้ เล่นบล็อกกลวง เคร่ืองเล่นสนาม เกมการละเล่น เล่นอุปกรณ์กีฬาสาหรับเด็ก เล่น
เครอื่ งเล่นประเภทลอ้ เลอื่ น เลน่ ของเลน่ พนื้ บ้าน
1.6) ขณะเด็กเล่นต้องคอยดแู ลความปลอดภัยและสงั เกตพฤติกรรมการเล่น
การอยรู่ ว่ มกันกบั เพอ่ื นของเดก็ อย่างใกลช้ ดิ
1.7) เมอ่ื หมดเวลาควรให้เดก็ เก็บของใช้หรอื ของเล่นใหเ้ รยี บร้อย

รายงานการใช้และพฒั นาหลกั สูตรโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) : ปฐมวยั 47

1.8) ใหเ้ ด็กทาความสะอาดรา่ งกายและดแู ลเครอ่ื งแตง่ กายให้เรยี บร้อยหลัง
เล่น

2.4.27 กจิ กรรมเกมกำรศกึ ษำ
เกมการศกึ ษา เป็นเกมการเลน่ ทีช่ ่วยพฒั นาสตปิ ัญญา มกี ฎเกณฑก์ ตกิ าง่ายๆ สามารถ

เล่นคนเดียวหรอื เลน่ เป็นกลุ่มได้ ช่วยให้เด็กรู้จกั สังเกต คดิ หาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกบั สี
รปู รา่ ง จานวน ฯลฯ การเล่นเกมการศึกษาในระยะแรกเริ่มใช้ของจรงิ การเล่นเกมในแต่ละวันให้เด็กได้
เล่นท้ังเกมชุดใหม่และชุดเก่า จัดให้เด็กหมุนเวียนเล่นเกมตามความเหมาะสม การเล่นเกมเม่ือเลิกเล่น
แล้วจัดเก็บรวมไว้เปน็ ชดุ ๆ

1) จดุ ประสงค์
1.1) เพื่อฝกึ ทักษะการสงั เกต จาแนกและเปรยี บเทยี บ
1.2) เพือ่ ฝึกการแยกประเภท การจดั หมวดหมู่
1.3) เพ่อื สง่ เสริมการคิดหาเหตผุ ล และตัดสนิ ใจแก้ปัญหา
1.4) เพือ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เกิดความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับสงิ่ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้
1.5) เพอ่ื ส่งเสริมการประสานสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมอื กับตา
1.6) เพ่ือปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมต่างๆ เช่น ความรับผิดชอบ ความ

เอ้อื เฟ้ือเผ่ือแผ่
2) แนวกำรจดั กจิ กรรม
2.1) แนะนากิจกรรมใหม่
2.2) สาธติ / อธบิ าย วิธเี ลน่ เกมอย่างเปน็ ขั้นตอนตามประเภทของเกม
2.3) ใหเ้ ดก็ หมนุ เวียนเข้ามาเลน่ เป็นกล่มุ หรอื รายบคุ คล
2.4) ขณะท่ีเดก็ เลน่ เกม ครูเปน็ เพยี งผูแ้ นะนา
2.5) เมอ่ื เด็กเล่นเกมแตล่ ะชุดเสรจ็ เรียบร้อย ควรให้เดก็ ตรวจสอบความ

ถกู ตอ้ งดว้ ยตนเองหรือร่วมกันตรวจกบั เพือ่ น หรอื ครเู ปน็ ผชู้ ว่ ยตรวจ
2.6) ใหเ้ ด็กนาเกมทีเ่ ลน่ แล้วเก็บใสก่ ล่อง เข้าทีใ่ ห้เรียบรอ้ ยทกุ ครงั้ กอ่ นเล่น

เกมชดุ อน่ื
2.4.28 กำรจดั กำรเรียนรโู้ ดยโครงกำร (Project Approach)
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยนารูปแบบการจัก

ประสบการณ์การเรียนรู้โดยโครงการ(Project Approach) เพ่ือส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้เรื่องราว
ตา่ งๆทส่ี นใจ ให้โอกาสเด็กได้คน้ พบ และเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับเรอ่ื งราว ส่ิงของ บคุ คล สถานที่
หรือชุมชนท่ีแวดล้อมตัวเด็ก ตามวิธีการของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก โดยครูเป็นผู้สนับสนุน
ช่วยเหลือและจัดเตรียมสภาพแวดล้อมรวมทั้งสอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ ทั้งน้ีกาหนดให้ครผู ู้สอนชั้นอนุบาลปีท่ี 1
,2 และ 3 จดั การเรียนรู้โดยโครงการ ปีการศึกษาละ 1 โครงการ โดยมกี ระบวนการจัดประสบการณก์ าร
เรยี นรโู้ ดยโครงการ 3 ระยะ ดังนี้

ระยะท่ี 1 ทบทวนความรแู้ ละความสนใจ
ระยะที่ 2 คน้ ควา้ และมีประสบการณ์ใหม่
ระยะที่ 3 ประเมนิ สะทอ้ นกลับ และแลกเปลี่ยนงานโครงการ


Click to View FlipBook Version