The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Shortnote_ประวัติศาสตร์ไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PHADUNGSAK CHANNEL, 2019-11-26 06:50:13

Shortnote_ประวัติศาสตร์ไทย

Shortnote_ประวัติศาสตร์ไทย

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
บิดาแห่งประวัติศาสตรไ์ ทย คือ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ
วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 1. กําหนดประเด็นศึกษา 2. รวบรวมข้อมูลหลักฐาน 3.ตีความหลกั ฐาน
4. สรุปขอ้ เทจ็ จรงิ 5. เสนอ
• จารกึ เป็นหลักฐานประเภทลายลกั ษณ์อกั ษรท่เี ก่าแกท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย พบในทต่ี ัง้ อาณาจกั ร
โบราณ
• พงศาวดาร เป็นเรอื่ งราวของกษัตรยิ ์ เหตกุ ารณ์บา้ นเมอื ง เรม่ิ สมัยอยธุ ยาจนรชั กาลท่ี 5
• พงศาวดารทเ่ี ก่าแก่ทส่ี ดุ คือ พระราชพงศาวดารกรุงเกา่ ฉบับหลวงประเสรฐิ
• จดหมายเหตุ บันทกึ เหตุการณ์สําคัญ เชน่ ลาลแู บร์ ราชทตู ฝรงั่ เศส บันทกึ ชว่ งสมยั สมเด็จพระ

นารายณ์
• การนั บศักราช

ศักราช เริ่มนับตั้งแต่ เทียบ ความรู้เพิ่มเติม
พ.ศ.
พทุ ธศักราช พระพุทธเจ้าปริ เริ่มใช้ครั้งแรกในสมัย
(พ.ศ.) นิ พาน - รัชกาลที่ 6
+543 เป็นศักราชสากลที่ใช้
ครสิ ตศ์ ักราช พระเยซูประสตู ิ +1164 กันอย่างแพร่หลาย
(ค.ศ.) +1181 มาจากคำว่า Higra แปล
พระนบมี ฮู ัมหนั ด ว่าการอพยพ
ฮิจเราะห์ อพยพจากเมกกะ +621 ไทยรับมาจากพม่า เริ่ม
ศักราช (ฮ.ศ.) ไปเมดินา ใช้สมัยอยุธยาจนมา
ตงั้ โดยพระเจา้ +2324 เลิกใช้ตอนสมัยรัชกาล
จลุ ศักราช บุพโสรหัน ที่ 5
(จ.ศ.) (พมา่ ) เข้ามาพร้อมกับชาว
อินเดีย
มหาศักราช ตงั้ โดยพระเจ้า
(ม.ศ.) กนิ ษกะ เริ่มใช้ตอนสมัยรัชกาล
(อินเดีย) ที่ 5
รตั นโกสินทร์
ศก (ร.ศ.) ปสี ถาปนากรุง เลิกใช้ตอนสมัยรัชกาล
ที่ 6
รตั นโกสินทร์
ข้ึนเป็นราชธานี

ยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตร์
หลักฐานท่สี ําคัญคือ แหลง่ มรดกบ้านเชยี ง จ.อุดรธานี UNESCO จัดให้เป็นมรดกโลก

ผาแตม้ ภาพเขียนบนฝาผนั ง จ.อุบลราชธานี
ยคุ ประวตั ศิ าสตร์
แควน้ โบราณ
• ดินแดนประเทศไทยเป็นส่วนนึ งของ ชมพูทวีป หมายถึงดนิ แดนท่เี ป็นเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ น

ปัจจบุ ัน
• อารยธรรมอินเดียมอี ทิ ธพิ ลต่อไทยยคุ โบราณผา่ นการค้าและศาสนา
• ทวารวดี เป็นแควน้ โบราณในประวัติศาสตรไ์ ทย มคี วามเชอ่ื พุทธแบบเถรวาทในการปกครอง
ศูนย์กลางอยทู่ ่ลี มุ่ แม่นํ้ าเจา้ พระยา
• หลักฐานทพ่ี บเก่ยี วกบั ทวารวดี คือ ธรรมจักรและกวางหมอบ พระพุทธรุป
• สมยั ลพบุรี ต่อจากทวารวดี ลกั ษณะคลา้ ยขอมหรอื เขมรในปัจจบุ นั ศนู ย์กลางท่เี มอื งละโว้
• ศิลปะสมัยลพบรุ ี = ศิลปะขอม
• หลักฐานสมัยลพบุรี พบหนาแน่ นในอสี านตอนลา่ ง รองลงมาคือภาคกลาง ภาคตะวนั ออก

พบคล้ายกันคือ มีศาสนสถานและบารายหรอื บ่อนํ้ า
• หลกั ฐานทส่ี ําคัญเก่ียวกับสมัยลพบรุ ี อสี านมเี มอื งพิมายเป็นศนู ยก์ ลาง มักพบจารกึ ปราสาท
• เอกสารจนี กลา่ วว่า พระเจา้ สุรยิ วรมนั ท่ี 2 มีความเก่ียวข้องกบั ละโว้ พระองค์ทรงมีอาณาเขตกวา้ งขวาง

และมีอิทธพิ ล
• พระเจา้ ชยั วรมันท่ี 7 มีความสัมพันธก์ บั ดินแดนประเทศไทย

สรา้ งพระพุทธรูป ธรรมศาลาหรอื ท่พี ักคนเดนิ ทาง
• ตามพรลิงค์ แว่นเควน้ โบราณบนคาบสมทุ รมลายู ในศิลาจารกึ พ่อขุนรามคําแหงเรยี ก ศรธี รรมราช

พ่อค้าชาวโปรตุเกสท่เี ขา้ มาค้าขายเป็นชาตแิ รกของตะวนั ตกเรยี กวา่ ลิกอร์
ชอื่ นครศรธี รรมราชไดม้ าทหี ลัง มักเป็นทต่ี ดิ ต่อค้าขายฝ่ ังชายฝ่ ังทะเล
• หลกั ฐานเก่าแกข่ องตามพรลงิ ค์ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ เชน่ รูปพระนารายณ์ ศิวลงึ ค์
เป็นตน้
• แว่นแควน้ ทางภาคเหนื อของดินแดนไทย คือ หรภิ ุญชยั ตามตํานานจามเทวีวงศ์ หรภิ ุญชยั มคี วาม
สัมพันธก์ ับมอญ ละโว้ ภายหลงั ถูกผนวกเข้ากบั อาณาจักรล้านนา

แนวคิดความเป็นมาของชนชาตไิ ทย
1. ชนชาตไิ ทยเดิมอพยพมาจากเทือกเขาอัลไต

หมอวลิ เลยี ม คลิฟตนั ดอดด์ เขยี นหนั งสือ The Tai race : Elder brother of the
Chinese กบั ขุนวจิ ติ รมาตราเขยี นหนั งสือหลกั ไทย เสนอวา่ คนไทยสืบเชอื้ สายมาจากมองโกล
ตอ่ มาถกู จนี รุกรานจึงอพยพมาตัง้ ถ่ินฐานในดินแดนไทยปัจจบุ ัน

ปัจจุบนั ทฤษฏีน้ี ไมเ่ ป็นทน่ี ่ าเชอ่ื ถืออีกตอ่ ไป เพราะวา่ ดินแดนทอ่ี พยพมาห่างไปเกนิ ไป
ประกอบกับเป็นทะเลทราย มสี ภาพอากาศรอ้ นจดั หนาวจดั จงึ ไมเ่ หมาะแก่การตัง้ ถ่ินฐาน
2. ชนชาตไิ ทยเดิมอพยพมาจากอยตู่ อนกลางของจนี

มีเพียงเอกสารจีนโบราณเก่ยี วถึง ความน่ าเชอ่ื ถอื น้ อย
3. ชนชาตไิ ทยเดิมอย่ตู อนใตข้ องจนี

ศึกษาเอกสารหลักฐานทางประวตั ิศาสตร ์ ภาษาศาสตร ์ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี 
วฒั นธรรมไทยท่ปี รากฏในเอกสารจนี   กล่าวถงึ ชนชาตไิ ท (Tai)  เป็นชนชาตหิ น่ึ งท่ี
กระจัดกระจายอยทู่ างตอนใต้ของจนี

ทฤษฎนี ้ี ไดร้ บั ความเชอื่ ถือมากท่สี ดุ
4. ชนชาตไิ ทยเดิมอยใู่ นประเทศไทยปัจจบุ นั

ใชห้ ลักฐานทางโบราณคดี  เครอื่ งป้ ันดนิ เผา เครอื่ งใชเ้ ครอ่ื งประดับ  และโครงกระดกู
มนษุ ยท์ พ่ี บว่าเหมือนโครงกระดูกคนไทยปัจจบุ ันเกอื บทกุ แห่ง 
5. ชนชาตไิ ทยเดิม อย่บู รเิ วณคาบสมุทรมลายู

ใชห้ ลักฐานทางการแพทย์ พบว่ากล่มุ เลอื ด ยีนและฮีโมโกลบนิ ของคนไทยตรงกับคนท่ี
เกาะชวามากกวา่ ชาวจีน 

การตงั้ ถ่ินฐานอาณาจกั รไทย
สุโขทัย
• พ่อขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย์ เป็นปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งสุโขทยั
• สโุ ขทยั ผลิตและส่งออกเครอื่ งสังคโลก
• สมยั พ่อขุนรามคําแหง สุโขทยั มีทงั้ การรบและสัมพันธไมตรกี ับแควน้ สุพรรณภูมิและนครศรธี รรมราช
• การปกครองของพ่อขุนรามคําแหงมหาราช เรยี ก การปกครองแบบพ่อปกครองลกู
• สมยั พญาลไิ ทย ส่งเสรมิ พทุ ธศาสนา
• สรา้ งสรดี ภงส์ ไวก้ กั เกบ็ น้ํ า
• ภายหลังสุโขทยั ถูกผนวกเข้ากับอยธุ ยา

อยธุ ยา
• ทต่ี ัง้ อยลู่ มุ่ แมน่ ้ํ าเจ้าพระยา เป็นแว่นแควน้ ท่ตี งั้ ตนอิสระจากแควน้ อ่ืนๆ
• อยธุ ยามคี วามสัมพันธก์ บั แคว้นสุพรรณภมู ิและละโว้
• พระเจา้ อู่ทองสรา้ งกรุงศรอี ยธุ ยาตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 แห่งกรุงสุโขทยั
• เข้มแข็งทางทหารและเศรษฐกจิ ค้าขายกบั จนี แบบบรรณาการ
• การปกครองเป็นแบบเทวราชา กษัตรยิ ์เป็นเจ้าชวี ิต

• การค้ากบั ตะวันตกชาตแิ รก คือ โปรตเุ กส

• การปกครองแบบจตสุ ดมภ์ มี เวียง ดแู ลความสงบเรยี บรอ้ ย วงั ตัดสินคดคี วามตา่ งๆ ดูแลกิจการใน
ราชสํานั ก คลงั ตดิ ตอ่ กับต่างประเทศ นา เกบ็ ภาษีท่นี า

• ปฏิรูปการปกครองในสมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เพื่อรวมศนู ยอ์ ํานาจ

• สังคมอยธุ ยาเป็นระบบไพร่ ควบคุมกําลังคน

• ระบบศักดินา แบง่ ชนชนั้ สิทธิ หน้ าท่ี

1. กษัตรยิ ์ เป็นเจ้าศักดินาทงั้ หมด (วงั หลวง)
2. เจ้านาย
คือ เชอื้ พระวงศ์ เจา้ นายท่สี ําคัญท่สี ดุ คือตําแหน่ งพระมหาอุปราช (วงั หน้ า)
ศักดนิ า 100,000

3. ขนุ นาง พระอสิ รยิ ายศ ไดแ้ ก่ เจา้ ฟ้า พระองค์เจา้ หม่อมเจา้ ถ้ามตี ําแหน่ งจะได้
4. ไพร่ เรยี กวา่ ทรงกรม “กรมกระยา กรมพระ กรมหลวง กรมขนุ กรมหมื่น
- มีศักดินาจํานวน 10,000-400 ไร่
5. ทาส
- มีหน้ าทท่ี าํ งานราชการตา่ งๆ

- ยศ ได้แก่ เจา้ พระยา พระยา พระ ขุน หลวง หมนื่ มศี ักดนิ ากํากบั (ตําแหน่ ง
สมเดจ็ เจา้ พระยาเพ่ิมข้ึนมาสมัยต้นรตั นโกสินทร)์

- ราชทนิ นาม คือชอื่ ทใ่ี ห้กบั ผดู้ ํารงตําแหน่ ง เชน่ ยมราช พลเทพ ทา้ ยน้ํ า

- ตําแหน่ งขนุ นาง คือหน้ าท่ใี นแต่ละหน่ วยงาน สมหุ กลาโหม สมุหนายก

- ในประวตั ศิ าสตรอ์ ยธุ ยา มขี นุ นางทส่ี ามารถปราบดาภิเษก คือ พระเจ้าปราสาท
ทอง กับพระเทพราชา
- คือสามัญชนทงั้ ชายกับหญิง มจี ํานวนมากท่สี ุด ทาํ การผลติ และเป็ น
กําลงั ในการทาํ ศึกสงคราม

- มีศักดินาจํานวน 25-10 ไร่

- ให้ไพรช่ ายข้นึ ทะเบยี นบญั ชหี างว่าว

- แบ่งเป็น 3 ประเภท

1. ไพรห่ ลวง เป็นไพรข่ องพระมหากษัตรยิ ์ (เขา้ เดือนออกเดอื น 6
เดอื นทาํ งาน อกี 6 เดอื นหยดุ พัก)

2. ไพรส่ ม มลู นายได้รบั ไพรต่ ามศักดินา

3. ไพรส่ ่วย หาส่ิงของมาแทนการใชแ้ รงงาน ส่งส่ิงของหรอื เงนิ
- มีศักดินาจํานวน 5 ไร่

- ทาสทส่ี ามารถซอื้ อสิ รภาพของตนเองคืนได้ ทาสท่ไี ม่สามารถซอ้ื
อิสรภาพของตัวเองคืนได้ ทาสเชลยศึก

- สามารถเล่ือนชนชนั้ ข้ึนไดห้ ลายทาง เชน่ ไปบวช (ถอื วา่ เป็นอิสระทนั ท)ี
ไปรบแลว้ มีความดีความชอบ

• กรมทา่ หรอื พระคลงั สินค้า มีความสําคัญต่อการค้าอยธุ ยา กรมทา่ ขวา-ตดิ ตอ่ มสุ ลิม กรมทา่ ซา้ ย-คุมอา่ ว
ไทย

• ระบบเก็บภาษี คือ จังกอบ สําหรบั ผา่ นดา่ น อากร ส่วย ฤชา
• ขดั แยง้ กบั พมา่ 2 ครงั้ ประกาศอสิ รภาพจากหงสาวดี พ.ศ. 2127 โดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
• ยคุ ทองกบั การติดต่อต่างประเทศคือ พระนารายณ์มหาราช ออกญาโกษาธบิ ดี(ปาน) เป็นราชทตู เจรญิ

สัมพันธไมตรกี บั ประเทศฝรงั่ เศส
• อยธุ ยาพ่ายแกพ่ ม่า กรุงศรอี ยธุ ยาล่มสลาย ปี พ.ศ.2310

สมัยธนบุรี
สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน ปราบดาภเิ ษกข้ึนเป็นกษัตรยิ ์ หลงั จากชว่ งเป็นพระยาตากรวบรวมผคู้ นตงั้ ถ่นิ ฐาน
ท่จี ันทบรุ ี
สภาพกรุงธนบรุ เี ป็นเมอื งอกแตก มแี ม่นํ้ าเจ้าพระยาไหลผา่ น
ความสัมพันธก์ บั จีนแน่ นแฟ้นมากในการค้าและฟ้ ืนฟูเมอื ง
ตลอดชวี ิตสมัยธนบุรมี ีสงครามและการปราบปรามชุมนมุ ท่ตี ัง้ ตนเป็นใหญ่

สมัยรตั นโกสินทรต์ อนตน้ (รชั กาลท่ี 1-3)
ศูนย์กลางการปกครองอยทู่ ่กี รุงเทพฯ สภาพเศรษฐกิจคลา้ ยกับอยธุ ยาตอนปลายเป็นแบบยงั ชพี มีความ
พยายามฟ้ ืนฟูให้เป็นดัง่ อยธุ ยาแทบทกุ ด้าน เชน่ พระบรมราชวัง ประเพณีต่างๆ
รัชกาลท่ี 1

- พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก
- ย้ายราชธานี มาท่กี รุงเทพฯ ฟ้ ืนฟูแบบตามอยธุ ยา
- ทรงตรากฎหมายตรา 3 ดวง โดยรวบรวมเอากฎหมายเกา่ มาชาํ ระให้เป็นระเบียบแบบแผน แล้ว

ประทบั ด้วยตราราชสีห์ (ตราประจําตําแหน่ งสมุหนายก) ตราคชสีห์ (ตราประจําตําแหน่ งสมหุ
กลาโหม) ตราบัวแก้ว (ตราประจําตําแหน่ งพระคลงั สินค้า)
- ลดระยะเวลาการเขา้ เดอื นออกเดอื น
- ชาวโปรตเุ กสเข้ามาตดิ ตอ่ ตงั้ สถานทตู เป็นชาตแิ รก
- ทําสงคราม 9 ทพั กบั พม่า

รชั กาลท่ี 2
- พระบาทสมเด็จพระเลศิ หลา้ ศนภาลัย
- ยคุ ทองของวรรณกรรม
- สุนทรภูไ่ ดเ้ ป็นอาลกั ษณ์ในราชสํานั ก

- เรม่ิ เกบ็ เงนิ ค่าผกู ป้ ี เป็นการเก็บภาษีชาวจนี อายุ 20 ปีข้นึ ไป ทไ่ี ม่ตอ้ งการเกณฑแ์ รงงาน เมื่อ

จ่ายแล้วเจ้าหน้ าทจ่ี ะเอาดา้ ยมาผกู

- จอห์น ครอว์ฟอรด์ เขา้ มาทําสนธสิ ัญญาการค้ากบั ไทยไมส่ ําเรจ็

รัชกาลท่ี 3
- พระบาทสมเด็จพระนั่ งเกล้าเจ้าอยหู่ ัว

- กอ่ นข้ึนครองราชย์ พระนามเดิมวา่ “กรมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร”์
- ทรงสรา้ งวดั ตามแบบจนี นั บสิบวัดเรยี กวา่ วัดศิลปะ เกิดศิลปะพระราชนิ ยม (ไทยผสมจีน) ไมม่ ี

ชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ สรา้ งโลหะปราสาททว่ี ดั ราชนั ดดารามวรวหิ าร
- เรม่ิ ใชร้ ะบบเกบ็ ภาษีผา่ นเจ้าภาษีนายอากร ให้เอกชนประมลู การจัดเก็บภาษี ทําให้รฐั มรี ายได้

แน่ นอน
- เกดิ ศิลปะพระราชนิ ยม (ไทยผสมจนี ) วดั ราชโอรสาราม เจดยี ์ทรงสําเภา
- ปลกู ยาสูบ พรกิ ไทย ทาํ น้ํ าตาลทราย เป็นสินค้าส่งออก พรอ้ มกับเก็บภาษีชนิ ดใหม่ๆได้อีก 38

ชนิ ด
- สรา้ งเรอื สําเภาจําลองไว้ทว่ี ดั ยานนาวา เป็นทร่ี ะลกึ ถึงการค้าสําเภา
- ทําสงครามกบั เวยี ดนามเพ่ือแย่งชงิ การมอี ํานาจเหนื อกมั พูชา เรยี กวา่ สงครามอานามสยามยทุ ธ์

- มีการจารกึ ความรูต้ ่างๆไว้ท่วี ัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม
- ทาํ สนธสิ ัญญาเบอรน์ ี ย์ เก่ยี วกับการค้ากบั อังกฤษ ซง่ึ องั กฤษตอนนั้ นพยายามสัมพันธไมตรกี บั

ไทยในการทาํ สงครามกบั พมา่ ไทยไม่เสียเปรยี บ
- พระราชดํารสั ก่อนเสดจ็ สวรรคต “การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่ากเ็ ห็จะไม่มีแลว้ จะมอี ย่กู ็แต่

ขา้ งฝรงั่ ให้ระวงั ให้ดอี ย่าให้เสียทแี กเ่ ขาได้ การงานส่ิงใดของเขาทด่ี ีควรจะเรยี นรา่ํ เอาไว้กเ็ อา
อย่างเขาแต่อย่าให้นั บถือเลื่อมใสไปทเี ดียว”
เมื่อส้ินรชั กาลแล้วมีเงนิ เกบ็ สะสมชอ่ื เงนิ ถงุ แดง ภายหลังในสมยั รชั กาลท่ี 5 นํ ามาใชแ้ ลกเป็นเงนิ

รัชกาลท่ี 4
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว (ครองราชย์ พ.ศ.2394-2411)

- สนใจความรูต้ ะวันตก ออกบวชกอ่ นข้ึนครองราชย์ ตัง้ ธรรมยตุ นิ ยาย
- ตงั้ กษัตรยิ ์ข้ึนมาอีกพระองค์หน่ึ ง คือ พระบาทสมเด็จพระป่ ินเกลา้ เจ้าอย่หู ัว
- ปรบั ปรุงพิธกี รรม เรม่ิ ธรรมเนี ยมให้ขนุ นางสวมเส้ือในเวลาเขา้ เฝ้า เป็นกษัตรยิ ์พระองค์แรก
ท่ดี ่ืมนํ้ าพระพิพัฒน์ สัตยารว่ มกับขุนนาง ออกรบั ฎกี าจากราษฎร
- ใชป้ ระกาศราชการชอื่ ราชกิจจานเุ บกษา เรม่ิ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ พระราชทานให้กับบุ
คคคลทม่ี คี วามดีความชอบ
- ยกเลิกการส่งเครอื่ งบรรณาการไปจีน ส้ินสดุ การค้าแบบบรรณาการ
- จา้ งครูชาวตะวนั ตกมาสอนภาษาองั กฤษ ครูทม่ี ชี อ่ื เสียงคนหน่ึ งคือแหมม่ แอนนา เลยี วโนเวน
- ส่งคณะฑูตซง่ึ มพี ระยามนตรสี รุ ยิ วงศ์ (ชุม่ บุนนาค) เป็นหน้ าหน้ า อญั เชญิ เรอื่ งราช
บรรณาการไปถวายอังกฤษ หม่อมราโชทยั เป็นล่าม ได้แตง่ นิ ราศลอนดอน

- รชั กาลท่ี 4 ทอดพระเนตรสุรยิ ปุ ราคราเต็มดวง ปี 2411 ณ บ้านหวา้ กอ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์
หลังจากนั้ นไมน่ านไดป้ ระชวรและเสดจ็ สวรรคต

เซอรจ์ อห์น บาวรงิ
สนธิสั ญญาบาวริง
เป็นสนธสิ ัญญาทางการค้าระหวา่ งสยามกับองั กฤษ ลงนามโดยเซอรจ์ อห์น บาวรงิ ผู้
แทนของอังกฤษ
1. ยกเลกิ ระบบพระคลงั สินค้า เปล่ียนให้เป็นการค้าแบบเสรี จะขายกับใครกไ็ ด้
2. ยกเลิกค่าปากเรอื ให้สยามเก็บภาษีขาเข้าได้เพียง 3 เปอรเ์ ซนต์
3. ตอ้ งเสียสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขต ชาวตา่ งชาตไิ ด้รบั การพิจารณาคดีในศาลกงสลุ ตาม
กฎหมายของตน
4. สัญญาไมม่ กี ารระบุวนั ส้ินสดุ
ผลกระทบ
1. เกดิ การค้าแบบเสรี ทาํ ให้มีการใชเ้ หรยี ญเงนิ ตะวนั ตกมาซอื้ ขายแลกเปล่ียน
2. ข้าวกลายมาเป็นสินค้าส่งออกทส่ี ําคัญทส่ี ดุ เกดิ การผลติ ข้าวเพ่ือการค้าและส่งออก ส่ง
ผลให้เกดิ การตงั้ โรงสีขา้ วและโรงเลอ่ื ย เกดิ การขุดคลองขยายพื้นทเ่ี พาะปลกู ขา้ ว
3. ชาวตา่ งชาตแิ ละคนในบงั คับได้รบั สิทธสิ ภาพนอกอาณาเขต
4. ทาํ สนธสิ ัญญาตามแบบลกั ษณะเดยี วกันอีกหลายประเทศ
ต่อมาเซอรจ์ อห์น บาวรงิ ได้รบั แตง่ ตงั้ เป็นพระยามานกุ ลู กจิ สยามมิตรมหายศทา่ น เป็น
อคั รราชทตู ไทยประจํากรุงลอนดอนและทวปี ยโุ รป

ความเปล่ียนแปลงตามแบบตะวนั ตก
ในชว่ งปลายรชั กาลท่ี 3 จนถงึ รชั กาลท่ี 4 เรม่ิ มคี วามเปล่ียนแปลงตามแบบตะวนั ตก ไดแ้ ก่
- เกิดสถาปัตยกรรมตามแบบตะวันตกข้ึนตามโบสถ์ อาคารบ้านเรอื น สถานท่รี าชการ
- เกดิ การตัดถนนตามแบบตะวันตก ถนนเจรญิ กรุง (New Road) เป็นถนนสายแรก
- สรา้ งโรงกษาปณ์ ผลติ เหรยี ญตราแลกเปล่ยี น
- เกดิ การตงั้ โรงเรยี นตามแบบตะวันตก
- หมอบรดั เลย์ มิชชนั่ นารชี าวอเมรกิ นั ออกหนั งสือพิมพ์บางกอกรคี อรเ์ ดอร์ และรกั ษาโรค
- ขรวั อนิ โข่ง วาดภาพสามมิติ
- ปัลเลอกัวช์ นั กบวชชาวฝรงั่ เศส ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระสังฆราชของโรมนั คาทอรกิ ในไทย
และทาํ พจนานกุ รม

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว (ครองราชย์ พ.ศ.2411-2453)

- ข้ึนครองราชยต์ ัง้ แต่ยงั ทรงพระเยาว์ อายุ 15 ชนั ษา จงึ ต้องมสี มเดจ็ เจ้าพระยามหาศรสี ุรยิ วงศ์
(ชว่ ง บนุ นาค) เป็นผสู้ ําเรจ็ ราชการดูแลไปก่อน เม่อื ทรงบรรลนุ ิ ตภิ าวะ อายคุ รบ 20 ปี จงึ ได้ทาํ
พิธขี ้นึ ครองราชย์อีก ตําแหน่ งผสู้ ําเรจ็ ราชการจึงส้ินสุด
- ในชว่ งต้นรชั กาลแบง่ กลมุ่ การเมืองออกเป็น 3 กล่มุ ไดแ้ ก่

1) กลมุ่ สยามหน่ มุ นํ าโดยรชั กาลท่ี 5

2) กล่มุ สยามอนรุ กั ษ์ นํ าโดยสมเดจ็ เจา้ พระยามหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค)

3) กลมุ่ สยามเก่า นํ าโดยกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (วงั หน้ า)

- ปี พ.ศ.2416 ทรงกอ่ ตัง้ หอรษั ฎากรพิพัฒน์ เพื่อรวบรวมเงนิ แผน่ ดนิ เขา้ มาอยแู่ หลง่ เดยี วกัน

- ปี พ.ศ.2417 เกิดวิกฤตการณ์วงั หน้ า ทาํ ให้กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญถกู ลดอํานาจ หลงั
จากเสด็จทวิ งคตในปี พ.ศ.2428 แล้ว จงึ ทรงแต่งตงั้ ตําแหน่ งสยามมกฎุ ราชกมุ ารข้นึ เป็น
รชั ทายาทท่ชี ดั เจน โดยผทู้ ด่ี ํารงตําแหน่ งพระองค์แรกคือ เจา้ ฟ้ามหาวชริ ุณหิศ ต่อมาทวิ งคต จึง
แต่งตัง้ ให้เจา้ ฟ้ามหาวชริ าวธุ เป็นสยามมกฎุ ราชกมุ าร และไดข้ ้ึนครองราชย์เป็นรชั กาลท่ี 6)

- ปี พ.ศ.2417 ตัง้ สภาทป่ี รกึ ษาข้ึน 2 สภา ไดแ้ ก่

1) สภาท่ปี รกึ ษาราชการแผน่ ดิน (Council of State) ทําหน้ าท่ถี วายคําปรกึ ษาและความ
คิดเห็น

2) สภาท่ปี รกึ ษาส่วนพระองค์ (Privy Council) ทาํ หน้ าท่ขี ้นึ ตรงต่อพระเจ้าอยหู่ ัว

• การปฏิรูปราชการแผน่ ดนิ

- ในปี พ.ศ.2428 พระองค์เจา้ ปฤษฎางค์ ราชทตู ประจํายโุ รปรวบรวมเจ้านายและขุนนางท่ี
ประจําสถานทตู ทวีปยโุ รปได้ส่งคํากราบบงั คมทลู ร.ศ.103 เสนอให้มีการปกครองพระมหา
กษัตรยิ ใ์ ตร้ ฐั ธรรมนญู (constitutional monarchy) แต่รชั กาลท่ี 5 ทรงตอบว่าต้องการปฏริ ูป
การปกครอง (government reform)

- ในปี พ.ศ.2435 ได้ยกเลกิ ตําแหน่ งสมหุ นายก สมุหกลาโหม และจตุสดมภ์ แบ่งเป็นกระทรวง
12 กระทรวง ตําแหน่ งดแู ลเรยี กวา่ เสนาบดี มีเสนาบดสี ําคัญ 2 พระองค์คือกรมพระยาดํารง
ราชานภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย สมเดจ็ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดี
กระทรวงตา่ งประเทศ ซง่ึ เปรยี บเหมอื นเป็นมือซา้ ยมอื ขวาของรชั กาลท่ี 5 มวี ตั ถุประสงค์เพื่อ
รวมอํานาจอย่ทู ่สี ่วนกลาง

การปกครองส่ วนกลาง

กระทรวง หน้าที่
มหาดไทย ดูแลเมือง มณฑลเทศาภิบาล
กลาโหม ดูแลทหาร

การต่างประเทศ กรมท่าเดิม ดูแลกิจการต่างประเทศ สนธิสันญา
ต่างๆ
นครบาล ดูแลความสงบเรียบร้อยในกรุงเทพฯ
พระคลังมหา ดูแลทรัพย์สิน การจัดเก็บภาษี การจัดทำงบ
สมบัติ ประมาณ
วัง ดูแลราชสำนัก พระราชพิธี
เกษตราธิการ ดูแลการเกษตร
ยุติธรรม ดูแลศาล การพิพากษาคดีความ
โยธาธิการ ดูแลการต่อสร้าง รถไฟ ถนน คูคลอง ไปรษณีย์
โทรเลข
ธรรมการ ดูแลโรงเรียนและวัด
มุทธาธิการ เก็บเอกสาร

การปกครองส่วนภมู ิภาค

ยกเลกิ ระบบกินเมอื ง สืบทอดตําแหน่ งตามตระกลู มาเป็นระบบเทศาภบิ าล รวมอํานาจ
เขา้ ส่สู ูงการ โดยส่งข้าราชการจากส่วนกลางไปดูแลข้นึ ตรงต่อกระทรวงมหาดไทย แบ่งเป็น
เทศาภบิ าล เมอื ง อําเภอ ตําบล และหมบู่ า้ น

เทศาภิบาล ข้าหลวงใหญ่มณฑล
เทศาภิบาล
(เมืองหลายๆเมืองมารวม
กันเป็นมณฑล) ผู้ว่าราชการเมือง
เมือง (ภายหลังเปลี่ยนชื่อ
เป็นจังหวัด) นายอำเภอ
อำเภอ ผู้ใหญ่บ้าน
ตำบลและหมู่บ้าน

การปกครองท้องถ่ิน

- พ.ศ.2435 เรม่ิ ต้นให้เลอื กกํานั นผใู้ หญ่บา้ นเพ่ือชว่ ยขา้ ราชการทาํ หน้ าทใ่ี นทอ้ งถ่ิน
- พ.ศ.2440 ตงั้ สขุ าภิบาลแห่งแรกคือสขุ าภบิ าลกรุงเทพฯ จัดตงั้ สขุ าภิบาลเพื่อให้ทอ้ งถ่นิ มี
กรรมการประจําสําหรบั ทาํ หน้ าทด่ี แู ลตนเอง

- พ.ศ.2448 ตัง้ สุขาภบิ าลนอกเขตพระนครแห่งแรกคือสขุ าภิบาลทา่ ฉลอม

• การตา่ งประเทศ
- ชว่ งตน้ รชั กาลเสด็จประพาสสิงคโปร์ ชวา อินเดีย
- รชั กาลท่ี 5 เสดจ็ พระพาสยโุ รปสองครงั้

ครงั้ ท่ี 1 ปี พ.ศ.2440 ไปเพื่อเจรจากบั ชาติตะวันตกและดคู วามเจรญิ ของต่างประเทศ
ทรงพระราชนิ พนธเ์ รอ่ื งไกลบ้าน

ครงั้ ท่ี 2 ปี พ.ศ.2450 ไปเพื่อรกั ษาพระองค์จากพระอาการประชวร
- ทาํ สัญญาหลายฉบบั กบั ฝรงั่ เศสสูญเสียอํานาจดแู ลเขมรและลาว

- เหตุการณ์วกิ ฤต ร.ศ.112 ฝรงั่ เศสส่งเรอื รบเขา้ มากรุงเทพเกิดการสู้รบกนั จนรชั กาลท่ี 5 ต้อง

ยอมเสียดินแดนฝ่ ังลาวให้ฝรงั่ เศส
• ทางดา้ นเศรษฐกจิ
- มีการกอ่ ตัง้ ธนาคารพาณิชยแ์ ห่งแรก ชอ่ื สยามกัมมาจล ปัจจุบนั คือธนาคารไทยพาณิชย์
- ประกาศยกเลิกหน่ วยเงนิ พดด้วงและหน่ วยการนั บแบบเกา่ คือเฟือง อฐั โสฬส มาใชเ้ งนิ
เหรยี ญและใชห้ น่ วยนั บบาทและสตางค์
- การขดุ คลองขยายพื้นท่เี พาะปลกู ขา้ ว เพ่ือเป็นสินค้าส่งออก โดยเฉพาะโครงการขุดคลอง
รงั สิตท่มี ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ
• การเลิกไพร่
1. จ่ายเงนิ เดอื นแกข่ า้ ราชการแทนการพระราชทานไพร่
2. แปลงไพรส่ มมาเป็นไพรห่ ลวง
3. ออกพระราชบญั ญตั ลิ ักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. 124 กําหนดให้ชายอายุ 18 ปีบรบิ รู ณ์จะตอ้ งรบั
ราชการทหารแทนการเป็นไพร่ ทําให้ไมม่ กี ารตอ่ สู้สญู เสียเลือดเน้ื อ
• การเลิกทาส
1. ออกพระราชบญั ญัติพิกดั เกษียณลกู ทาส-ลกู ไท กําหนดให้ลกู ทาสเป็นอิสระ
2. พระราชทานทรยั พ์ส่วนพระองค์ไถถ่ อนทาสซง่ึ เป็นทาสมาครบ 25 ปีให้เป็นอสิ ระ
3. ห้ามไม่ให้ซอื้ ขายทาส
4. ออกพระราชบัญญตั เิ ลกิ ทาส ทาํ ให้ไม่มกี ารต่อสู้สูญเสียเลือดเน้ื อ
• เบ็ดเตลด็
- กอ่ ตัง้ โรงพยาบาลศิรริ าชตามแบบแพทยต์ ะวันตก
- สรา้ งทางรถไฟและโทรเลข
- เรม่ิ ใชไ้ ฟฟ้านํ้ าประปา
- เทยี นวรรณ ก.ศ.ร.กหุ ลาบเทยี นวรรณเรยี กรอ้ งมรี ฐั สภา
- ประกาศใชก้ ฎหมายลกั ษณะอาญา
• ราชสํานัก

- สมเดจ็ พระศรพี ัชรนิ ทราบรมราชนิ ี นาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เป็นผสู้ ําเรจ็ ราชการ
พระองค์แรก เมื่อคราวท่รี ชั กาลท่ี 5 เสด็จประพาสยโุ รปครงั้ ท่ี 1

- รชั กาลท่ี 5 เสดจ็ ประพาสตน้ (เท่ยี วไปเป็นการส่วนพระองค์) และเสดจ็ แปรพระราชฐานหลาย
แห่ง

- เสด็จสวรรคต วันท่ี 23 ตลุ าคม 2453 วนั ท่รี ะลกึ วันสวรรคต วันปิยมหาราช เป็นรชั กาลท่ี

ยาวนานถงึ 42 ปี

รชั กาลท่ี 6
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว (ครองราชย์ พ.ศ.2453-2468)

- เป็นพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยพระองค์แรกทเ่ี รยี นจบจากต่างประเทศคือ ประเทศองั กฤษ

- คณะบคุ คลกลมุ่ หน่ึ ง นํ าโดยรอ้ ยเอกขุนทวยหาญพิทกั ษ์ (เหล็ง ศรจี ันทร)์ ต้องการ
เปล่ียนแปลงการปกครอง แตไ่ ม่สําเรจ็ จึงเป็นเหตกุ ารณ์ทเ่ี รยี กวา่ กบฏเก็กเหมง็ รศ.
130

- ส่งทหารเขา้ รว่ มสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 ได้ส่งทหารไทยเข้ากบั ฝ่ายพันธมตั ร (องั กฤษ
ฝรงั่ เศส) และไดร้ บั ชยยั นะ หลงั จากส้ินสุดสงคราม ทาํ ให้ไทยมโี อกาสแกไ้ ขสนธสิ ัญญา
ท่ไี มเ่ ป็นธรรมหลายฉบบั กับต่างประเทศ โดย ดร.ฟรานซสิ บี แซร์ ท่ปี รกึ ษารฐั บาล
ขณะนั้ น
- ดสุ ิตธานี เป็นเมอื งประชาธปิ ไตยจําลอง แต่เป็นบ้านขนาดยอ่ มทเ่ี อาไวเ้ ลน่ กัน

- ประกาศใชป้ ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- ตัง้ เสือป่า เพ่ือฝึกฝนให้ข้าราชการมีทกั ษะทางการส้รู บ

- เกดิ การทดลองเรม่ิ ต้นใชร้ ะบบสหกรณ์ โดยมีสหกรณ์วัดจนั ทรไ์ ม่จํากัดสินใชเ้ ป็น
สหกรณ์ แห่งแรก

- ตราพระราชบญั ญัตปิ ระถมศึกษาให้การศึกษาขัน้ บงั คับถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

- เก็บเงนิ รชั ชูปการ คือเงนิ ชว่ ยราชการตามท่กี ําหนดเรยี กเก็บจากชายฉกรรจท์ ม่ี ีอายุ
ตงั้ แต่ 18-60 ปี และเกบ็ เงนิ ศึกษาพลีจากชายฉกรรจท์ ่มี อี ายตุ งั้ แต่ 18-60 ปีเพ่ิมเติมเพื่อ
ใชไ้ ปบํารุงการศึกษา

- เรม่ิ ใชธ้ งไตรงค์เป็นธงประจําชาติ
- ออกพระราชบญั ญัตนิ ามสกลุ กําหนดให้คนไทยเรม่ิ ใชน้ ามสกลุ

- สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก

- ประกาศใชก้ ฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- ความพยายามแก้ไขสนธสิ ัญญาบาวรงิ

ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ท่หี น่ึ งยตุ ิ ไทยอย่ใู นฝ่ายผชู้ นะสงครามไดพ้ ยายามเจรจาขอ
แกไ้ ขสนธสิ ัญญาบาวรงิ อันไม่เป็นธรรมในดา้ นสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตและภาษี

ศุลกากร ซง่ึ ก็ประสบผลสําเรจ็ เป็นอยา่ งดี โดยมีดร.ฟรานซสิ บแี ซร์ ท่ปี รกึ ษาดา้ นต่าง
ประเทศเป็นผแู้ ทนเจรจา

รชั กาลท่ี 7
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว (ครองราชย์ พ.ศ.2468-2477)
- เกิดภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ําไปทวั่ โลก หลังส้ินสดุ สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และจากวกิ ฤตการคลัง
สมัย ร.6รฐั กาลท่ี 7 ตัดค่าใชจ้ า่ ย ดุลข้าราชการออก เพื่อรกั ษาดลุ ยภาพ

- ตงั้ อภิรฐั มนตรเี พ่ือชว่ ยปรกึ ษาราชการ ประกอบดว้ ยเจา้ นายผใู้ หญ่ 5 พระองค์ เป็นผมู้ ี
ประสบการณ์มาบรหิ ารราชการ
- จัดงานฉลองกรุงรตั นโกสินทรค์ รบรอบ 150 ปี ในเดอื นเมษายน ปี พ.ศ.2475 ก่อสรา้ ง
สะพานพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกข้ามแม่น้ํ าเจ้าพระยา กบั สรา้ งโรงภาพยนตรเ์ ฉลิมกรุง พอถงึ วันท่ี
24 มิถุนายน 2475 เกดิ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง

- รา่ งรฐั ธรรมนญู ข้ึน 2 ฉบบั แต่ยงั ไมท่ นั ได้ประกาศใช้
1. ฉบับของพระยากลั ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซสิ บีแซร)์
2. ฉบับของนายเรมนอด์ สตเี วนส์กบั พระยาศรวี ศิ าลวาจา (เทยี นเล้ยี ง ฮุนตระกลู )

ยคุ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง
การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นเหตุการณ์ส้ินสดุ ระบบ

สมบูรณาญาสิทธริ าชย์โดยคณะราษฏรเปล่ยี นแปลงให้เป็นระบอบประชาธปิ ไตย และ
เป็นเรม่ิ ตน้ ของยคุ คณะราษฎร
• สาเหตุ
1) เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางการเมอื งในหลายประเทศ เชน่ จนี ญ่ีป่นุ ตรุ กี รสั เซยี
เยอรมนั
2) เกิดการตน่ื ตวั จากกลมุ่ นั กเรยี นนอก
3) ปัญหาเศรษฐกจิ ตกตํา่ ทวั่ โลก รฐั บาลลดทอนค่าใชจ้ ่าย มกี ารดลุ ขา้ ราชการออก
จํานวนมาก

4) ความไม่เป็นธรรมระหวา่ งชนชนั้ ในสังคม ทช่ี นชนั้ เจา้ นายมอี ภสิ ิทธเ์ิ หมอื ประชาชน
อํานาจส่วนมากกระจกุ ตัวอย่กู บั เจ้านาย
5) การแสดงความคิดเห็นผา่ นหนั งสือพิมพ์
• คณะราษฎร กอ่ ตัง้ จากกล่มุ นั กเรยี นนอก มีผกู้ อ่ ตัง้ 7 คน ประชมุ กันทก่ี รุงปารสี ประ
เทสฝรงั่ เศส 1 รอ้ ยโทแปลก ขตี ะสังคะ (จอมพล ป.พิบูลสงคราม) 2. รอ้ ยโทประยรู ภมร
มนตรี 3. รอ้ ยเอกทศั นั ยนิ ยมศึก 4. หลวงสิรริ าชไมตรี 5. นายตวั้ ลพานกุ รม 6. นายแนบ
พหลโยธนิ 7. นายปรดี ี พนมยงค์ (มนั สมองของคณะราษฎร)

- ได้ชกั ชวนเข้ารว่ มบุคคลอน่ื ๆเข้ารว่ มดว้ ย จนแบ่งเป็น 4 สาย โดยมพี ันเอกพระยาพหลพล
พยหุ เสนา เป็นหัวหน้ าคณะราษฎร

สายทหารบกชนั้ ยศสูง นํ าโดยพันเอกพระยาพหลพลหยหุ เสนา
สายทหารบกชนั้ ยศน้ อย นํ าโดยหลวงพิบลู สงคราม
สายทหารเรอื นํ าโดย หลวงสินธุสงครามชยั (สินธุ์ กมลนาวนิ )
สายพลเรอื น นํ าโดยหลวงประดษิ ฐม์ นธู รรม
• เกดิ รัฐธรรมนูญฉบบั แรก คือ ธรรมนญู การปกครองแผน่ ดนิ สยาม (ชั่วคราว)
• คณะราษฎรประกาศหลัก 6 ประการ คือ เอกราช ความปลอดภยั เสรภี าพ เสมอภาค
เศรษฐกจิ และการศึกษา
• นายกรฐั มนตรคี นแรก คือ พระยามโนปกรณ์นิ ติธาดา
• เกดิ เค้าโครงเศรษฐกจิ หรอื สมดุ ปกเหลือง จดั ทําโดย นายปรดี ี พนมยงค์ แต่ภายหลังไม่
สํ าเรจ็
• พระยามโนปกรณ์ ประกาศยบุ สภาวันท่ี 1 เมษายน 2476 ประกาศงดใชร้ ฐั ธรรมนญู บาง
มาตรา นายปรดี ี พนมยงค์เดนิ ทางออกนอกประเทศ
• พระยาพหลพลพยหุ เสนา กอ่ รฐั ประหารรฐั ยาลพระยามโนฯ หลงั จากนั้ นเกิดเหตุการณ์กบฎ
บวรเดช อ้างวา่ ถวายพระราชอํานาจคืน ร.7 เกดิ การปะทะกนั ท่ที งุ่ บางเขน รฐั บาลสามารถ
ปราบปรามสําเรจ็ กบฎบวรเดชถกู จับกมุ
• รชั กาลท่ี 7 ประกาศสละราชย์สมบัติ ภายในปี พ.ศ. 2477

ยคุ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
-ก้าวส่ตู ําแหน่ งนายกรฐั มนตรคี นท่ี 3
-เปล่ยี นชอื่ ประเทศจากสยามเป็นไทย ปี 2482
-มีแนวคิดชาตนิ ิ ยม เนื่ องจากสถานการณ์โลกใกล้ยคุ สงครามและตอ่ ตา้ นอิทธพิ ลตา่ งชาติเขา้
มาควบคุมเศรษฐกจิ ประเทศ
- มคี วามเป็นผนู้ ํ าสูง “เชอื่ ผนู้ ํ าชาตพิ ้นภัย” ตอ้ งการไทยเป็นอารยะ
-ประกาศนโยบายรฐั นิ ยม

ประกาศให้วันท่ี 1 มกราคมของทกุ ปี เป็นวนั ข้ึนปีใหม่
ชวนคนไทยใชส้ ินค้าไทย คําขวญั ไทยทาํ ไทยใช้ ไทยเจรญิ
ให้ชาวไทยแตง่ กายแบบสากลนิ ยม
- ทาํ สงครามกับฝรงั่ เศส เพื่อเรยี กรอ้ งดนิ แดนท่เี สียไปในกัมพชู าและลาว

ไทยชว่ งสงครามโลกครงั้ ท่ี 2

รฐั บาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเข้ารว่ มกับญ่ีป่นุ ประกาศสงครามกับสหรฐั อเมรกิ าและอังกฤษ

ขบวนการเสรไี ทย นํ าโดยนายปรดี ี พนมยงค์ ต่อตา้ นญ่ีป่นุ ในไทยและไม่เห็นดว้ ยกบั รฐั บาลไทย
ในชว่ งนั้ น


Click to View FlipBook Version