The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattamapanok, 2021-05-18 00:07:40

ตัวอย่าง

05chap3

แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 3

หัวขอ เนื้อหาประจาํ บท

1. ความหมายของทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสาํ หรบั เด็กปฐมวยั
2. ความสาํ คัญของทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส ําหรบั เดก็ ปฐมวยั
3. ประโยชนของทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
4. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรทเี่ กี่ยวของกับเด็กปฐมวัย

4.1 ทกั ษะการสังเกต
4.2 ทกั ษะการจาํ แนกประเภท
4.3 ทักษะการวดั
4.4 ทกั ษะการสอ่ื ความหมาย
4.5 ทกั ษะการลงความเห็น
4.6 ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา
4.7 ทักษะการใชตัวเลข
5. บทบาทครูกบั การสง เสรมิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส ําหรับเดก็ ปฐมวัย
6. ตัวอยางกิจกรรมการสอนเพื่อฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็ก
ปฐมวยั
7. สรปุ

วตั ถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม

เมือ่ ศกึ ษาบทที่ 3 จบแลว นักศึกษามีความสามารถดงั ตอ ไปน้ี
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรส ําหรับเดก็ ปฐมวัยได
2. วิเคราะหท ักษะที่เกยี่ วของกับวทิ ยาศาสตรสาํ หรับเด็กปฐมวัยได
3. สามารถปฏบิ ัติกิจกรรมเพือ่ สงเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส าํ หรับ
เดก็ ปฐมวยั ได
4. อภปิ รายแนวทางสง เสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส ําหรับเด็กปฐมวัยได
5. เม่อื กาํ หนดแบบฝก หัดให 10 ขอ นกั ศึกษาสามารถทาํ แบบฝก หดั ไดถ กู 8 ขอ

56

วธิ ีสอน

1. วิธีสอนแบบนริ นัย
2. วิธสี อนแบบบรรยาย
3. วธิ ีสอนแบบอภิปรายกลมุ ยอย

กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. นักศกึ ษาศกึ ษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3
2. ผสู อนบรรยายโดยใชแผนโปรงใสประกอบ
3. ผูส อนและนักศกึ ษารวมกนั อภิปรายและเสนอแนะความคิดเหน็ เพม่ิ เติม
4. ผสู อนแบงนกั ศึกษาออกเปน 5 กลุม ๆ ละ 5 – 10 คน

4.1 ผสู อนมอบหมายใหน ักศกึ ษาศกึ ษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรจาก
เอกสารและฝกปฏิบัติกจิ กรรมทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรเปน รายกลมุ

4.2 ตัวแทนนักศึกษานําเสนอการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา ชน้ั เรยี น
4.3 นักศึกษารว มอภิปราย ตอบคําถาม และแสดงความคิดเหน็ ตามทผี่ สู อน
ตั้งประเดน็
5. นักศึกษาฟง คาํ บรรยายสรุปกจิ กรรมโดยภาพรวมจากผูสอน
6. ผูสอนใหน ักศึกษาทําแบบฝก หัดทา ยบท

สอ่ื การเรียนการสอน

1. เอกสารประกอบการสอน
2. ใบงานกจิ กรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
3. แผนโปรง ใสและเครื่องฉายภาพขามศรี ษะ

การวัดและประเมนิ ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ กิจกรรมท่ไี ดรบั มอบหมาย
2. สงั เกตพฤตกิ รรมมสี ว นรว มตามกจิ กรรมทไี่ ดรับมอบหมาย
4. สงั เกตการมีสวนรว มในการเรยี นการสอน และรว มอภปิ รายของนกั ศกึ ษา
5. ตรวจแบบฝก หัด

57

บทท่ี 3
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเดก็ ปฐมวยั

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย เปนทักษะเบ้ืองตนท่ีสําคัญและ
มีความจาํ เปนอยา งยิ่งที่ผูท่ีทําหนาท่ีเกี่ยวของกับเด็กปฐมวัยควรจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะดังกลาว
ใหกับเด็กปฐมวัย เน่ืองจากเปนทักษะพ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับการดําเนินชีวิต เพ่ือใหเด็กเกิด
การเรียนรู มีความรูและความเขาใจวิธีการนําทักษะตาง ๆ มาใชไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะ
การจําแนกประเภท ทักษะการวัด ทกั ษะการสือ่ ความหมาย ทกั ษะการลงความเห็น ทักษะการหา
ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลาและทักษะการใชตัวเลข เปนตน ทักษะเหลานี้เปนทักษะท่ีมี
ความเกี่ยวของในชีวิตประจําวันของเด็กอยูตลอดเวลา ครูผูสอนควรมีความรูและความเขาใจ
เพ่ือสามารถสงเสริมและกระตุนใหเด็กไดทํากิจกรรม เพ่ือฝกทักษะประเภทตาง ๆ ตอบสนองความ
อยากรูอยากเห็น ใฝเรียน ใฝรู เก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพื่อเปนพ้ืนฐานสําคัญ
ของการพฒั นาการเรียนรูใ นดา นตา ง ๆ สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ตอ ไป

ความหมายของทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส ําหรับเด็กปฐมวยั

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส ําหรบั เด็กปฐมวยั เปน ทกั ษะท่ีเด็กจําเปน ตองเก่ียวของ
อยตู ลอดเวลา จึงมีนักการศึกษาหลายทานไดใหความสําคัญพรอมท้ังศึกษาทักษะดังกลาวและไดให
ความหมายไวน าสนใจดงั ตอ ไปนี้

พวงทอง มีมั่งค่ัง (2537, หนา 100 – 101) กลาววา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
คือ กระบวนการหรือวิธีการในการใชเครื่องมือเพ่ือแสวงหาความรูหรือหาวิธีการในการแกปญหา
ดวยตนเอง ซ่ึงเปนวิธีการสอนแบบคนหา การสอนแบบสืบเสาะหาความรู หรือการสอนแบบแกปญหา
ตามข้ันตอนของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

วรรณทพิ า รอดแรงคา (2544, หนา 21) ไดก ลา ววา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
เปนวิธีการท่ีสําคัญในการที่จะไดมาซ่ึงความรูใหม ๆ ไมวาจะเปนเน้ือหาวิชา การสรุป หรือการ
ตีความหมายซง่ึ สามารถจะใชท กั ษะไดหลาย ๆ ทกั ษะดวยกัน

สุรีย สุธาสิโนบล (2541, หนา 53) กลาวถึงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไววา
หมายถึง กระบวนการคนควาทดลอง เพ่ือหาขอเท็จจริง หลักการและกฎเกณฑในขณะทําการ
ทดลอง ผูทดลองมีโอกาสฝกฝนทั้งดานปฏิบัติ และพัฒนาความคิดไปดวยเชน ฝกสังเกต บันทึก
ขอมูล หาความสัมพันธของตัวแปรตาม ต้ังสมมุติฐาน และทําการทดลอง ซ่ึงเปนพฤติกรรมที่เกิด
จากการปฏิบัติ และการฝก ฝนการคิดอยางเปนระบบ

58

วิชชุดา งามอักษร (2541, หนา 39) กลาววาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
หมายถึง ความสามารถในการสบื เสาะหาความรู โดยผา นการฝกฝนและปฏิบัติ มีความคิดอยางมี
ระบบ จนเกิดเปนทกั ษะทีค่ ลอ งแคลวและชํานาญข้ึน

บญั ญตั ิ ชาํ นาญกิจ (2542, หนา 50) กลาวถึงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรวา
เปนกระบวนการทางปญญาที่ตองอาศัยความคิดในระดับตาง ๆ มาใชในการแกปญหาส่ิงที่ยังไมรู
ใหไ ดมาซ่งึ ความจริง กฎ หลกั การ กอใหเ กิดความรูใหม

จากความหมายของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท่ีกลาวมาแลวน้ัน สรุปไดวา
การนําทักษะพื้นฐานอันไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะ
การลงความเห็น ทักษะการสื่อความหมาย ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลาและ
ทักษะการใชตัวเลขมาเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรูในการปฏิบัติ คนควา ทดลอง อยางเปน
ระบบและมีกระบวนการตอเน่ืองกันไป เพื่อหาขอเท็จจริงในการตอบสนองความอยากรู ชวยใหเด็ก
ปฐมวัยเปน คนมีเหตุผล และรูจ กั แกปญ หาในชีวิตประจาํ วนั ได

ความสําคญั ของทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส ําหรับเดก็ ปฐมวยั

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย เปนทักษะท่ีเชื่อมโยงส่ิงตาง ๆ
จากสภาพแวดลอมรอบตัวเด็ก โดยจัดในรูปแบบของกิจกรรม ใหโอกาสเด็กไดทดลอง ลงมือปฏิบัติ
จริงตามความสนใจซงึ่ กิจกรรมตาง ๆ นน้ั มคี วามสําคญั ตอเด็กดงั น้ี

1. ฝกใหเด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงอยางเปนระบบและมีขั้นตอน ชวยใหเปนคนคิดกวาง
มองไกล รจู ักคิด วิเคราะห สามารถแกป ญ หาไดอยา งมีเหตผุ ลดวยตนเอง

2. ชวยใหเด็กปฐมวัยเปนคนชางสังเกตส่ิงท่ีอยูรอบตัวดวยความสนใจและตั้งใจ มีความ
กระตอื รือรน อยากรูอ ยากเหน็

3. ชวยใหมีความเขาใจและรับรูไดรวดเร็ว มีเหตุผล รูจักจําแนก และเปรียบเทียบ
ส่ิงตา ง ๆ ไดอ ยา งคลองแคลว

4. ชวยใหเปนผูท่ีเห็นคุณคาและประโยชนของสภาพแวดลอมท่ีตนเองอยูวามนุษย และ
ส่งิ แวดลอมมีความเกยี่ วของกันตองพง่ึ พาอาศัยซ่ึงกนั และกนั

5. ชวยพัฒนาสวนตาง ๆ ของรางกายใหมีความคลองแคลว คลองตัวจากการทํา
กจิ กรรมทตี่ อ งใชก ารเคลอื่ นไหว

6. ชวยใหเด็กรูจักการปรับตัวเขากับสังคมและสภาพแวดลอมไดดี และรูจักใชเวลาวาง
ใหเปนประโยชน

59

7. ชว ยใหเด็กฉลาด มไี หวพริบ สามารถคิดหาคําตอบไดห ลายทาง
8. ชวยใหเด็กมีความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลินและไดรับประโยชนจากการทํากิจกรรม
เพื่อพฒั นาทักษะดานตาง ๆ
9. ชวยฝกทักษะการคิด และยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอ่ืน รูจักการเปนผูนําและ
ผูต ามท่ีดี
10. ชวยใหเ ดก็ ปฐมวัยไดพฒั นาทักษะในการดํารงชีวิตประจําวันดวยการใชทักษะพ้ืนฐาน
เบ้ืองตน เชน ทักษะดานการสังเกตไดสังเกตสิ่งตาง ๆ รอบตัว การเปล่ียนแปลง การเคลื่อนไหว
หรือการฝก การจําแนกประเภทของสิ่งตาง ๆ ทเ่ี กี่ยวของในชวี ิตประจาํ วันไดอยางคลองแคลว
อาจสรปุ ไดว า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมีความสําคัญสําหรับเด็กปฐมวัยเปน
อยางมาก เนื่องจากเปนกิจกรรมที่เด็กไดลงมือฝกปฏิบัติดวยตัวของเด็กเอง ตามความสามารถ
วุฒิภาวะ และความสนใจตามวัย เปนการตอบสนองความตองการ อยากรู อยากเห็น อยาก
คนควา ทดลอง สังเกต ฝกการลองผิด ลองถูก เพ่ือเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการสรางเสริมประสบการณ
ทด่ี ใี หก ับเดก็ ปฐมวยั

ประโยชนข องทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสาํ หรบั เดก็ ปฐมวัย

จากความสําคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่มีตอเด็กปฐมวัยอยาง
มากมายน้ัน ผูเขียนตระหนักดีวาเด็กปฐมวัยเปนชวงวัยที่สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรใหเ จริญสงู สุดไดถา ผมู ีสว นเกย่ี วของคาํ นงึ ถงึ ประโยชนดังตอไปน้ี

1. เด็กสามารถนําประสบการณจากการฝกทักษะดานตาง ๆ ที่จําเปนไปใชใน
ชวี ติ ประจาํ วนั ไดเปนอยา งดี

2. เด็กสามารถใชประสาทสัมผัสสวนตาง ๆ พรอมกับการไดเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของ
รางกาย สง ผลใหพ ัฒนาการทางสมองเพมิ่ ข้นึ

3. เด็กมคี วามสามารถนําประสบการณเดิมทไ่ี ดร บั มาใชป ระโยชนโดยนํามาผนวกเขากับ
ประสบการณใหม ๆ ชว ยใหม ปี ระสบการณก วางขวางขึ้น

4. เดก็ มคี วามสามารถในการพัฒนาดานรางกาย อารมณ จติ ใจ สังคมเพิม่ มากข้ึน
5. เด็กจะเปนผูที่มีความรู ความเขาใจ ความเปนจริงของชีวิตและความสมดุลกัน
ระหวางบคุ คลและสง่ิ แวดลอมมากยิง่ ขน้ึ
6. เด็กมีความสามารถนําทกั ษะท่เี กย่ี วขอ งมาเปน พนื้ ฐานในการแกปญ หา คน ควา ขอ มลู
ตา ง ๆ ที่ตองการเรียนรู เพอื่ ทําความเขาใจไดเ ปน อยา งดี

60

7. เด็กสามารถเขาใจการใชชีวิตดวยการนําประโยชนจากทักษะแตละดานมาเปน
เคร่ืองมือในการแสวงหาความรูเรือ่ งตาง ๆ ไดด ี

8. เม่ือเด็กประสบผลสําเร็จจะชวยสงเสริมใหมีเจตคติที่ดีตอการคนหาความรูทาง
วทิ ยาศาสตร

สรุปวาเด็กปฐมวัยไดรับประโยชนจากทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยใช
ประสาทสมั ผสั ทงั้ หา เพือ่ สํารวจ คน ควา ทดลอง และแสวงหาความรู ความจริง ทางวิทยาศาสตร
ดวยความสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ จากกิจกรรมทค่ี รูจัดใหโ ดยผานการเลน

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรทเ่ี กีย่ วของกับเดก็ ปฐมวัย

การสรางพื้นฐานเพื่อพัฒนาเด็กใหเรียนรูทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดานตาง ๆ
นั้นผทู ่มี ีหนา ทเ่ี กีย่ วของจะตอ งมีความรู ความเขาใจในการจัดประสบการณและกิจกรรมใหสอดคลอง
กับความสามารถ ความสนใจ วุฒิภาวะและธรรมชาติของเด็ก ใหเด็กไดมีโอกาสฝกฝนลงมือ
ปฏิบัติโดยใชประสาทสัมผัสหลาย ๆ ดานใหมากท่ีสุด ซึ่งเด็กจะไดใชประโยชนจากประสบการณ
การใชทักษะท่ีจําเปนดานตาง ๆ ในการคิดคนและหาคําตอบในสิ่งที่ตนเองตองการรู ทั้งนี้ทักษะ
ที่เก่ียวของและจําเปนสําหรับเด็กปฐมวัยมีความคิดเห็นจากนักการศึกษาเก่ียวกับทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรท เ่ี กย่ี วของกบั เดก็ ปฐมวยั ดงั นี้

นิวแมน (Neuman, 1981, p.p 320 – 321) มีความเห็นวาทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรที่มคี วามสาํ คัญสําหรับเดก็ ปฐมวยั ไดแก ทักษะการสงั เกต ทกั ษะการจาํ แนกประเภท
ทักษะการสอื่ ความหมาย และทักษะการลงความเห็น

ประภาพรรณ สุวรรณศุข (2538, หนา 367 – 381) มีความเห็นวาการท่ีจะสงเสริมให
เด็กปฐมวัยมีทักษะในการคิดแบบวิทยาศาสตร ครูจะตองพัฒนาใหเด็กมีทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ
การสังเกต การจาํ แนกประเภท การแสดงจาํ นวนและการสือ่ สาร

พัชรี ผลโยธิน (2542, หนา 24 – 31) ไดกลาวถึง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ท่คี วรสงเสรมิ สําหรบั เดก็ ปฐมวัยวาควรเปน ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกและการเปรียบเทียบ
ทักษะการวดั และทักษะการส่อื ความหมาย

จากความเห็นของนักศึกษาท่ีกลาวมาขางตน ผูเขียนเห็นความสําคัญและตระหนักถึง
ความจําเปนในการสงเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใหกับเด็กปฐมวัยได
มากมาย หากครูและผูเกี่ยวของมีความรูและความสามารถในการจัดกิจกรรมเพ่ือฝกทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรใหเหมาะสมกับความตองการและความสามารถตามวัย โดยทักษะที่
เด็กควรไดรับการพัฒนา ไดแก ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการวัด

61

ทกั ษะการสือ่ ความหมาย ทกั ษะการลงความเหน็ ทกั ษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา
และทกั ษะการใชต วั เลข ดงั มีรายละเอยี ดตอไปนี้

1. ทักษะการสงั เกต
ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง

หรือหลายอยางรวมกัน ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เขาไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือ
เหตุการณตาง ๆ ในการรวบรวมขอมูลใหมากที่สุด โดยไมใสความคิดเห็นสวนตัวของผูสังเกตลงไป
เพราะขอมูลท่ีไดจากการสังเกตนั้นไดอาศัยท้ังความรูและประสบการณเดิมรวมดวย โดย ภพ
เลาหไพบลู ย (2542, หนา 15) ไดก ลา วถึงขอ มูลที่ไดจ ากการสังเกตมี 3 ประเภทคือ

1.1 ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลเก่ียวกับลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งที่สังเกต
เกี่ยวกับรูปราง กล่ิน รส สี การสัมผัส เชน การสังเกตผลสม เมื่อใชตาดูผลสมพบวา มีรูปราง
ลักษณะเปนรูปกลม มีสีสมปนเหลืองอมเขียว เมื่อใชมือสัมผัสรูสึกเรียบ มีนํ้าหนัก นิ่ม เม่ือใช
จมกู ดมมีกลน่ิ สม เมอ่ื ใชล ้นิ ชิมรสมีรสหวานอมเปร้ียวเล็กนอย เปน ตน

1.2 ขอมูลเชิงปริมาณ เปนขอมูลที่บอกรายละเอียดเก่ียวกับปริมาณเชน ขนาด
มวล และอณุ หภูมิ เปน ตน ตวั อยางขอมูลเชิงปริมาณท่ไี ดจ ากการสังเกตผลสม เชน สมผลนี้หนัก
ประมาณ 30 กรัม และเสน ผา ศูนยก ลางประมาณ 4.5 เซนติเมตร เปน ตน

1.3 ขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง เปนขอมูลท่ีไดจากการสังเกตการปฏิสัมพันธ
ส่งิ น้นั กบั สิ่งอน่ื เชน เมื่อมีปฏสิ ัมพันธกับส่งิ อ่ืน จะชวยใหไดข อมูลจากการสงั เกตไดก วา งขวางยิง่ ขึ้น

ในการสังเกตวัตถุหรือเหตุการณแตละครั้งน้ัน ผูสังเกต ตองพยายามสังเกต
ตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวอยางละเอียดถ่ีถวน และสังเกตหลาย ๆ ครั้ง โดยใชประสาทสัมผัสมากกวา
หนึ่งอยาง พรอมทั้งจดบันทึกขอมูลที่ไดจากการสังเกตไวเปนหลักฐาน โดยไมใสความคิดเห็นสวนตัว
ลงไปในการบันทกึ สิ่งท่ีสงั เกตได จะทาํ ใหก ารสงั เกตนนั้ มีความแนน อน เท่ียงตรงและเชื่อถอื ได

จดุ มุง หมายของการสงั เกตทางวทิ ยาศาสตรระดบั ปฐมวัยมดี งั น้ี
1. เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต ซ่ึงเปนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรที่มีความ
จําเปนในชีวิตประจําวันของเด็กและเด็กปฐมวัยมักใชทักษะการสังเกตน้ีเปนพื้นฐานในการพัฒนา
ทักษะดานตอ ๆ ไป
2. เพอ่ื ปลูกฝงใหเดก็ ปฐมวัยเปนผูทรี่ ูจ กั สงั เกตสนใจสิง่ ตาง ๆ รอบตัว ดว ยความรอบคอบ
และละเอียดถี่ถว น
3. เพ่ือพัฒนาการใชประสาทสัมผัสท้ังหาใหมีความสามารถจนเกิดความชํานาญ
คลอ งแคลว และวองไว

62

4. เพื่อสงเสริมใหเด็กรูจักนําขอมูลตาง ๆ ท่ีไดจากการสังเกตมาชวยในการตัดสินใจ
และนาํ มาใชในการแกไ ขปญ หา

5. เพ่ือใหเด็กไดรับความรูและสามารถตอบคําถามจากขอสงสัยโดยอาศัยทักษะ
พน้ื ฐานดานการสงั เกตมาเปนแนวทางในการหาความรู

นอกจากจุดมุงหมายของการสังเกตดังกลาวแลว ประภาพรรณ สุวรรณศุข (2538,
หนา 369 – 370) ไดใ หห ลักการสังเกตทางวทิ ยาศาสตรท ีค่ รูปฐมวัยควรคาํ นงึ ดังนี้

1. การจัดกิจกรรมเพื่อฝกการสังเกต จะตองพยายามใหเด็กมีทักษะในการใช
ประสาทสัมผสั ทง้ั หา ทางคอื ทางตา หู จมูก ลน้ิ และผิวกาย

2. การฝกการสังเกตควรจะเร่ิมใหเด็กสังเกตจากสวนใหญและงาย ๆ เสียกอน แลวจึง
สังเกตที่สง่ิ เลก็ และสลับซับซอนขึ้นตามลาํ ดับ

3. การฝกการสังเกตในระยะแรก ๆ ครูจะตองชวยใหเด็กเกิดความสนใจในส่ิงตาง ๆ
รอบตัวดวยการใชคําถามถามนําเพ่ือใหเด็กเกิดความสงสัย อยากรู เมื่อเด็กเกิดความสนใจในส่ิง
นั้น ๆ ตอไปเด็กจะมคี วามตองการท่จี ะสังเกตสงิ่ นั้นดวยตนเอง

4. ขอมูลตาง ๆ ท่ีเด็กไดเรียนรูจากการสังเกต ครูจะตองสงเสริมใหเด็กนํามาชวย
ในการตดั สนิ ใจแกปญ หาตา ง ๆ

5. การสังเกตส่ิงของบางอยาง จะตองทําการสังเกตอยางตอเน่ือง จะสามารถ
สังเกตเหน็ ความแตกตา งหรอื การเปลยี่ นแปลงไดอ ยางชัดเจน เชน การเพาะเมล็ดพืชและวงจรชีวิต
สัตว เปนตน

6. การสงั เกตสิ่งของหรอื เหตกุ ารณบางอยางตองใชเคร่ืองมือเขาชวย จึงจะทําใหเด็ก
เขาใจไดง ายขนึ้ ดงั นัน้ ครูจงึ ควรเตรียมอปุ กรณตาง ๆ ไวใหพ รอ มดวย เชน แวน ขยาย เปน ตน

นอกจากนีส้ ุชาติ โพธ์ิวิทย (ม.ป.ป., หนา 149) ไดกลาวถึงการฝกทักษะการสังเกต
วาครูควรปลกู ฝง ทักษะการสงั เกตใหเกิดกบั นักเรยี นอยา งนอย 3 ประการคือ

1. สังเกตรูปราง ลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป (qualitative observation) คือ
ความสามารถในการใชประสาทสัมผัสทั้งหา สังเกตสิ่งตาง ๆ แลวรายงานใหผูอ่ืนเขาใจไดถูกตอง
เชน การใชต าดูรูปราง หูฟง เสยี ง ลิ้นชมิ รส จมูกดมกล่ิน และการสัมผสั จับตอ ง เปน ตน

2. การสังเกตควบคูกับการวัดเพื่อทราบปริมาณ (quantiative observation) คือ
การสงั เกตควบคูกับการวัดเพ่อื บอกปริมาณซึง่ จะทําใหก ารสงั เกตละเอยี ดและไดป ระโยชนมากขึน้

3. การสังเกตเพ่ือการเปล่ียนแปลง (observation of change) การเปลี่ยนแปลง
ของวตั ถนุ ั้นมีท้ังการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ (physical change) และการเปล่ียนแปลงทางเคมี

63

(chemical change) ไดแ ก การเจริญเติบโตของสตั ว พชื การลุกไหมของสารเคมี การกลายเปน
ไอของน้าํ และการละลายของน้าํ แขง็ เปน ตน

ความสามารถท่ีแสดงวาเกิดทักษะการสังเกต สามารถบงชี้หรือบรรยายคุณสมบัติ
ของวัตถุไดโดยใชประสาทสัมผัสดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดาน และตอบถูกตองดวยตนเอง
อยางนอย 2 ลักษณะ เชน ใหเด็กเขยากระปองที่หนึ่งซ่ึงบรรจุเมล็ดถั่วเขียว จากน้ันใหเขยา
กระปองเมล็ดพืชอ่ืน ๆ ตามลําดับ ไดแก เมล็ดแมงลัก เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดถั่วแดง และฟงเสียง
แลวบอกวา กระปองใดเสียงเหมือนกระปอ งท่ีหนึง่

สรุปไดวา ทักษะการสังเกตหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการใชประสาท
สัมผัสท้ังหาในการจัดกระทํากับวัตถุตาง ๆ เพื่อใหไดขอมูลของวัตถุท่ีเปนขอมูลท่ีมีอยูจริงโดยไม
แสดงความคิดเห็นใด ๆ เพ่ิมเติม เพื่อใหไดขอมูลตามที่ตนเองตองการ การฝกการสังเกตควรทํา
การสังเกตและบันทึกขอมูลท่ีไดจากการสังเกตอยางตอเนื่องเพื่อใหทราบที่มาและระยะเวลาที่ทํา
การสังเกตเม่ือเปนเชนน้ียอมชวยใหผลท่ีไดจากการสังเกตสามารถเช่ือถือและพิสูจนไดวาขอมูลที่
ไดม านั้นเปนความจรงิ

2. ทกั ษะการจําแนกประเภท
ทักษะการจําแนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการแบงประเภทของสิ่งของ

โดยหาเกณฑ (criteria) หรือสรางเกณฑในการแบงข้ึน เกณฑที่ใชในการจําแนกประเภทของ
สิง่ ของมี 3 อยา งคอื ความเหมอื น (similarities) ความแตกตาง (difference) และความสัมพันธ
รวม (interelationships) ซ่ึงแลว แตวา เดก็ จะเลือกใชเ กณฑอันไหน สําหรับประภาพรรณ สุวรรณศุข
(2538, หนา 373) ไดใหความหมายของการจําแนกประเภทวา หมายถึง การใชประสาทสัมผัส
สว นใดสว นหน่ึงของรางกายจัดสิ่งตาง ๆ ใหเขาอยูประเภทเดียวกัน ซึ่งการจัดประเภทน้ีทําไดหลาย
วิธี เชน แยกประเภทตามตัวอักษร ตามลักษณะ รูปราง แสง สี เสียง จําแนกประเภทวาเปน
กระบวนการที่นักวิทยาศาสตรใชจําแนกสิ่งตาง ๆ เปนหมวดหมู เพ่ือชวยใหเกิดความสะดวกใน
การศึกษาและจดจําส่ิงแหลาน้ัน โดยอาศัยเกณฑบางอยางในการจําแนกส่ิงเหลาน้ี เชน จําแนกส่ิง
ท่ีมีชีวิตออกเปนพืชและสัตว โดยอาศัยลักษณะของรูปรางการเคล่ือนไหว การกินอาหาร การขับถาย
ของเสยี และการสืบพันธเุ ปนเกณฑใ นการจาํ แนก เปน ตน

เม่ือพิจารณาคุณสมบัติเหลานี้แลว จะเห็นไดชัดเจนวาพืชและสัตวแตกตางกันมาก
บางครั้งอาจจะมีปญหาอยูบางในการเลือกเกณฑที่ใชในการจําแนกประเภทยกตัวอยางเชน แปงเปยก
มีลักษณะระหวางของแข็งกับของเหลว จึงไมทราบจะจัดเขาประเภทใด อยางไรก็ดีควรถือหลัก
กวาง ๆ ไววา เราจะใชวิธีใดหลักใดก็ตาม วิธีท่ีดีคือวิธีท่ีเราสามารถแยกประเภทและระบุชนิดของ

64

วตั ถุตาง ๆ ไดโดยเด็ดขาด ไมควรทําใหเกิดการสับสน การพัฒนาทักษะในการจําแนกประเภทน้ัน
ผูเรียนจะตองเริ่มดวยจําแนกกลุมของวัตถุเปนสองพวกตามเกณฑที่กําหนด อยางใดอยางหนึ่ง
จากนั้นก็แบงตอไปตามเกณฑ ที่กําหนดขึ้นเปนคร้ังท่ีสอง และทําเชนนี้เร่ือย ๆ ไปจนกระทั่งผูเรียน
สามารถระบุวัตถุท่ีมอี ยูจ ํานวนมาก ๆ ได

ความสามารถทแี่ สดงวาเกิดทักษะการจําแนกประเภท
1. เรียงลาํ ดับ / เหตกุ ารณ หรือแบงกลุมส่ิงตาง ๆ จากเกณฑที่ผูอื่นกําหนดใหไดดวย
ตนเอง เชน จําแนกชนดิ ของผักและผลไม เปน ตน
2. เรียงลําดับ / เหตุการณ หรือแบงกลุมสิ่งตาง ๆ โดยใชเกณฑของตนเองไดถูกตอง
และสมาํ่ เสมอ สามารถบอกเกณฑใหผูอ่ืนเขาใจได เชน การเรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวัน
เปนตน
3. บอกเกณฑท่ีผูอ่ืนใชเรียงลําดับ / เหตุการณหรือแบงกลุมสิ่งของดวยตนเองได
ถูกตอง ไดแ ก จาํ แนกชนดิ ของเคร่ืองใชตา ง ๆ เชน ดนิ สอ ตะเกยี บ พกู นั และสชี อลก เปน ตน
สรุปไดวาทักษะการจําแนกประเภทหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการจําแนก
ประเภทของส่ิงของตาง ๆ ตามเกณฑท่บี ุคคลมคี วามสามารถในการจําแนกตามความคิดและความ
เหมาะสมดวยตนเอง โดยทั่วไปแลวสามารถใชเกณฑในการจําแนกประเภทส่ิงของได 3 อยางคือ
ความเหมอื น ความแตกตาง และความสมั พนั ธรวม สิ่งของบางชนดิ สามารถใชการจําแนกประเภท
ไดห ลายลักษณะดวยกนั แตค วรบอกไดวาใชเกณฑอะไรในการจําแนก ซ่ึงบุคคลอื่นสามารถพิสูจน
ไดวา การจาํ แนกประเภทตามที่กลาวมานนั้ สามารถทําไดจริง

3. ทักษะการวัด
ทักษะการวัด หมายถึง ความสามารถในการใชเครื่องมือตาง ๆ วัดหาปริมาณของ

สิง่ ท่ีเราตองการทราบไดอ ยา งถกู ตอ ง ความสามารถในการเลือกใชเครื่องมืออยางเหมาะสมกับส่ิงท่ีจะวัด
และความสามารถในการอานคาที่ไดจากการวัดไดถูกตอง รวดเร็ว และใกลเคียงกับความเปนจริง โดยมี
หนวยการวัดกํากับอยูเสมอ การวัดสําหรับเด็กปฐมวัยนั้นวิธีการวัดควรวัดอยางงาย ๆ เหมาะกับ
ความสามารถและความเขาใจของเด็กเปนการวัดโดยการประมาณ เชน นมกลองนี้เมื่อเทใสแกว
จะไดประมาณก่ีแกว ความสูงของเพื่อนคนหนึ่งในหองสูงเทาไหร นํ้าหนักของเพื่อนในหองคนไหน
หนกั มากท่สี ุดหรือหนักนอ ยที่สุด โตะตวั นส้ี งู กี่ฟุต และกวางก่ฟี ตุ เปนตน

สําหรับพรใจ สารยศ (2544, หนา 32) ไดกลาวถึงทักษะการวัดสําหรับเด็กปฐมวัย
ไววา เปนเพียงการเตรียมความพรอมเพ่ือใหมีความรูพื้นฐานดานการวัด โดยมุงใหใชเคร่ืองมือ
งาย ๆ วัดส่ิงตาง ๆ ไดอยางถูกตองโดยพิจารณาใหเหมาะสมกับส่ิงท่ีตองการวัดและความสามารถ

65

ของเด็ก ทั้งนมี้ หี นว ยการวัดเปน หนว ยของเคร่ืองมือที่ใชวัด ซ่ึงจัดเปนหนวยการวัดท่ีไมเปนมาตรฐาน
และการวดั น้อี าจตอ งใชการสังเกตเขารวมดวย

ความสามารถท่ีแสดงวาเกิดทกั ษะการวัด
1. เลือกใชเคร่ืองมือในการวัดไดถูกตองไดดวยตนเอง เชน การวัดสวนสูงของเด็ก
การช่ังน้าํ หนักสง่ิ ของหรือวัตถุและการวัดความยาวรอบตน ไม เปนตน
2. บอกเหตผุ ลในการเลือกเครือ่ งมอื ตามขอ 1 ไดด วยตนเองถกู ตอ ง
สรุปไดวา การวัดหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการใชเคร่ืองมือใด ๆ เพื่อทํา
การวัดสิ่งของท่ีเราตองการทราบไดถูกตองหรือใกลเคียงกับความเปนจริง โดยมีหนวยการวัดกํากับ
อยูเสมอ สําหรับเด็กปฐมวัยการวัดจะเปนลักษณะที่เปนการคาดคะเนท่ีใกลเคียงความจริง โดย
การใชทักษะอ่ืน ๆ รวมดวย เชน การสังเกตวาตนเองไดรับขนมปงมากหรือนอยกวาเพ่ือนก่ีช้ิน
การมองดูอาจไมสามารถระบุไดชัด เด็กอาจใชการนับจํานวนจะชวยใหสามารถตอบขอสงสัยของ
เด็กได เปน ตน

4. ทกั ษะการสือ่ ความหมาย
ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง ความสามารถในการนําขอมูลท่ีไดจากการสังเกต

การทดลอง หรือการวดั มาจัดใหสมั พนั ธกันมากขึ้น แลวเสนอใหบุคคลอื่นเขาใจไดโดยเสนอในรูป
ของกราฟ แผนภูมิ เขียนบรรยาย การพูด การใชสัญลักษณ รูปภาพ และความรูสึกตาง ๆ เชน
รายละเอียดจากการสังเกตผลที่ไดจากการศึกษา โดยการส่ือความหมายดีหรือไม ตองมีลักษณะ
ดังนี้คอื

4.1 บรรยายลกั ษณะ คณุ สมบัตขิ องวตั ถุโดยใหรายละเอยี ดที่ผอู น่ื สามารถวเิ คราะห
ไดถ ูกตอง

4.2 บอกข้ันตอนตาง ๆ ของการเปลย่ี นแปลงของวตั ถไุ ด
4.3 บอกความสมั พนั ธข องขอ มลู ท่จี ัดกระทําเปน ระบบแลว ไดครบถวน
โดยในการจัดประสบการณทางวิทยาศาสตร ดานการส่ือความหมายใหแกเด็กปฐมวัย
สอดคลองกับนิวแมน (Neuman, 1981, pp. 27 – 28) ที่ไดใหความหมายของการส่ือความหมาย
วาหมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีฝกใหเด็กมีทักษะในการเสนอขอมูลตาง ๆ ดวยการแสดงออกผาน
ทางภาษาพูด ภาษาทาทาง ภาษาเขียน และรูปภาพ ตลอดจนการรับขอมูลไดอยางถูกตอง
ชัดเจน สามารถพสิ ูจนไ ดว า เปน ความจริง

66

ความสามารถท่แี สดงวา เกิดทกั ษะการส่อื ความหมาย
1. นําขอมูลมาจัดเรียงในรูปตาราง / แผนภูมิ / กราฟ / หนังสือไดดวยตนเอง เชน
เรียงลําดับการเจรญิ เตบิ โตของตนถัว่ เปน ตน
2. แสดงความคิดเห็นหรือการพูดบรรยาย / อธิบายผลงานของตนไดเปนขอความที่
สมบูรณ 2 ประโยคขึ้นไปดวยตนเอง เชน การบอกลักษณะของลูกบอล กอนหิน และสําลี
เปน ตน
3. บอกสิ่งที่ผูอ่ืนแสดงความคิดเห็นหรือรายงานผลงานใหผูอื่นเขาใจ และตอบอยาง
สั้น ๆ ไดวาพูดเกี่ยวกับอะไร เชน การอธิบายส่ิงที่เก่ียวของหรือลักษณะของกระตาย เชน มีหูยาว
ขนปยุ กินแครอทและหวั ผักกาดเปนอาหาร เปนตน
สรุปไดวา ทักษะการส่ือความหมายหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการนําเสนอ
ขอมูลที่ตนมีอยูเดิมหรือไดรับมาใหม ท่ีไดจากการสังเกต การวัด การทดลอง มาจัดกระทําใหมี
ความเกี่ยวของสัมพันธกัน แลวนําเสนอใหบุคคลอ่ืนเขาใจไดดวยวิธีการของตนเอง เชน การพูด
การวาดภาพ และการแสดงทาทางส่ือความหมาย ซึ่งผูรับขอมูลสามารถตอบสนองไดวาขอมูล
ทไี่ ดร บั มาจากการสื่อความหมายดว ยวิธีการตาง ๆ นนั้ เปนความจรงิ เปนตน

5. ทักษะการลงความเห็น
ทักษะการลงความเห็น หมายถึง การอธิบายขอมูลท่ีไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผล

โดยอาศยั ความรหู รอื ประสบการณเ ดิมมาชว ยอาจไดจ ากการสงั เกต การวัด และการทดลอง ซึ่งการ
ลงความเห็นสามารถแบงไดเ ปน 2 ประเภทคอื

5.1 การลงขอสรุปเกี่ยวกับส่ิงตาง ๆ แตละอยางท่ีสังเกตได เชน ยังไมไดสังเกตการ
ละลายของนํ้าแข็ง แตสรุปไดวาถาต้ังไวบนโตะนํ้าแข็งจะละลาย และยังไมไดชิมรสของนํ้าสม
แตสรุปไดวาน้ําสมมรี สเปรีย้ วอมหวานเปนตน

5.2 ลงขอสรุปเก่ยี วกบั ความสัมพนั ธข องสิง่ ตาง ๆ หรอื ปรากฏการณตาง ๆ หมายถึง
อธิบายขอมูลที่ไดจากการสังเกตโดยอาศัยความรูหรือประสบการณเดิม เชน เห็นตนกุหลาบเห่ียว
และแหงตายไป อาจเปนเพราะมีหนอนมากิน ท้ัง ๆ ท่ีไมรูสาเหตุท่ีแทจริงวาคืออะไร แตอาศัย
ขอมูลท่ีเคยเห็นหนอนมากินแลวกุหลาบแหงตาย เปนตน การเพ่ิมเติมความคิดใหกับขอมูลที่มีอยู
อยา งมเี หตุผลโดยอาศัยความรูหรอื ประสบการณเดิมมาชวย ขอมูลน้ีอาจไดจากการสังเกต การวัด
หรือการทดลอง

สวน Eggen, & other (Eggen, & other, 1979 อางถึงใน อรัญญา เจียมออน, 2538,
หนา 16) ไดแบง การลงความเหน็ เปน 4 ประการคือ

67

1. การลงความเห็นแบบขอ สรปุ รวมท่ัวไป
2. การลงความเหน็ เชิงการพยากรณ
3. การลงความเห็นการอธิบาย
4. การลงความคิดเห็นสมมติฐาน
วรรณทิพา รอดแรงคา และพิมพันธ เดชะคุปต (2542, หนา 3) กลาววาการลง
ความเหน็ หมายถงึ การเพิ่มความเห็นใหกับขอมูลท่ีไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผล สามารถอธิบาย
หรอื สรปุ โดยอาศัยความรแู ละประสบการณเดิมมาชว ย
ดังน้ันทักษะการลงความเห็น จึงเปนความสามารถในการตีความและสรุปความ
คิดเห็นท่ีไดขอมูลจากการสังเกตหรือการปฏิบัติการทดลองไดอยางถูกตองเหมาะสมโดยอาศัย
ความเขา ใจและประสบการณเดิมมาประกอบ
ความสามารถทแ่ี สดงวาเกดิ ทักษะการลงความเหน็
แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ขอมูลท่ีไดจ ากการใชป ระสาทสัมผัสดานตาง ๆ ดวยตนเอง
ไดแก ใหเด็กชิมนํ้าผลไมทีละแกว เชน นํ้าสม น้ําฝรั่ง และน้ําแตงโม จากน้ันใหตอบวาน้ําผลไม
แกวใดคือนา้ํ แตงโม เปน ตน
สรปุ ไดวา ทกั ษะการลงความเห็นหมายถึง ความสามารถของบุคคลในการสรุปความคิด
และความเห็นของตนเองจากขอมูลที่ไดจากการสังเกต หรือการทดลองปฏิบัติดวยตนเองจนกระทั่ง
ไดข อ มลู ทีเ่ ปน ความจริง แลว สรุปลงความเหน็ จากขอมูลท่ีไดโ ดยอาศยั จากความรูและความเขา ใจ

6. ทักษะการหาความสมั พันธร ะหวา งสเปสกบั เวลา
วรรณทิพา รอดแรงคา และพิมพันธ เดชะคุปต (2542, หนา 4) ไดกลาวถึงทักษะ

การหาความสมั พนั ธร ะหวางสเปสกับเวลาไวดังน้ี
6.1 ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา ไดแก ความสัมพันธระหวางการเปลี่ยน

ตําแหนงท่ีอยูของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุที่เปล่ียนไปกับเวลา ไดแก
ความสามารถในการบอกตําแหนงและทิศทางของวัตถุโดยใชตนเองหรือวัตถุอ่ืนเปนเกณฑ
บอกความสัมพันธระหวางการเปล่ียนตาํ แหนง เปลย่ี นขนาด หรอื ปรมิ าณของวัตถกุ ับเวลาได

6.2 สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่วางท่ีวัตถุน้ันครองท่ีอยู ซึ่งจะมีรูปรางลักษณะ
เชนเดยี วกับวัตถุนั้น โดยทัว่ ไปแลว สเปสของวตั ถจุ ะมี 3 มติ คิ ือ ความกวา ง ความยาว และความสูง

6.3 ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของวัตถุ ไดแก ความสัมพันธระหวาง 3
มิติกับ 2 มิติ และความสัมพันธระหวางตําแหนงท่ีอยูของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหน่ึง ไดแก

68

ความสามารถในการหาความสัมพันธระหวางสเปสกบั สเปสได ชีบ้ งรูป 2 มติ แิ ละ 3 มิติได สามารถ
วาดภาพ 2 มิตจิ ากวัตถหุ รือจากภาพ 3 มิติได เปน ตน

แกรนดและมอรโรว (Grand, & Morrow, 1995, pp. 1 – 3) กลาวถึง การพัฒนา
สงเสริมและการฝกฝนเพ่ือใหเกิดความสามารถดานมิติสัมพันธ การรับรูเชิงมิติสัมพันธ
เปนความสามารถในการจินตนาการเกี่ยวกับลักษณะรูปรางของวัตถุ เม่ือเกิดการเคลื่อนที่การ
แทนที่ของวัตถุ ซึ่งความรูสึกเชิงมิติสัมพันธจะนําไปสูความสามารถเหลานั้นได ความสามารถ
ดา นการหามติ ิสัมพนั ธส ามารถสงเสริมไดด ังตอ ไปนี้

1. ความสัมพันธในการมองวัตถุกับการเคลื่อนไหว (eye-motor coordination) เปน
ความสามารถในการประมวลภาพดว ยสายตาจากความสมั พันธร ะยะทาง และตาํ แหนง ของวัตถุ

2. การรับรูภาพและพ้ืนหลังภาพ (figure-ground perception) เปนความสามารถ
ในการจาํ แนกใหเหน็ ถงึ ลักษณะเฉพาะท่ชี ดั เจนของภาพวัตถุ โดยไมค าํ นึงถึงลักษณะแวดลอ ม และ
ภาพกระตุนอยางอนื่

3. การรบั รูความคงรูปของวตั ถุ (perceptual constancy) เปน ความสามารถในการ
บอกลักษณะเดมิ ของวตั ถุ เม่อื มีการหมนุ การพลกิ วตั ถุ หรอื การเปลี่ยนขนาดของวัตถุนนั้

4. การรับรูตําแหนงของวัตถุท่ีสัมพันธกับพื้นท่ี (position-in-space perception)
เปนความสามารถในการบอกความสัมพันธของวัตถุโดยรอบกับตัวเอง และอธิบายตําแหนงที่รับรู
โดยสามารถเขยี นหรอื บอกเพอ่ื แสดงวา วัตถุอยูด า นซาย ขวา หนา หลัง บน ลาง ใกล และไกลได

5. การรับรูถึงความสัมพันธระหวางวัตถุ (perception of spatial relationship)
เปนความสามารถในการมองเห็นวัตถุสองส่ิงหรือมากกวาท่ีมีความเก่ียวพันกัน โดยตัววัตถุเองหรือ
วตั ถุอ่ืนในดา นการพลกิ แพลงตวั วัตถุ และความสมั พนั ธอ่นื ๆ

6. การจําภาพความเหมือน และความแตกตางกันของวัตถุ (visual discrimination)
เปน ความสามารถในการทาํ ใหเหน็ ถงึ ความแตกตาง และความเหมือนระหวางวัตถุ

7. การจดจําภาพเสมือนของวัตถุ (visual memory) เปนความสามารถในการใช
วิธีการแกปญหา จดจําและเรียกใชความสัมพันธระหวางระยะทางกับตําแหนงเวลา และสามารถ
คนหาวัตถุไดอ ยา งถูกตอ งรวดเรว็

ซ่ึงการสงเสริมความสามารถดานมิติสัมพันธ สอดคลองกับงานวิจัยของพลัมเมิรท
(Plumert, J.M, 1990, อางถึงใน เพ็ญทิพา อวมมณี, 2547, หนา 25) ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใชกลวิธี
จับกลุมตามประเภทและระยะทางของเด็กในการระลึกถึงวัตถุ โดยการทําการทดลอง 2 คร้ัง
เพ่ือศึกษาถึงการเปล่ียนแปลงทางพัฒนาการในการใชกลวิธีจับกลุมตามระยะทางและประเภทใน

69

การระลึกอยางอิสระถึงวัตถุ การทดลองครั้งท่ี 1 ผูเขารับการทดลองซึ่งเปนเด็กอายุ 8 ป 10 ป
และ 12 ป ซึ่งผลการศึกษาแสดงใหเห็นวามีเพียงเด็กอายุ 12 ป ท่ีถูกถามใหบอกวัตถุท่ีเห็น
ขณะที่เขาระลึกถึง สามารถจดั ระบบการระลกึ อยา งอิสระตามหองแสดงภาพได สาํ หรับการทดลอง
คร้ังท่ี 2 เปนการศึกษาวาประสบการณครั้งแรกของเด็กอายุ 10 ป และ 12 ปที่มีกับวัตถุตาง ๆ
และสถานทีต่ ัง้ ซ่ึงสง ผลตอ ทางเลอื กกลยทุ ธการระลกึ เปนอยางไร เด็กจะถูกซอนของเลนจํานวน 16
ชิ้น ซ่ึงประกอบดวย 4 ประเภท และอยูในหองที่ไมคุนเคย 4 หอง เด็กจะเห็นของเลนท่ีจับกลุม
ตามประเภทสถานที่ใชซ อนในแตล ะหอง หรอื ไมกไ็ มเ ห็นท้ังของเลน และสถานที่ซอน หลังจากซอน
ของเลนแลว ครั้งแรกจะใหเด็กระลึกอยางอิสระถึงของเลนแลวจึงใหระลึกอยางอิสระถึงของเลน
พรอมไปกับสถานท่ีเก็บ ผลการศึกษาพบวา เด็กอายุ 10 ป และ 12 ป สวนใหญจับกลุมของเลน
ตามประเภทเมื่อระลึกเพียงของเลนได แตเมื่อเด็กระลึกถึงของเลนและสถานที่เก็บไปพรอมกันแลว
เดก็ สว นใหญจ ะจับกลุม ของเลนตามหอง ซ่ึงระดบั ของการใชแตละกลวิธีในการทดลองท้ัง 2 ครั้งน้ี
ไดรบั อิทธิพลจากประสบการณครั้งแรกที่มีตอวัตถุและสถานท่ตี ง้ั

ความสามารถท่ีแสดงวาเดก็ เกิดทักษะการหาความสัมพนั ธระหวางสเปสและเวลา
1. สามารถบอกไดวาส่ิงใดคือ 2 มิติ และส่ิงใดคือ 3 มิติ เชน กลองขนมปง
ไมบ ล็อค กระดาษและท่ีคนั่ หนงั สือ เปน ตน
2. สามารถบอกตําแหนงหรอื ทิศทางของวตั ถุ เชน เด็กสามารถบอกไดวาเม่ือเด็กยืน
อยูท่นี ี่ เมอื่ ตองการจะเดินไปหองอาจารยใ หญจะตอ งเดนิ ไปทางใด เปนตน
3. สามารถบอกตําแหนงซา ยและขวาของภาพท่ีเกิดจากการวางวัตถุไวหนากระจก
เงา เชน ถาเด็กถอื ดอกไมท ่ีมือขวา แลวไปยืนหนากระจก เด็กสามารถบอกไดวาตนเองถือดอกไม
ท่มี อื ขา งใด เปนตน
4. สามารถบอกตําแหนงของวัตถุที่เห็นไดวา อยูในตําแหนงตาง ๆ เชน บน ลาง
หนา หลงั ใกล และไกล เปนตน
5. สามารถบอกรูปทรงของวัตถุ หรือบอกรูปทรงจากเงาของวัตถุไดวาเปนรูปใด
ไดแก เปน วตั ถุรปู ทรงกลม สามเหลยี่ มและส่ีเหล่ยี ม เชน เด็กสามารถบอกไดวาลูกบอลมีลักษณะ
เปนทรงกลม เปนตน
สรุปไดว า ทกั ษะการหาความสัมพันธระหวา งสเปสกบั เวลา หมายถึง ความสามารถ
ของบุคคลในการหาความสัมพันธของส่ิงของหรือวัตถุตาง ๆ ที่ตนเองมีสวนเกี่ยวของใน
ชีวิตประจําวัน เชน รูปทรงตาง ๆ ทิศทาง ระยะทาง พื้นท่ี ขนาด สถานท่ีตาง ๆ ท่ีส่ิงของหรือ
วัตถุนั้นมีสวนเก่ียวของในการใชพ้ืนที่ การแทนที่ หรือเนนความสามารถในการบอกทิศทางของ

70

สถานท่ีที่ตองการบอกขอมูลวาตั้งอยูบริเวณใด ทิศทางใด หรือระยะเวลาในการเดินทางไปในที่ใด ๆ
ซึ่งมเี รอื่ งของเวลามาเกีย่ วของ เปนตน

7. ทกั ษะการใชตวั เลข
ทักษะการใชตัวเลข หมายถึง ความสามารถในการนําตัวเลขท่ีแสดงจํานวนท่ีนับ

ไดมาคิดคํานวณโดยการ บวก ลบ คูณ หาร โดยตัวเลขที่แสดงคาปริมาณของส่ิงใดสิ่งหน่ึง
ซึ่งไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง ตัวเลขที่ไดจะตองแสดงคาในหนวยเดียวกัน เพื่อให
สามารถส่ือสารไดตรงตามตองการ สามารถนับจํานวน และใชตัวเลขแสดงจํานวนท่ีนับได
ตัดสนิ ไดวา จํานวนใดมีมาก มนี อ ย จํานวนใดเทา กนั หรือแตกตา งกนั

ความสามารถทแ่ี สดงวา เกดิ ทักษะการใชตวั เลข
1. สามารถนับส่ิงตาง ๆ และบอกจํานวนไดถูกตอง เชน นับลูกบอล นับดินสอ
นับจานและถวย เปน ตน
2. สามารถใชตัวเลขแสดงแทนส่ิงของที่นับไดถูกตองดวยตนเอง เชน นับจํานวนสม
ไดหาผล ใชต วั เลข 5 แสดงจํานวนของสม ทนี่ บั ได เปนตน
3. สามารถบอกไดวาสิ่งของในแตละกลุมมีจํานวนเทากัน นอยกวา มากกวา และ
แตกตางกนั ไดถูกตองดวยตนเอง
4. สามารถบอกไดวาสิ่งของในกลุมใดมีจํานวนเทากัน นอยกวา มากกวา และ
แตกตางกนั ไดอ ยา งถูกตองดวยตนเอง
อาจกลาวไดวาทักษะการใชตัวเลขเขามามีสวนเกี่ยวของในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ของเด็กอยูตลอดเวลา เด็กรูจักการนับจํานวน สามารถใชตัวเลขแสดงจํานวนสิ่งของที่นับไดดวย
ตนเองจากการทํากิจกรรมเพ่ือฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่มีความหมายตอ
ชวี ิตประจําวนั ชว ยใหเ ด็กมีทกั ษะการใชต ัวเลขไดอ ยางดี
สรุปไดวาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่เก่ียวของกับเด็กปฐมวัยไดแก ทักษะ
การสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการวัด ทักษะการส่ือความหมาย ทักษะการลง
ความเห็น ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลาและทักษะการใชตัวเลข เปนตน
ซ่ึงทักษะเหลานี้เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรูและสงเสริมใหเกิดขึ้นได แตละทักษะมีความเกี่ยวของกับ
ชีวิตประจําวันของเด็ก เด็กสามารถใชประสบการณของตนในการฝกฝนทักษะเหลาน้ันพรอม ๆ กัน
อยางตอเนื่องท้ังนี้ข้ึนอยูกับอายุ ประสบการณเดิม สภาพแวดลอม และวุฒิภาวะของเด็กแตละคน
โดยมีครูและผูเกี่ยวของเปนผูดูแลและจัดเตรียมกิจกรรมที่เหมาะสมตอบสนองความอยากรูอยากเห็น

71

เพื่อสงเสริมและเพ่ิมพูนทักษะกระบวนการข้ันพื้นฐานท้ัง 7 ทักษะอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง
เพือ่ เปน การปพู นื้ ฐานทด่ี ี ใหก บั เดก็ ปฐมวยั พรอ มท่ีจะเรยี นรูทักษะกระบวนการข้ันบูรณาการตอ ไป

บทบาทครกู บั การสงเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส ําหรบั เดก็ ปฐมวยั

การจัดกิจกรรมการสอนเพ่ือสงเสริมการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับ
เด็กปฐมวัยมีความจําเปนอยางยิ่งที่เด็กปฐมวัยควรไดรับการฝกฝนทักษะแตละทักษะอยาง
สม่ําเสมอและตอเน่ืองทุกวัน โดยใหเด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อฝกทักษะตาง ๆ ดวยตนเอง
โดยครูควรตระหนักถึงการจัดสภาพแวดลอมท่ีอยูใกลตัวเด็กสนับสนุนความอยากรูอยากเห็นให
โอกาสเด็กไดเรียนรูลองผิด ลองถูกตามความสามารถของเด็กแตละวัยอยางอิสระเพื่อตอบสนอง
ความตองการและความสามารถเฉพาะตัวของเด็กดวยการฝกทักษะตาง ๆ ผานทางการเลนตาม
เวลาที่เหมาะสมเพียงพอสําหรับเด็กแตละคนสําหรับสิ่งท่ีครูปฐมวัยควรคํานึงถึงในการจัดกิจกรรม
สง เสรมิ การฝก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสาํ หรบั เด็กปฐมวยั คือ

1. ครูไมควรคาดหวังการเปล่ียนแปลงดานตาง ๆ จากเด็กอยางรวดเร็วเพราะสิ่งที่ครูคิด
วา งา ย อาจเปน สง่ิ ทยี่ ากเกินไปสาํ หรับเด็ก

2. การเรียนรูข องเด็กไมจํากัดเฉพาะในหองเรียน เด็กสามารถเรียนรูไดทุกที่ทุกสถานการณ
ที่แวดลอมเด็ก เพียงแตครูควรเปนผูสังเกตและกระตุนความอยากรูอยากเห็นตามวัยของเด็ก เพ่ือ
เดก็ จะไดร บั ประโยชนจ ากการเรียนรใู นสถานการณนั้นไดอ ยางเต็มท่ี

3. การฝกทักษะดานตาง ๆ ครูควรคํานึงถึงความปลอดภัยใหมากท่ีสุด ดวยการจัด
กจิ กรรมทีร่ ะมัดระวงั และมีการเตรยี มความพรอ มเกีย่ วกบั อุปกรณต า ง ๆ

4. ครูควรจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมใหเด็กไดลงมือกระทําดวยตนเองและเลือกกิจกรรม
ตามความสนใจโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยจัดกิจกรรมใหมีความหลากหลายเพียงพอกับความ
ตอ งการของเดก็ แตล ะคน

5. ครูควรใชคําถามถามเด็กเพื่อกระตุนความคิดเด็กอยางตอเน่ือง โดยไมควรคาดหวัง
คําตอบวาจะตองถูกเสมอไปเพียงแตคอยสงเสริมใหเด็กไดกลาคิด กลาแสดงออก และไดใช
ความสามารถตามวัย

6. ครูควรจดั กิจกรรมทีก่ ระตุนใหเ ดก็ สนใจอยากรู อยากทดลองเพื่อใหไดคําตอบอยางมี
เหตุผล พสิ จู นไดดวยตนเอง กิจกรรมท่ีครูจัดควรเปนกิจกรรมท่ีเด็กมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นวา
ควรจะเปนกิจกรรมประเภทใด โดยครูใชคําถาม เชน เด็ก ๆ คิดวาเราควรจะจัดกิจกรรมการเรียนรู
เรอ่ื ง ผักหลากสีมีประโยชน ไดอ ยางไร เปน ตน

72

7. กิจกรรมบางกจิ กรรมครูอาจจัดซ้าํ ๆ ได ถาเดก็ พอใจและสนใจเด็กจะทาํ ซ้าํ แลวซาํ้ อีก
เพ่ือเรยี นรสู ่ิงตา ง ๆ รอบ ๆ ตวั จากการสงั เกต คนควา ทดลอง เลียนแบบ ดว ยวธิ กี ารของเด็กโดย
ผา นทางการเลนจะทําใหเ ด็กเกดิ ทกั ษะที่ชวยพัฒนาประสาทสมั ผัสรับรแู ละการเคล่อื นไหว

8. ครูควรจัดกิจกรรมสงเสริมการฝกทักษะดานตาง ๆ หลาย ๆ ดานพรอมกันไป เพ่ือให
เกิดความชํานาญ และพรอ มทจี่ ะเรยี นรูทักษะในข้ันสูงตอไป

นอกจากน้ีนิรมล ชา งวัฒนชัย (2541, หนา 53 – 54) ไดกลาวถึงบทบาทของครูปฐมวัย
ในฐานะครูวิทยาศาสตรไ วดังน้ี

1. ครูควรหาขอมูลเบ้ืองตนเก่ียวกับความรูของเด็ก เพราะเด็กแตละคนมีพ้ืนฐาน
ไมเทากนั เมื่อทราบขอมลู พ้นื ฐานแลวจะทําใหง า ยตอการจดั ประสบการณใ หก ับเดก็

2. ครูควรจัดเตรียมประสบการณทางวิทยาศาสตร โดยครูทําหนาท่ีในการคัดสรร
กจิ กรรมท่เี หมาะสมในการทาํ กจิ กรรมใหส อดคลอ งและเหมาะสมกับพฒั นาการตามวัย

3. ครูควรจัดสภาพแวดลอมในหองเรียนที่เอื้อตอการกระตุนความกระหายใครรูที่จะ
นาํ พาไปสูความคดิ เช่อื มโยง และมีการสรางกระบวนการคดิ ดวยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร

4. ครูควรแนะนําวัสดุ อุปกรณวิทยาศาสตร เพ่ือใหเด็กเกิดความสนใจ เชน การ
นําเสนอ การสาธิต และการชักชวนใหเด็กไดลงมือปฏิบัติซึ่งจะชวยเติมเต็มกระบวนการเรียนรูของ
เดก็ ได นอกจากนี้การถามคาํ ถามเดก็ ชวยกระตุนใหเดก็ อยากคน หาคําตอบดว ยตนเอง

5. ครูควรสงเสริมการสํารวจคนควาทางวิทยาศาสตร เพื่อนําไปสูการคนพบสิ่งใหม
ชว ยใหเดก็ รับรูส ภาพแวดลอ มตามสภาพจรงิ

6. ครคู วรสอดแทรกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใหเขากับเนื้อหาการเรียนรูอ่ืน ๆ
จะชวยใหเด็กไดเรียนรูแบบบูรณาการ สามารถเช่ือมโยงสิ่งเราเขาหากันอยางเปนระบบจนเกิด
ทักษะข้ันพ้ืนฐานสําหรบั การดํารงชวี ิต

7. ครูควรยอมรับฟงความคิดเห็นของเด็ก ฝกใหเด็กไดมีการบันทึกขอมูลเพื่อเตือน
ความจําและสามารถสรปุ ความคดิ รวบยอดดว ยกระบวนการทางประชาธิปไตย

8. ครูควรฝกใหเด็กคิดหาวิธีการแกปญหาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อคนหา
คาํ ตอบที่เด็กสงสัยดวยตนเอง ดวยการใชคําถามกระตุนการคิด

9. ครูควรใหเด็กมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น รวมอภิปรายซักถามขอสงสัยจาก
คาํ ตอบท่เี ด็กคน พบแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและความรูระหวา งเพือ่ น ๆ และครู

สรุปไดวา ครูมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใหกับ
เด็กปฐมวัยเพ่ือที่เด็กจะไดรับประโยชนจากการฝกทักษะตาง ๆ กับเพื่อน ๆ และครูที่โรงเรียน การฝก

73

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรน้ัน เด็กควรไดรับการสงเสริมและฝกทักษะอยางสม่ําเสมอ
และตอเน่ืองทุกวันดวยกิจกรรมที่เราความสนใจเนนผูเรียนเปนสําคัญ ตอบสนองความอยากรู
อยากเหน็ โดยผานทางการเลน จากการใชประสาทสัมผัสรับรูท้ังหา มาเปนเคร่ืองมือในการฝกจาก
กิจกรรมท่ีครูเตรียมไวเปนอยางดี โดยคํานึงถึงวัยและความยาก งาย ของกิจกรรมสลับกันไป
เนื่องจากเด็กท่ีทํากิจกรรมงาย ๆ จนเขาใจแลวจะไดเลือกทํากิจกรรมที่ยากข้ึน ซับซอนข้ึนเพื่อ
ทาทายความสามารถ สําหรับเด็กที่ยังไมสามารถเลือกทํากิจกรรมที่ซับซอนไดก็สามารถเลือก
กจิ กรรมทีต่ นเองมีความสามารถจะทาํ ไดก ็จะชวยใหเดก็ ประสบความสาํ เรจ็ และเหน็ คุณคา ในตนเอง
จากการทาํ กจิ กรรมนั้น ซึ่งเปน การตอบสนอง การยดึ ผเู รยี นเปน สาํ คัญไดเปน อยางดี

ตอไปน้เี ปนตัวอยางกจิ กรรมการสอนเพื่อฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่งบาง
กิจกรรมสามารถฝกทักษะเฉพาะไดหลายทักษะ เชน กิจกรรม “มาเลนสนุกกับนํ้ากันเถอะ”
ในกิจกรรมน้ีสามารถฝกทักษะการสังเกต ทักษะการลงความเห็น ทักษะการวัด ทักษะการหา
ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา และทักษะการใชตัวเลข เปนตน ดังตัวอยางกิจกรรมการสอน
เพือ่ ฝก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย ซ่ึงในกิจกรรมเพื่อใหไดทักษะเปนไป
ตามความตองการจึงควรกําหนดจุดประสงค ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม ประเมินผล และสื่อ
ประกอบกิจกรรมกอนการจัดกิจกรรม ดังตัวอยางกิจกรรมตอไปนี้ (ชุลีพร สงวนศรี, 2549 ก,
หนา 29 – 39)

74

ตวั อยา งกิจกรรมการสอนเพ่ือฝก ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส าํ หรบั เดก็ ปฐมวยั

ชือ่ กิจกรรม “มาเลนสนุกกับนํ้าเถอะ”
จดุ ประสงค 1. เพอื่ ฝกการสงั เกต

2. เพ่อื ฝกการลงความเหน็
3. เพอ่ื ฝก การหาความสมั พันธร ะหวางสเปสกบั เวลา
4. เพ่อื ฝก การวดั
5. เพื่อฝกการใชตัวเลข
ขั้นตอนดาํ เนนิ กิจกรรม
1. ครเู ลานทิ าน “เลนรมิ นํ้า” ใหเดก็ ฟง พรอมชวนคุยเกี่ยวกับเน้อื เร่อื งใน

นทิ านเลนริมน้ําใหเด็กผลดั กนั เลาประสบการณ การเลน ที่เกย่ี วของกับน้ํา
2. ครูแบงเดก็ ออกเปนกลุม ๆ และแจกขวดแชมพูหรือขวดยาสระผมท่ีไมใ ชแ ลว

ใหเ ดก็ แตละกลมุ ใหเด็กเปด นํ้าใสข วดใหเตม็ โดยครเู ปน ผูตง้ั คําถาม เชน
ลักษณะของขวดเปน อยา งไร ขวดทีย่ งั ไมไ ดใสน าํ้ กบั ขวดที่เติมนํา้ จนเตม็
แตกตางกนั อยา งไร
3. ครใู หเดก็ ยืนเขาแถวเรยี งแตล ะกลุม ใหเด็กที่อยูหัวแถวบบี ขวดทม่ี ีนํ้าใหไ ด
ระยะทางไกลที่สุด สลับกันทกุ คนปฏิบัตเิ ชน น้ีจนถงึ คนสุดทา ย ขณะทีน่ ้าํ ใน
ขวดหมดใหเด็กเตมิ นาํ้ ใหเ ตม็
4. ครูสนทนาถงึ ความรสู ึกทเี่ ดก็ ไดเรยี นรูจากการบีบขวดแชมพใู หน ้าํ พงุ ใหไกล
ทสี่ ุด
5. ครูถามคาํ ถามนอกเหนอื จากการใชข วดแชมพูหรอื ขวดยาสระผม แลว
สามารถใชอปุ กรณอะไรมาแทนไดอีก
6. ครูตัง้ คําถามถามเดก็ อกี ครั้งวา วันน้ีเด็กไดเรียนรูอ ะไรไปบาง โดยครเู ปน
ผูเสนอแนะความรูเพมิ่ เติม
7. ครแู จกกระดาษใหเ ดก็ คนละแผน เพ่ือใหเ ดก็ วาดภาพตามใจชอบหลังจาก
เสร็จกจิ กรรม
ประเมินผล
ครูสังเกตและบนั ทึกวา
1. เด็กสามารถเลา ประสบการณก ารเลนเกย่ี วกบั นํา้ ไดห รือไม
2. เด็กสามารถปฏิบัติตามคาํ สงั่ ครไู ดห รือไม

75

3. เด็กรว มทาํ กิจกรรมโดยการตอบคาํ ถามและสนใจซกั ถามหรือไม ลกั ษณะ
คําถามของเดก็ บง บอกถงึ การคดิ และการจนิ ตนาการของเด็กหรือไม

สอ่ื ประกอบกิจกรรม
1. นิทานเลนริมนาํ้
2. ขวดแชมพหู รือขวดยาสระผม
3. น้ําสะอาด

ช่ือกจิ กรรม “ไขมหาสนกุ ”
จดุ ประสงค 1. เพ่ือฝก การสงั เกต

2. เพ่อื ฝก การจาํ แนกประเภท
3. เพอ่ื ฝก การลงความเหน็
4. เพอื่ ฝกการสอ่ื ความหมาย
5. เพื่อฝกการใชตัวเลข
ขน้ั ตอนดําเนนิ กจิ กรรม
1. ครูพูดคําคลอ งจอง “ฉนั เกดิ จากไข” ใหเ ดก็ พูดตามครทู ลี ะวรรค และพดู

พรอม ๆ กัน
2. ครสู นทนาเกี่ยวกบั ไขชนิดตาง ๆ ประโยชนและคุณคาของไข
3. ครนู าํ ขวดโหลแกว ใสน า้ํ เทา ๆ กนั ท้ังใบท่ี 1 และใบท่ี 2 ครูนาํ ไขเ ปด ทีย่ งั ไมได

ตมมาใหเ ดก็ ไดสังเกตดวยการดู ดมกล่นิ สัมผสั และลองเขยาเพือ่ ฟง เสยี ง
จากนั้นนาํ ไขเปด ใสลงไปในขวดโหลแกวทม่ี ีน้ําเปลา ใบท่ี 1 และใบที่ 2
เดก็ สังเกตวา เกิดอะไรข้นึ
4. ครูนําไขท ้ัง 2 ฟองขึน้ จากน้าํ โดยครเู ติมเกลอื ปนใสล งไปในขวดโหลใบที่ 1
2 – 3 ชอ นโตะ คนใหเกลือละลาย
5. ครนู ําไขใสลงไปในขวดโหลใบที่ 1 และใบที่ 2 อีกครั้ง เดก็ สังเกตการ
เปลย่ี นแปลง
6. ครแู ละเด็กสรุปผลการทดลองรวมกันจากกจิ กรรมที่จดั ข้ึนโดยขวดโหลใบที่ 1
ทีเ่ ติมเกลือลงไปเมื่อใสไขลงไปทาํ ใหไ ขลอยได เนอ่ื งจากนาํ้ ที่เตมิ เกลอื มีความ
หนาแนนมากกวาไข จงึ ทาํ ใหไ ขลอยได
7. ครูนาํ ขนมท่ีทาํ จากไขมาใหเ ดก็ ไดช มิ รส เชน ขนมทองหยอด ขนมฝอยทอง
ขนมไข และขนมหมอ แกง เปนตน

76

8. ครตู งั้ คาํ ถามถามเดก็ อกี คร้งั วาวันนเี้ ด็กไดเรยี นรอู ะไรไปบา ง โดยครเู ปน
ผูเสนอแนะความรเู พิม่ เตมิ

ประเมินผล
ครสู ังเกตและบนั ทกึ วา
1. เดก็ สามารถบอกประโยชนแ ละคุณคา จากไขไ ดห รอื ไม
2. เดก็ สามารถบอกสิง่ ทีเ่ ด็กสงั เกตเห็นตามข้ันตอนไดหรือไม
3. เดก็ รวมทาํ กจิ กรรมโดยการตอบคาํ ถามและสนใจซักถามหรอื ไม
4. เดก็ สามารถบอกสี กล่นิ รสชาติ และลกั ษณะตา ง ๆ ของขนมที่
รบั ประทานไดหรือไม

ส่อื ประกอบกิจกรรม
1. ไขเปด
2. เกลอื และนํา้ เปลา
3. ขวดโหล
4. ขนมหวานชนิดตาง ๆ

ช่ือกิจกรรม “แมไ กอ ยทู ่ไี หน”
จุดประสงค 1. เพ่ือฝก การสงั เกต

2. เพื่อฝก การลงความเหน็
3. เพ่อื ฝก การสอื่ ความหมาย
4. เพ่ือฝก การจาํ แนกประเภท
5. เพ่อื ฝกการหาความสมั พันธร ะหวางสเปสกบั เวลา
ขน้ั ตอนดาํ เนนิ กิจกรรม
1. ครูและเดก็ รว มกนั รอ ง “เพลงแมไก” พรอมทัง้ ทํากิจกรรมเคลอื่ นไหวใหเ ดก็

จินตนาการวาตนเองเปนแมไ ก โดยการยอ ตัวลงพรอมกบั ขยบั แขนเปนจังหวะ
ไปรอบ ๆ หอง
2. ครูสนทนากบั เดก็ ถึงเนือ้ รอ งของเพลง และเขียนคาํ วา แมไ กใหเด็กสงั เกต
คาํ วา “แมไก”
3. ครูแนะนํากิจกรรม “แมไกอ ยูไ หน” โดยใหเ ด็กน่งั ลอ มวงเปน วงกลม ครนู าํ
ตกุ ตาแมไ กมาใหเดก็ สงั เกตดแู ลวนําไปซอ นตามมมุ ใดมมุ หน่งึ ภายใน
หอ งเรยี น

77

4. ครอู ธิบายวธิ ีการเลนโดยใหส มาชกิ ในกลุม ไปหาแมไกและเด็กทนี่ ่ังเปน วงกลม
ทกุ คนปรบมอื พรอ มกันแลว พดู วา “แมไ กอยูท่ไี หน” “แมไกอ ยทู ไ่ี หน” เปน
จงั หวะ เม่ือเพือ่ นเขาใกลแ มไ กที่ซอนอยูใหป รบมอื และพดู เปนจงั หวะใหเ รว็ ข้ึน

5. จากนน้ั ใหเ ดก็ สลบั สับเปลี่ยนกนั ไปหาแมไกพรอมทงั้ เปลยี่ นที่ซอ นของแมไ ก
ทกุ คร้งั

6. ครูถามคําถามนอกเหนือจากแมไกสามารถใชอปุ กรณใ ดมาแทนไดอีก
7. ครตู ้ังคําถามถามเดก็ อกี ครั้งวา วนั น้เี ดก็ ไดเรียนรูอ ะไรไปบาง โดยครเู ปน

ผูเสนอแนะความรูเ พม่ิ เติม
8. ครูแจกกระดาษใหเด็กคนละแผน เพือ่ ใหเดก็ วาดภาพตามใจชอบหลงั จาก

เสร็จกิจกรรม
ประเมนิ ผล

ครูสงั เกตและบนั ทึกวา
1. เด็กสามารถปฏบิ ตั ติ ามคาํ ส่งั ครไู ดหรอื ไม
2. เดก็ สนุกสนานเพลดิ เพลินและรวมทาํ กจิ กรรมดว ยความเตม็ ใจหรอื ไม
3. สงั เกตการวาดภาพตามใจชอบวามีจนิ ตนาการมากขึ้นหรือไม
สอื่ ประกอบกจิ กรรม
1. เพลงแมไ ก
2. ตกุ ตาแมไ ก

ชือ่ กิจกรรม “ใบไมแ สนกล”
จุดประสงค 1. เพือ่ ฝกการสังเกต

2. เพื่อฝก การลงความเหน็
3. เพื่อฝกการจําแนกประเภท
4. เพอื่ ฝกการวดั
ขน้ั ตอนดาํ เนินกจิ กรรม
1. ครูชวนเดก็ ไปสังเกตตน ไมบรเิ วณรอบ ๆ โรงเรยี น สงั เกตใบไมท่อี ยูบนตนไม

และใบไมท ร่ี ว งหลนลงมา
2. ครูและเดก็ เกบ็ ใบไมท รี่ วงหลนลงมาจากตนไมหลากหลายชนิดเพ่ือนํามา

จาํ แนกประเภท ใบไมแตล ะประเภท และสงั เกตลกั ษณะตา ง ๆ ของใบไม
จากการใชประสาทสัมผสั ทั้งหา

78

3. ครูและเดก็ สนทนาผลจากการสังเกตสิ่งทไ่ี ดเรยี นรจู ากการใชป ระสาทสมั ผสั
เรียนรเู กี่ยวกบั ใบไม

4. ครูถามคาํ ถามเด็กวา หลงั จากนี้เราควรจะทาํ อยา งไรกับใบไมเ หลา น้ี
ครูใหเ ดก็ ปฏิบัตติ ามความตองการของเดก็ เปน รายบุคคล

5. ครูใหเดก็ นําเสนอผลงานจากความคิดของเดก็ แตล ะคนหนาชน้ั เรยี น
และรว มกนั สรุปความคิดจากผลงานที่นาํ เสนอ

6. ครูตง้ั คําถามถามเดก็ อกี คร้งั วา วนั น้เี ดก็ ไดเรียนรูอ ะไรไปบาง โดยครูเปน
ผเู สนอแนะความรูเ พ่มิ เติม

ประเมินผล
ครูสงั เกตและบนั ทึกวา
1. เด็กสามารถรวมกิจกรรมการสาํ รวจตน ไมบริเวณรอบ ๆ โรงเรียนดวยความ
สนใจหรือไม
2. เดก็ สามารถจินตนาการความคดิ จากใบไมทเี่ ก็บมาไดห รอื ไม
3. เดก็ สามารถนาํ เสนอความคิดจากการทาํ กิจกรรมเกย่ี วกับใบไมด ว ยตนเอง
ไดห รอื ไม
4. เด็กมสี ว นรวมในการทํากิจกรรมอยา งตอเน่อื งจนจบกจิ กรรมไดห รือไม

สื่อประกอบกิจกรรม
1. ใบไมชนดิ ตา ง ๆ
2. บริเวณรอบโรงเรยี น

ชื่อกิจกรรม “สนุกกบั ถงุ ถัว่ ”
จุดประสงค 1. เพอื่ ฝก การสงั เกต

2. เพอื่ ฝกการลงความเหน็
3. เพอ่ื ฝกการสื่อความหมาย
4. เพื่อฝกการจาํ แนกเปรียบเทียบ
5. เพอื่ ฝก การหาความสัมพนั ธระหวางสเปสกับเวลา
ข้นั ตอนดาํ เนินกิจกรรม
1. ครูสนทนากับเด็กถงึ ข้ันตอนการทาํ กจิ กรรมในวันน้ีโดยครแู นะนาํ อุปกรณ เชน

ถงุ ถ่ัวเขียวทมี่ นี า้ํ หนักตาง ๆ กนั เชน 100 กรมั , 200 กรัม และ 300 กรัม
เปนตน

79

2. ครูใหเดก็ นําถุงถ่ัววางบนไมก ระดานขนาดกวา ง 15 เซนตเิ มตร ยาว 1 เมตร
โดยมหี มอนรองสวนกลางดานลางของไม ใหไ มกระดานมลี ักษณะลาดเอียง

3. ครูนําถุงถว่ั ขนาดตา ง ๆ วางบรเิ วณปลายไมกระดาน แลว ใหเ ด็กใชเ ทาเหยยี บ
ปลายไมก ระดานอีกดานใหถุงถวั่ ลอยขึน้ และตกลงในกระปอ งดานหนา

4. ครใู หเ ด็กทุกคนในหองทาํ กิจกรรมกลุมเรอื่ งสนุกกบั ถุงถวั่ โดยใหเ ด็กทกุ คน
มีสวนรว ม

5. ครูถามคาํ ถามเด็กและรวมสรุปผลจากการทาํ กจิ กรรมวา เปนอยา งไรบา ง มีวธิ ี
อืน่ อกี ไหม

6. ครูใหเ ดก็ ทดลองทํากิจกรรมซา้ํ อกี ครัง้ โดยเปลย่ี นถงุ ถั่วที่มนี ้ําหนักแตกตางกนั
ประเมินผล

ครูสังเกตและบนั ทึกวา
1. เด็กสามารถทาํ กจิ กรรมตามทคี่ รแู นะนาํ ไดห รอื ไม
2. เด็กสามารถตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นหลงั จากทาํ กิจกรรม “สนกุ กบั

ถุงถว่ั “ ไดห รอื ไม
3. เด็กมีสวนรว มในการทํากิจกรรมดว ยความสนใจ และมีทกั ษะตาง ๆ เพม่ิ ข้ึน

ตามจดุ ประสงคหรอื ไม
สอ่ื ประกอบกิจกรรม

1. ถงุ ถั่วขนาดตาง ๆ
2. ไมก ระดาน
3. กระปองพลาสติก

ชื่อกจิ กรรม “เยลลีแสนอรอ ย”
จุดประสงค 1. เพ่ือฝกการสงั เกต

2. เพ่อื ฝกการลงความเหน็
3. เพ่ือฝก การหาความสมั พนั ธระหวา งสเปสกับเวลา
4. เพ่อื ฝก การใชตวั เลข
ข้ันตอนดาํ เนินกจิ กรรม
1. ครสู นทนากับเด็กถงึ กจิ กรรมปฏิบตั ิการทดลองทาํ เยลลี โดยครแู นะนําอุปกรณ

เชน ผงเยลลี ภาชนะตม นา้ํ พมิ พใ สเยลลี และลูกเกด เปนตน
2. ครูอธิบายขัน้ ตอนการทาํ เยลลดี งั ตอ ไปนี้

80

2.1 นําภาชนะใสน้าํ ตง้ั ไฟพอรอ น
2.2 นาํ ผงเยลลีใสล งไปในภาชนะพรอมทง้ั ใชท พั พีคนใหละลายจนหมด ครูให

เด็กสังเกตขัน้ ตอนการทาํ เยลลีต้ังแตเร่ิมตนจนครบขั้นตอนพรอ ม ๆ กนั
2.3 เม่ือน้ําผสมเยลลีเดือดใหย กลงจากเตาทง้ิ ไวใ หค ลายรอ นจงึ ตักใสพ มิ พท ่ี

ครูเตรียมไว โดยอาจนาํ ลูกเกดใสล งไปเพอ่ื ใหดนู า รบั ประทาน
2.4 นาํ เยลลที ต่ี ักใสพมิ พว างบนถาดน้ําแขง็ เพื่อใหเ ยลลแี ข็งตัวเรว็ ขึน้
3. ครแู ละเดก็ รว มกนั สรุปผลการปฏบิ ตั ิการทดลองการทาํ เยลลีตามขน้ั ตอน
4. ครแู ละเดก็ สงั เกตเยลลที เ่ี ยน็ และแขง็ ตวั ดีแลว ดว ยการชิมรส ดมกลนิ่ ดสู ี
สัมผสั และสงั เกตการเปลยี่ นแปลง ตัง้ แตเ ปนผงเยลลจี นกระทง่ั ไดปฏิบัติ
ตามข้ันตอนจนสามารถรับประทานได
5. ครูตง้ั คาํ ถามถามเดก็ วาวนั น้เี ด็กไดเ รยี นรอู ะไรไปบา ง โดยครูเปน ผูเสนอแนะ
ความรูเพ่มิ เตมิ
ประเมินผล
ครสู ังเกตและบันทกึ วา
1. เดก็ สามารถอธิบายขั้นตอนการทาํ เยลลีแสนอรอยไดหรอื ไม
2. เดก็ สามารถใชป ระสาทสมั ผสั ทั้งหาในการเรียนรลู กั ษณะตาง ๆ ของเยลลี
ไดหรอื ไม
3. เดก็ มสี วนรวมในการทาํ กจิ กรรมเยลลแี สนอรอยดวยความสนใจและเกดิ การ
เรียนรูมากข้นึ หรือไม
สอื่ ประกอบกจิ กรรม
1. ผงเยลลี
2. ภาชนะและน้าํ สะอาด
3. เตาแกส
4. ลกู เกด

ชอื่ กิจกรรม “ทองฟาแสนงาม”
จดุ ประสงค 1. เพ่ือฝก การสังเกต
2. เพอ่ื ฝก การลงความเหน็
3. เพอื่ ฝก การสื่อความหมาย
4. เพือ่ ฝกการหาความสัมพนั ธระหวา งสเปสกบั เวลา

81

ขัน้ ตอนดําเนนิ กจิ กรรม
1. ครูและเดก็ รวมสนทนาเกย่ี วกบั กจิ กรรมบริเวณสนามหญา ของโรงเรียน
โดยครแู นะนาํ ใหเด็กสงั เกตทอ งฟา และการเปลีย่ นแปลงของทอ งฟา
2. ครสู ง เสรมิ การคดิ ของเดก็ โดยใชค าํ ถามตา ง ๆ ดงั นี้
2.1 เด็กมองดูทที่ องฟาแลวรูสกึ อยางไร
2.2 วันนีท้ องฟา เปน อยางไร
2.3 เด็กคดิ วาอากาศวนั นี้เปนอยางไรบาง
2.4 เด็กคดิ วาทอ งฟาในคนื น้ี จะมีลักษณะอยา งไร เพราะอะไรจึงคิดเชน นั้น
3. ครถู ามคาํ ถามเดก็ อกี ครั้งวา วนั นเ้ี ราไดเรียนรูอะไรไปบา งโดยครเู ปน
ผเู สนอแนะความรเู พิ่มเติม
4. ครูแจกกระดาษใหเ ด็กคนละแผนใหเด็กวาดภาพตามใจชอบและเลา เรอ่ื งราว
จากภาพทเี่ ด็กวาดใหเ พ่อื น ๆ ฟง

ประเมนิ ผล
ครูสงั เกตและบันทึกวา
1. เด็กสามารถสังเกตและบอกสิ่งทไี่ ดสงั เกตจากทองฟาไดห รือไม
2. เด็กสามารถถายทอดความคดิ ดว ยการวาดภาพตามใจชอบไดหรอื ไม
3. เด็กสามารถถา ยทอดความคิดผา นการพูดใหค รแู ละเพ่ือน ๆ เขา ใจไดหรอื ไม

ส่อื ประกอบกิจกรรม
1. ทอ งฟา
2. อปุ กรณว าดภาพ (กระดาษ ดนิ สอ และสชี นิดตา ง ๆ)

ชื่อกจิ กรรม “ดอกไมแ สนสวย”
จุดประสงค 1. เพ่อื ฝกการสงั เกต

2. เพ่ือฝกการลงความเห็น
3. เพอื่ ฝกการจําแนกประเภท
ข้นั ตอนดาํ เนินกิจกรรม
1. ครแู ละเดก็ รอ ง “เพลงดอกไม” รวมกนั หลังจากนนั้ ครูและเด็กสนทนาถงึ

ดอกไมจากเนอ้ื เพลงวา มีดอกไมอะไรบา งมีลักษณะเปน อยา งไร เชน สี กล่นิ
ขนาดและลักษณะรูปรางของดอกไม เปน ตน

82

2. ครใู หเ ด็กนาํ ดอกไมที่เตรียมมาจากบานมาใหเ พ่อื น ๆ ไดสังเกตรวมกนั
3. ครูและเดก็ รว มกันสนทนาถงึ ลักษณะตาง ๆ ของดอกไม และใหเ ดก็ จําแนก

ประเภทของดอกไมจากความคดิ ของเด็ก
4. ครูและเด็กรว มกนั สรปุ ลกั ษณะตาง ๆ ของดอกไมแ ละรองเพลงดอกไมร ว มกนั
5. ครูต้งั คาํ ถามถามเด็กอีกคร้งั วาวันนีเ้ ดก็ ไดเ รียนรูอะไรไปบาง โดยครูเสนอแนะ

ความรูเพิม่ เตมิ
6. ครแู จกกระดาษใหเ ด็กคนละแผนเพอื่ ใหเ ดก็ วาดภาพดอกไมท ่ีตนเองชอบตาม

จนิ ตนาการ
ประเมนิ ผล

ครสู ังเกตและบันทกึ วา
1. เด็กสามารถรอ งเพลงดอกไมไ ดหรือไม
2. เด็กสามารถสังเกตลกั ษณะตาง ๆ ของดอกไมแลว ถา ยทอดความคิดใหค รูและ

เพื่อนเขา ใจไดห รือไม
3. เดก็ รวมทํากิจกรรมโดยตอบคําถามและสนใจซักถามในลกั ษณะทบ่ี งบอกถึง

ความคดิ สรา งสรรคห รอื ไม
สื่อประกอบกจิ กรรม

1. ดอกไมช นิดตา ง ๆ
2. เพลงดอกไม

ชื่อกิจกรรม “ฝนจะ ฝนจา ”
จดุ ประสงค 1. เพือ่ ฝกการสังเกต

2. เพือ่ ฝกการลงความเหน็
3. เพ่อื ฝก การส่ือความหมาย
4. เพือ่ ฝก การหาความสัมพนั ธร ะหวา งสเปสกับเวลา
ข้นั ตอนดําเนนิ กจิ กรรม
1. ครพู าเดก็ ไปสังเกตการเปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศและกอนเมฆกอ นจะมี

ฝนตกนอกหอ งเรียน ตลอดจนสงั เกตตน ไมแ ละดอกไมจากสภาพแวดลอม
2. ครูสนทนากับเดก็ วา “เมอ่ื สภาพอากาศเปน เชน นี้ เดก็ ๆ คดิ วา จะเกิดอะไรขึน้ ”
3. ครูและเดก็ ลงความเหน็ รวมกันวา “เมื่อสภาพอากาศเปนเชน นี้ แสดงวา

นา จะมีฝน”

83

4. ครสู นทนาถึงประสบการณเดมิ กอ นฝนตก ทองฟามืดครม้ึ และเมฆจะสีดํา
5. ครูและเดก็ สนทนาถึงประโยชนของการเกดิ ฝนซึ่งเปน ปรากฏการณ

ทางธรรมชาติ ชว ยใหอากาศเย็นสบาย คลายรอ น พน้ื ดนิ มีความชุมชื้น
สามารถกักเก็บนํ้าไวใชป ระโยชน
6. ครูและเด็กรว มกันสรุปตนไมและดอกไมจ ะไดร บั น้ําจากฝนที่ตกลงมาจากกอน
เมฆสดี าํ ดา นบน
7. ครูตั้งคาํ ถามถามเดก็ อกี คร้งั วา วันนเ้ี ด็กไดเรยี นรูอ ะไรไปบา ง ครูเสนอแนะ
ความรูเ พ่ิมเติมใหเด็กและพาเดก็ ไปชมสวนหยอ มของโรงเรียน
ประเมินผล
ครูสังเกตและบันทึกวา
1. เด็กสามารถเชอื่ มโยงความคิดของตนกบั ประสบการณเดิมไดอ ยางไร
2. เด็กแสดงความคดิ เก่ียวกบั ปรากฏการณทีส่ งั เกตไดห รือไม
3. เดก็ มีสว นรวมในการทํากจิ กรรมดวยความต้ังใจและเต็มใจหรือไม
สอื่ ประกอบกจิ กรรม
1. สภาพแวดลอ มนอกหองเรียน
2. สวนหยอ ม

จากตัวอยางกิจกรรมการสอนเพื่อฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
จะเห็นไดวาการจัดกิจกรรมดังกลาวสามารถชวยใหเด็กปฐมวัยไดรับประสบการณและเรียนรู
ไดหลาย ๆ ทักษะในกิจกรรมเดียวกัน ซึ่งนับวามีความสําคัญ และความจําเปนอยางย่ิง เพ่ือชวย
พัฒนาทักษะท่ีจําเปน สําหรับเด็กปฐมวัยไดเปนอยางดี นอกจากน้ี ยังชวยพัฒนาทักษะการคิด
การแกปญหาขณะทํากิจกรรมไปพรอม ๆ กัน ชวยใหเด็กไดฝกการทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยความ
เพลิดเพลิน สนุกสนาน ตามความสนใจ มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับเร่ืองราวตาง ๆ และมี
เจตคติท่ีดีตอ การทํากิจกรรมเพ่อื ฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัยเปน อยางดี

สรุป

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย ลวนเปนทักษะท่ีมีความหมาย
และความสําคัญสําหรับเด็กเปนอยางมาก ครูและผูเก่ียวของสามารถจัดกิจกรรมที่ฝกทักษะที่
จําเปน และเก่ียวของในการดําเนินชีวิตประจําวันใหกับเด็ก เด็กจะเรียนรูจากการสังเกตและ
ฝกปฏิบัติจริงจากการใชชีวิตประจําวันวาตองทําอะไรบาง และเมื่อมาถึงโรงเรียนแลวเด็กจะตอง

84

ปฏบิ ตั ติ นเชนไร เด็กสามารถใชท ักษะตา ง ๆ ไดแ ก การสงั เกต การจาํ แนกประเภท การวดั การลง
ความเห็น การสื่อความหมาย การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลาและการใชตัวเลข
มาสัมพันธกับการใชชีวิตประจําวันไดตลอดเวลา โดยผานการใชประสาทสัมผัสท้ังหาเพ่ือสํารวจ
คนควา ทดลอง ลงความเห็น คนหาคําตอบ จากปญหาที่พบในการดําเนินชีวิตประจําวัน
เปนการฝกกระบวนการคิดและการใชคําถาม เมื่อตองการคําตอบท่ีสามารถพิสูจนใหเปนจริงได
ดวยตนเอง เหลานี้ลวนเปนการนําทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเขามาเกี่ยวของเพียงแต
ผูใหญเห็นความสําคัญของกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเด็กทําอยางมีความหมาย ก็จะเปนการปูพ้ืนฐานที่ดี
ในการสรางอนาคตของชาติใหมีความรู ความสามารถในการรูจักใชทักษะที่จําเปนเหลาน้ีไดอยาง
เตม็ ศกั ยภาพของเดก็ ตอ ไป

แบบฝก หดั ทายบท

1. จงอธบิ ายความสาํ คญั ของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส าํ หรับเด็กปฐมวยั
2. จงอธบิ ายความหมายของทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรส ําหรบั เด็กปฐมวัย
3. จงกลาวถึงทกั ษะทเี่ ก่ียวขอ งกบั วทิ ยาศาสตรสาํ หรับเดก็ ปฐมวัย
4. จงอธบิ ายบทบาทครกู บั การสง เสริมทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรสาํ หรบั เด็ก
ปฐมวยั
5. หลกั การสาํ คญั ทีจ่ ะนําไปสูก ารเพมิ่ ทกั ษะการสงั เกตมอี ะไรบาง
6. การปลูกฝงทักษะการสงั เกตใหเกิดกับเด็กปฐมวัยมีอะไรบา ง
7. เกณฑทใี่ ชในการจําแนกประเภทประกอบไปดว ยอะไรบาง
8. คณุ สมบตั ิของการสือ่ ความหมายทด่ี ีเปนอยา งไร
9. จงยกตวั อยางความสามารถในการทํากจิ กรรมเพือ่ ฝกทกั ษะการหาความสัมพันธ
ระหวา งสเปสกับเวลา
10. จงยกตัวอยางการจัดกิจกรรมสง เสริมการฝก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
สาํ หรบั เด็กปฐมวัย 3 กจิ กรรม

85

เอกสารอา งอิง

ชุลีพร สงวนศรี. (2549 ก). กจิ กรรมการสอนเพ่อื ฝก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
สาํ หรับเด็กปฐมวยั . ลพบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี.

นิรมล ชา งวัฒนชยั . (2541). เทคนิคการสอนศิลปะ ภาษา และวทิ ยาศาสตร. กรงุ เทพฯ:
ศริ ิวัฒนาอนิ เตอรพรนิ้ ท.

บัญญตั ิ ชํานาญกิจ. (2542). กระบวนการแสวงหาความรทู างวิทยาศาสตร. นครสวรรค:
สถาบันราชภฏั นครสวรรค.

ประภาพรรณ สวุ รรณศขุ . (2538). การจัดประสบการณทางวทิ ยาศาสตรสาํ หรบั เด็กปฐมวัย
ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาการสรา งเสรมิ ประสบการณชีวติ ระดับปฐมวัย หนว ยท่ี 8
(พมิ พค รงั้ ที่ 4). (หนา 358 - 364). นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

เพ็ญทิพา อว มมณ.ี (2547). ความสามารถดา นมิติสมั พนั ธของเด็กปฐมวยั ทีใ่ ชล วดกาํ มะหยส่ี ี
ในการทํากิจกรรมศลิ ปสรา งสรรค. วิทยานพิ นธปรญิ ญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

พรใจ สารยศ. (2544). กระบวนการสงเสรมิ การแกปญ หาของเดก็ ปฐมวัยโดยใชก จิ กรรม
วิทยาศาสตรตามแนวคดิ คอนสตรัคติวิสต. วทิ ยานิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑติ
มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.

พวงทอง มีม่งั ค่งั . (2537). การสอนวทิ ยาศาสตรระดับประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: วิทยาลยั ครู
พระนคร.

พัชรี ผลโยธิน. (2542). เรียนรวู ิทยาศาสตรอยางไรในอนบุ าล. เพ่อื นอนบุ าล, 4(2), 24 – 31.
ภพ เลาหไพบูลย. (2542). แนวการสอนวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ .
ลัดดา ภเู กยี รต.ิ (2544). โครงงานเพ่อื การเรียนรูห ลกั การและแนวทางการจัดกิจกรรม.

กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั
วรรณทิพา รอดแรงคา . (2544). การสอนวิทยาศาสตรท ี่เนน ทักษะกระบวนการ (พมิ พครงั้ ท่ี 2)

กรุงเทพฯ: สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ.
________. และพิมพนั ธ เดชะคุปต. (2542). การพัฒนาการคิดของครดู ว ยกจิ กรรม

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร (พมิ พค รง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอรก รปุ
แมเนจเมนท.

86

วิชชดุ า งามอกั ษร. (2541). การศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ทกั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรขนั้ บูรณาการ และความสามารถในการคิดอยา งมี
เหตผุ ลของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปท่ี 3 โดยการสอนแบบเอส เอส ซี เอส กับ
การสอนตามคูมือคร.ู วทิ ยานิพนธป ริญญามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ
ประสานมติ ร.

สชุ าติ โพธิวิทย. (ม.ป.ป.). วธิ สี อนวทิ ยาศาสตร. กรุงเทพฯ: วิทยาลยั ครูบา นสมเด็จเจาพระยา.
สรุ ยี  สุธาสิโนบล. (2541). การศึกษาผลการจัดกิจกรรมคายเทคโนโลยีดานพลังงานจาก

ดวงอาทิตยสําหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ทีม่ ีตอทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร. วิทยานิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ
ประสานมิตร.
อรัญญา เจียมออ น. (2538). ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข องเดก็ กอ นประถมศึกษา
ท่ีไดรับการจดั มุมวทิ ยาศาสตร แบบปฏบิ ตั ิการทดลอง. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญา
มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
Grande, J.D. & Morrow, L. (1995). Curriculum and evaluation standards for school
mathematics addenda series grades k – 6. (3rd ed.). USA : Library of Congress
Cataloging.
Neuman, D.B. (1981). Exploring early children, reading in theory and practice.
New York: Mcmillan.


Click to View FlipBook Version